1. ความสำคัญแหล่งรวมพันธุ์ไม้และสัตว์ป่าต่างๆ ช่วยกำบังลมพายุแหล่งต้นน้ำลำธาร ทำให้ฝนตกตามฤดูกาลช่วย
ควบคุมอุณหภูมิบนโลก ช่วยรักษาความชุ่มชื้นของผิวดินและอากาศผลิตก๊าซออกซิเจน (O2) และใช้ก๊าซคาร์บอน
ไดออกไซด์ (CO2) แหล่งสะสมปุ๋ยธรรมชาติลดความรุนแรงของน้ำป่าและการพังทลายของหน้าดินที่เกิดจาก
กระแสน้ำไหลบ่า
      2. ลักษณะของป่าไม้และสังคมสิ่งมีชีวิตในป่าของประเทศไทย เช่น ป่าพร (Freshwaterswamp forest)พบตาม
ที่ลุ่มในภาคใต้ เป็นป่าที่มีน้ำจืดขังอยู่ตลอดปีและน้ำมีความเป็นกรดสูงลักษณะของป่าแน่นทึบพันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็น
ไม้ขนาดเล็กเช่น หวายหมากแดง เป็นต้นป่าสนเขา (Coniferous Forest Biomes)เป็นป่าเขียวตลอด
ประกอบด้วยพืชพรรณพวกที่มี ใบเรียวเล็ก เรียวยาวขึ้นอย่างหนาแน่น มียอดปกคลุมทึบตลอดปี ไม่มีการผลัดใบ
แสงผ่านลงมาถึง  พื้นดิน น้อย ดินเป็นกรดขาดธาตุอาหาร สิ่งมีชีวิตที่พบ เช่น แมวป่าหมาป่า หมีเม่น กระรอก และ
นกป่าดิบชื้น(Tropical Rain Forest Biomes) เป็นป่าที่มีฝนตกตลอดปี พืชเป็นพวกใบกว้างไม่ผลัดใบปก
คลุมหนาแน่นมีอุณหภูมิและความชื้นพอเหมาะต่อการเจริญเติบโตของพืชประกอบด้วยไม้ยืนต้นนานาชนิด
พื้นดินมีต้นไม้ขึ้นกระจัดกระจายเพราะได้รับแสงไม่เพียงพอพันธุ์ไม้ที่พบ ได้แก่ ไม้ยางไม้ตะเคียนบริเวณพื้นดินเป็น
พวกเฟิร์น หวาย ไม้ไผ่และเถาวัลย์

ภาพ ระบบนิเวศป่าไม้
ที่มา :
http://learners.in.th