• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.145.33.153', 0, '937d5786c32a9aa83af0b43054ab6ce3', 124, 1715984078) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:afe6c80349dba1dbcd0703566805cbad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"border-top-style: none; border-right-style: none; border-left-style: none; border-bottom-width: 1pt; border-bottom-style: solid; border-bottom-color: #aaaaaa; padding-top: 0cm; padding-right: 0cm; padding-bottom: 2pt; padding-left: 0cm\">\n<p style=\"margin-bottom: 7.2pt; border-style: none; padding: 0cm\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ประวัติความเป็นมาของหุ่นยนต์</span></span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p></div>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span><br />\n</p><p style=\"text-align: left; background-color: #f9f9f9; line-height: 12.9pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: Arial\"><o:p>           </o:p></span></span></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ </span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Arial\">Robot </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ในปัจจุบัน</span></span></span></span><br />\n</p><p style=\"text-align: left; background-color: #f9f9f9; line-height: 12.9pt\" class=\"MsoNormal\">&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span><br />\n</p><p style=\"margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">   ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ Robot ในปัจจุบัน</span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p>คำว่า Robot มาจากคำว่า Robota ในภาษาเช็ก ซึ่งแปลโดยตรงว่า การทำงานเสมือนทาส ถือกำเนิดขึ้นจากเรื่อง &quot;Rassum\'s Universal Robots&quot; ในปี ค.ศ.1920 ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของ คาเวล คาเปก เนื้อหาของละครเวทีมีความเกี่ยวพันกับจินตนาการของมนุษย์ในการใฝ่หาสิ่งใดมาช่วยในการปฏิบัติงานการประดิษฐ์คิดค้นสร้างหุ่นยนต์จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อเป็นเสมือนทาสคอยรับใช้มนุษย์การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ดำเนินต่อไปจนกระทั่งหุ่นยนต์เกิดมีความคิดเช่นเดียวกันมนุษย์การถูกกดขี่ข่มเหงเช่นทาสจากมนุษย์ทำให้หุ่นยนต์เกิดการต่อต้านไม่ยอมเป็นเบี้ยล่างอีกซึ่งละครเวทีเรื่องนี้โด่งดังมากจนทำให้คำว่าRobot เป็นที่รู้จักทั่วโลก<span style=\"font-family: Tahoma\" class=\"Apple-style-span\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><br />\n</p><p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span style=\"line-height: normal; color: #ff0000\" class=\"Apple-style-span\"><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #000000\">*อ้างอิง</span></span>:</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C</a></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><img src=\"/files/u53328/220px-AiboKids_0.jpg\" width=\"220\" height=\"165\" /></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\">&nbsp;</p>\n<div style=\"border-top-style: none; border-right-style: none; border-left-style: none; border-bottom-width: 1pt; border-bottom-style: solid; border-bottom-color: #aaaaaa; padding-top: 0cm; padding-right: 0cm; padding-bottom: 2pt; padding-left: 0cm\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000\" class=\"Apple-style-span\"><br />\n<p style=\"margin-bottom: 7.2pt; border-style: none; padding: 0cm\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 14pt; font-family: Tahoma\" lang=\"TH\">ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาซิโม</span><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></p>\n<p></p></span></div>\n<p>&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 13px; line-height: 19px; font-family: sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"><b>อาซิโม</b>  คือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัท<a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AE%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%B2\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; text-decoration: none; color: #2da3be; background-image: none\" title=\"ฮอนด้า\"></a>ฮอนด้า พัฒนาโดยทีมวิศวกรเยอรมนี โดยพัฒนาจากหุ่นยนต์ทดลองและหุ่นยนต์ต้นแบบจนทำให้มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เทคโนโลยี <i>i-WALK</i> ช่วยให้อาซิโมสามารถเดินและวิ่งได้อย่างอิสระเสรี ขึ้นบันไดและเต้นรำได้ มีระบบบันทึกเสียงเพื่อตอบสนองคำสั่งของมนุษย์ สามารถจดจำใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยำ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อให้อาซิโมมีขีดความสามารถรอบด้าน และรองรับความต้องการของมนุษย์ใน</span><span style=\"font-size: 13px; line-height: 19px; font-family: sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">อนาคต</span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><img src=\"/files/u53328/images__2_.jpg\" width=\"251\" height=\"200\" /></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\">&nbsp;</p>\n<h3 style=\"font-weight: bold; font-style: normal; text-decoration: none; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 17px; text-align: left; color: #72abb6; background-image: none; margin-top: 0px; margin-right: 0px; margin-bottom: 0.3em; margin-left: 0px; overflow-x: hidden; overflow-y: hidden; padding-top: 0.5em; padding-bottom: 0.17em; border-bottom-style: none; width: auto\"><span id=\".E0.B8.82.E0.B9.89.E0.B8.AD.E0.B8.A1.E0.B8.B9.E0.B8.A5.E0.B8.97.E0.B8.B1.E0.B9.88.E0.B8.A7.E0.B9.84.E0.B8.9B.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.AD.E0.B8.B2.E0.B8.8B.E0.B8.B4.E0.B9.82.E0.B8.A1\"><span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #000000\">ข้อมูลทั่วไปของหุ่นยนต์อาซิโม</span><br /></span></span></h3>\n<table style=\"font-size: 13px; margin-top: 1em; margin-right: 1em; margin-bottom: 1em; margin-left: 0px; background-color: #f9f9f9; border-collapse: collapse; color: black; border-width: 1px; border-color: #aaaaaa; border-style: solid\" class=\"wikitable\" width=\"668\" height=\"250\">\n<tbody>\n<tr>\n<th width=\"350\">คุณลักษณะเฉพาะ</th>\n<th width=\"350\">หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นต้นแบบ)<br /> พ.ศ. 2543/ค.ศ. 2000</th>\n<th width=\"350\">หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นรุ่นต่อไปในอนาคต)<br /> พ.ศ. 2547/ค.ศ. 2004</th>\n<th width=\"350\">หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นรุ่นใหม่)<br /> พ.ศ. 2548/ค.ศ. 2005</th>\n</tr>\n<tr>\n<td>น้ำหนัก</td>\n<td>52 กิโลกรัม</td>\n<td>54 กิโลกรัม</td>\n<td>54 กิโลกรัม</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>ความสูง</td>\n<td>120 เซนติเมตร</td>\n<td>130 เซนติเมตร</td>\n<td>130 เซนติเมตร</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>ความกว้าง</td>\n<td>45 เซนติเมตร</td>\n<td>45 เซนติเมตร</td>\n<td>45 เซนติเมตร</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>ความหนา</td>\n<td>44 เซนติเมตร</td>\n<td>44 เซนติเมตร</td>\n<td>37 เซนติเมตร</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>อัตราความเร็วในการก้าวเดิน</td>\n<td>1.6 กิโลเมตร/ชั่วโมง</td>\n<td>2.5 กิโลเมตร/ชั่วโมง</td>\n<td>2.7 กิโลเมตร/ชั่วโมง<br /> 1.6 กิโลเมตร/ชั่วโมง (บรรทุกของ 1 กิโลกรัม)</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>อัตราความเร็วในการวิ่ง</td>\n<td>-</td>\n<td>3 กิโลเมตร/ชั่วโมง</td>\n<td>6 กิโลเมตร/ชั่วโมง (วิ่งทางตรง)<br /> 5 กิโลเมตร/ชั่วโมง (วิ่งทางอ้อมหรือเป็นวงกลม)</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>เวลาที่เท้าทั้งสองข้างลอยอยู่ในอากาศ</td>\n<td>-</td>\n<td>0.05 วินาที</td>\n<td>0.08 วินาที</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>แบตเตอรี่ในการใช้งาน</td>\n<td colspan=\"3\">Nickel matal hydrorice/ 38.4 V / 10 Ah / 7.7 กิโลกรัม / 4 ชั่วโมง (ในกรณีที่ได้รับการชาร์ตแบบเต็ม)</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>ระยะเวลาในการใช้งาน</td>\n<td>30 นาที</td>\n<td>1 ชั่วโมง</td>\n<td>40 นาที (ในการเดิน)</td>\n</tr>\n<tr>\n<td>องศาในการทำงาน</td>\n<td>26 องศา</td>\n<td>34 องศา</td>\n<td>34 องศา</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p>&nbsp;</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\" class=\"Apple-style-span\">*อ้างอิง:</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; text-decoration: none; color: #2da3be\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1</a></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"line-height: normal\" class=\"Apple-style-span\"> </span></p>\n<div style=\"border-top-style: none; border-right-style: none; border-left-style: none; border-bottom-width: 1pt; border-bottom-style: solid; border-bottom-color: #aaaaaa; padding-top: 0cm; padding-right: 0cm; padding-bottom: 2pt; padding-left: 0cm\">\n<h2 style=\"font-weight: bold; font-style: normal; text-decoration: none; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 20px; text-align: left; color: #3b98b0; margin-top: 0cm; margin-right: 0cm; margin-bottom: 7.2pt; margin-left: 0cm; border-style: none; padding: 0cm\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">ประเภทของหุ่นยนต์</span><br /></span><span style=\"font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></h2>\n</div>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">ประเภทของหุ่นยนต์สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายรูปแบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้งานได้แก่การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่นอกจากนี้อาจจำแนกตามรูปลักษณ์ภายนอกด้วยก็ได้</span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\"></span><span style=\"font-size: 15px; font-weight: bold; line-height: 17px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้</span></p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 15px; font-weight: bold; line-height: 17px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\"></span><span style=\"font-size: 13px; font-weight: bold; line-height: 17px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้</span></p>\n<h4 style=\"font-weight: bold; font-style: normal; text-decoration: none; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 16px; text-align: left; color: #2a6d7e; margin-top: 0cm; margin-right: 0cm; margin-bottom: 3.6pt; margin-left: 0cm; line-height: 12.9pt; overflow-x: hidden; overflow-y: hidden\"><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span></h4>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่สามารถเคลื่อนไหวไปมาแต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ หุ่นยนต์ในประเภทนี้ได้แก่แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่นงานด้านอุตสาหกรรมผลิต</span><span style=\"font-family: Arial\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A3%E0%B8%96%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C\" title=\"รถยนต์\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></a></span><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">รถยนต์แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้งานในด้านการ</span>แพทย์<span style=\"font-size: 9pt; font-family: Arial\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"แพทย์\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></a><span class=\"apple-converted-space\"> </span></span><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">เช่นแขนกลที่ใช้ในการผ่าตัดหุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีลักษณะโครงสร้างที่ใหญ่โต เทอะทะและมีน้ำหนักมากใช้พลังงานให้สามารถเคลื่อนไหวได้จากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกและจะมีการกำหนดขอบเขตการเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์เอาไว้ทำให้หุ่นยนต์สามารถเคลื่อไหวไปมาได้ในเฉพาะที่ที่กำหนดเอาไว้เท่านั้น</span> </p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 13px; font-weight: bold; line-height: 17px; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้</span></p>\n<h4 style=\"font-weight: bold; font-style: normal; text-decoration: none; font-family: Verdana, Geneva, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 16px; text-align: left; color: #2a6d7e; margin-top: 0cm; margin-right: 0cm; margin-bottom: 3.6pt; margin-left: 0cm; line-height: 12.9pt; overflow-x: hidden; overflow-y: hidden\"><span style=\"font-family: Arial\"><span style=\"color: #000000\"><o:p></o:p></span></span></h4>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\"><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายไปมาได้อย่างอิสระหมายความถึงหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งได้อย่างอิสระหรือมีการเคลื่อนที่ไปมาในสถานที่ต่าง ๆ เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในการสำรวจ</span><span style=\"font-family: Arial\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%94%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B9%8C\" title=\"ดวงจันทร์\"><span style=\"font-family: Tahoma\" lang=\"TH\"></span></a></span><span style=\"font-size: 9pt\" lang=\"TH\">ดวงจันทร์ขององค์กรนาซ่าหุ่นยนต์สำรวจใต้พิภพหรือหุ่นยนต์ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าซึ่งหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวได้นี้ ถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กและมีระบบเคลื่อนที่ไปมารวมทั้งมีแหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของตนเองแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ซึ่งจะต้องมีแหล่งจ่ายพลังงานอยุ่ภายนอก</span><span style=\"font-family: Arial\"><o:p></o:p></span></p>\n<p style=\"text-align: left\"><span style=\"line-height: 24px\" class=\"Apple-style-span\">แหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้นั้นโดยปกติแล้วจะถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กรวมทั้งมีปริมาณน้ำหนักไม่มากเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของหุ่นยนต์หรืออุปสรรคในการเคลื่อนที่</span></p>\n<p style=\"text-align: left\"><span style=\"line-height: 13px; font-family: Tahoma, sans-serif\" class=\"Apple-style-span\">*อ้างอิง:</span><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; text-decoration: none; color: #2da3be\">http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C</a></p>\n<p style=\"text-align: left\">&nbsp;</p>\n<p style=\"text-align: left; margin-top: 4.8pt; margin-right: 0cm; margin-bottom: 6pt; margin-left: 0cm; text-indent: 36pt; line-height: 18pt\" class=\"MsoNormal\"><img src=\"/files/u53328/images__3_.jpg\" width=\"194\" height=\"260\" /> </p>\n', created = 1715984118, expire = 1716070518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:afe6c80349dba1dbcd0703566805cbad' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3457b8a090f88c1d0678e9e22a569159' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>อ่านเป็นตารางสรุปเข้าใจง่ายดีครับ <img src=\"/sites/all/modules/tinymce/tinymce/jscripts/tiny_mce/plugins/emotions/images/smiley-laughing.gif\" title=\"Laughing\" alt=\"Laughing\" border=\"0\" /> </p>\n', created = 1715984118, expire = 1716070518, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3457b8a090f88c1d0678e9e22a569159' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์ ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาซิโม่ ชนิดและประเภทของหุ่นยนต์

รูปภาพของ swk38085

ประวัติความเป็นมาของหุ่นยนต์


           

ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ Robot ในปัจจุบัน

 


   ในสมัยก่อนหุ่นยนต์เป็นเพียงจินตนาการของมนุษย์ที่มีความต้องการได้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเข้ามาช่วยในการผ่อนแรงจากงานที่ทำหรือช่วยในการปฏิบัติงานที่ยากลำบากเกินขอบเขตความสามารถและจากจินตนาการได้กลายเป็นแรงบันดาลใจให้มนุษย์คิดประดิษฐ์สร้างสรรค์หุ่นยนต์ขึ้นมา จนกลายเป็นหุ่นยนต์หรือ Robot ในปัจจุบัน

คำว่า Robot มาจากคำว่า Robota ในภาษาเช็ก ซึ่งแปลโดยตรงว่า การทำงานเสมือนทาส ถือกำเนิดขึ้นจากเรื่อง "Rassum's Universal Robots" ในปี ค.ศ.1920 ซึ่งเป็นบทประพันธ์ของ คาเวล คาเปก เนื้อหาของละครเวทีมีความเกี่ยวพันกับจินตนาการของมนุษย์ในการใฝ่หาสิ่งใดมาช่วยในการปฏิบัติงานการประดิษฐ์คิดค้นสร้างหุ่นยนต์จึงถือกำเนิดขึ้นเพื่อเป็นเสมือนทาสคอยรับใช้มนุษย์การใช้ชีวิตร่วมกันระหว่างหุ่นยนต์และมนุษย์ดำเนินต่อไปจนกระทั่งหุ่นยนต์เกิดมีความคิดเช่นเดียวกันมนุษย์การถูกกดขี่ข่มเหงเช่นทาสจากมนุษย์ทำให้หุ่นยนต์เกิดการต่อต้านไม่ยอมเป็นเบี้ยล่างอีกซึ่งละครเวทีเรื่องนี้โด่งดังมากจนทำให้คำว่าRobot เป็นที่รู้จักทั่วโลก


*อ้างอิง:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C

 


ความเป็นมาและประวัติของหุ่นยนต์อาซิโม

 

อาซิโม  คือหุ่นยนต์เลียนแบบมนุษย์ของบริษัทฮอนด้า พัฒนาโดยทีมวิศวกรเยอรมนี โดยพัฒนาจากหุ่นยนต์ทดลองและหุ่นยนต์ต้นแบบจนทำให้มีขนาดเล็กและน้ำหนักเบา เทคโนโลยี i-WALK ช่วยให้อาซิโมสามารถเดินและวิ่งได้อย่างอิสระเสรี ขึ้นบันไดและเต้นรำได้ มีระบบบันทึกเสียงเพื่อตอบสนองคำสั่งของมนุษย์ สามารถจดจำใบหน้าคู่สนทนาได้อย่างแม่นยำ ซึ่งคุณสมบัติดังกล่าวถูกสร้างขึ้นเพื่อให้อาซิโมมีขีดความสามารถรอบด้าน และรองรับความต้องการของมนุษย์ในอนาคต

 

ข้อมูลทั่วไปของหุ่นยนต์อาซิโม

คุณลักษณะเฉพาะ หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นต้นแบบ)
พ.ศ. 2543/ค.ศ. 2000
หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นรุ่นต่อไปในอนาคต)
พ.ศ. 2547/ค.ศ. 2004
หุ่นยนต์อาซิโม (หุ่นรุ่นใหม่)
พ.ศ. 2548/ค.ศ. 2005
น้ำหนัก 52 กิโลกรัม 54 กิโลกรัม 54 กิโลกรัม
ความสูง 120 เซนติเมตร 130 เซนติเมตร 130 เซนติเมตร
ความกว้าง 45 เซนติเมตร 45 เซนติเมตร 45 เซนติเมตร
ความหนา 44 เซนติเมตร 44 เซนติเมตร 37 เซนติเมตร
อัตราความเร็วในการก้าวเดิน 1.6 กิโลเมตร/ชั่วโมง 2.5 กิโลเมตร/ชั่วโมง 2.7 กิโลเมตร/ชั่วโมง
1.6 กิโลเมตร/ชั่วโมง (บรรทุกของ 1 กิโลกรัม)
อัตราความเร็วในการวิ่ง - 3 กิโลเมตร/ชั่วโมง 6 กิโลเมตร/ชั่วโมง (วิ่งทางตรง)
5 กิโลเมตร/ชั่วโมง (วิ่งทางอ้อมหรือเป็นวงกลม)
เวลาที่เท้าทั้งสองข้างลอยอยู่ในอากาศ - 0.05 วินาที 0.08 วินาที
แบตเตอรี่ในการใช้งาน Nickel matal hydrorice/ 38.4 V / 10 Ah / 7.7 กิโลกรัม / 4 ชั่วโมง (ในกรณีที่ได้รับการชาร์ตแบบเต็ม)
ระยะเวลาในการใช้งาน 30 นาที 1 ชั่วโมง 40 นาที (ในการเดิน)
องศาในการทำงาน 26 องศา 34 องศา 34 องศา

 

*อ้างอิง:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A1

 

ประเภทของหุ่นยนต์

ประเภทของหุ่นยนต์สามารถแบ่งแยกได้หลากหลายรูปแบบตามลักษณะเฉพาะของการใช้งานได้แก่การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่นอกจากนี้อาจจำแนกตามรูปลักษณ์ภายนอกด้วยก็ได้

การแบ่งประเภทตามการเคลื่อนที่ได้

หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้

หุ่นยนต์ที่ติดตั้งอยู่กับที่สามารถเคลื่อนไหวไปมาแต่ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้ หุ่นยนต์ในประเภทนี้ได้แก่แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่นงานด้านอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์แขนกลของหุ่นยนต์ที่ใช้งานในด้านการแพทย์ เช่นแขนกลที่ใช้ในการผ่าตัดหุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีลักษณะโครงสร้างที่ใหญ่โต เทอะทะและมีน้ำหนักมากใช้พลังงานให้สามารถเคลื่อนไหวได้จากแหล่งจ่ายพลังงานภายนอกและจะมีการกำหนดขอบเขตการเคลื่อนไหวของหุ่นยนต์เอาไว้ทำให้หุ่นยนต์สามารถเคลื่อไหวไปมาได้ในเฉพาะที่ที่กำหนดเอาไว้เท่านั้น 

หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวและเคลื่อนที่ได้

หุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายไปมาได้อย่างอิสระหมายความถึงหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนย้ายตัวเองจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่งได้อย่างอิสระหรือมีการเคลื่อนที่ไปมาในสถานที่ต่าง ๆ เช่น หุ่นยนต์ที่ใช้ในการสำรวจดวงจันทร์ขององค์กรนาซ่าหุ่นยนต์สำรวจใต้พิภพหรือหุ่นยนต์ที่ใช้ในการขนถ่ายสินค้าซึ่งหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวได้นี้ ถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กและมีระบบเคลื่อนที่ไปมารวมทั้งมีแหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของตนเองแตกต่างจากหุ่นยนต์ที่ไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมาได้ซึ่งจะต้องมีแหล่งจ่ายพลังงานอยุ่ภายนอก

แหล่งจ่ายพลังสำรองภายในร่างกายของหุ่นยนต์ที่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและสามารถเคลื่อนที่ไปมาได้นั้นโดยปกติแล้วจะถูกออกแบบลักษณะของโครงสร้างให้มีขนาดเล็กรวมทั้งมีปริมาณน้ำหนักไม่มากเพื่อไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการปฏิบัติงานของหุ่นยนต์หรืออุปสรรคในการเคลื่อนที่

*อ้างอิง:http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AB%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B9%8C

 

 

รูปภาพของ swk37953

อ่านเป็นตารางสรุปเข้าใจง่ายดีครับ Laughing 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 337 คน กำลังออนไลน์