• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:af40404c5102b69847ed18745978e86b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000080\"> </span>     \n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0000; font-size: 21pt\">   <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"/files/u2933/171851699.gif\" border=\"0\" /> บทที่ 1  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคม</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #009900; font-size: 21pt\">ี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #009900; font-size: 21pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\">  <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"/files/u2933/171851699.gif\" border=\"0\" /> <img height=\"15\" width=\"448\" src=\"/files/u2933/120.gif\" border=\"0\" /></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"> </span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"></span></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่) </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ก. ปริมาณสารตั้งต้นหมดไป หรือเหลือสารใดสารหนึ่งและมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า <span style=\"color: #ff0000\">ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ</span>์ (ไม่เกิดสมดุลเคมี) เช่น</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"> </span>A + B       →        C</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> <span lang=\"TH\">จากปฏิกิริยาบอกได้ว่า </span>A <span lang=\"TH\">และ </span>B <span lang=\"TH\">หมดทั้งคู่หรือเหลือตัวใดตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันจะมีสาร</span>C <span lang=\"TH\">เกิดขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">ข. ปริมาณสารตั้งต้นยังเหลืออยู่(ทุกตัว) เกิดสารใหม่ขึ้นมา เรียกว่า<span style=\"color: #ff0000\">ปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์(เกิดสมดุลเคมี) </span>ซึ่งจะพบว่า ความเข้มข้นของสารในระบบจะคงที่ (สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์) อาจจะเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่าก็ได้ เช่น สมดุลของปฏิกิริยา </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">A + B       ↔       C</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">จากปฏิกิริยาบอกได้ว่าทั้งสาร </span>A <span lang=\"TH\">และ </span>B <span lang=\"TH\">เหลืออยู่ทั้งคู่ ขณะเดียวกันสาร </span>C <span lang=\"TH\">ก็เกิดขึ้น จน</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">กระทั่งสมบัติของระบบคงที่</span><br />\n<span lang=\"TH\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">        <strong>ชนิดของปฏิกิริยาเคมี</strong></span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">Homogeneous Reaction) </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทุกตัวในระบบอยู่ในสภาวะเดียวกัน หรือกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">                 3H<sub>2</sub>(g) +N<sub>2</sub>(g)      →     2NH<sub>3</sub>(g)<o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเนื้อผสม (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">Heterogeneous Reaction) </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ต่างสภาวะกันหรือไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">            Mg(s) + 2HCl(aq)      →      MgCl(aq) +H<sub>2</sub>(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">     </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">     อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (</span>rate of chemical reaction) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาหรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา</span><br />\n<span lang=\"TH\">ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">average rate) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเวลา</span><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">อัตราการเกิดในปฏิกิริยาขณะใดขณะหนึ่ง (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">instantaneous rate) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารที่เกิดขึ้นขณะใดขณะหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลาของช่วงนั้น ซึ่งมักจะหาได้จากค่าความชันของกราฟ</span><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">   หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n                <span lang=\"TH\">ในแต่ละปฏิกิริยาเมื่อมีการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะมีหน่วยต่างๆกันขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่นำมาหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ซึ่งหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็คือหน่วยของปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลาที่ใช้ เช่น</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นสารละลายจะใช้หน่วยความเข้มข้น คือ โมลต่อลิตรต่อวินาที หรือโมล.ลิตร-</span>1<span lang=\"TH\">วินาที-</span>1 <span lang=\"TH\">หรือ โมล/ลิตร.วินาที</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นก๊าซ จะใช้หน่วยปริมาตรคือลบ.ซม.ต่อวินาที หรือ ลบ.ดม.วินาที หรือลิตรต่อวินาที</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นของแข็งจะใช้หน่วยน้ำหนักคือกรัมต่อวินาที ซึ่งโดยทั่วไปหน่วยที่ใช้กันมากคือเป็นโมล/ลิตร.วินาที</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> <o:p></o:p></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p>   </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p>  </o:p></span></b> <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>   <span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #ffcc99\">การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></span>     <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p>   </o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี สามารถหาได้จากสารทุกตัวในปฏิกิริยา แต่มักจะใช้ตัวที่หาได้ง่ายและสะดวกเป็นหลัก ซึ่งจะมีวิธีวัดอัตราการเกิดเป็นปฏิกิริยาหลายอย่าง เช่น</span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากปริมาณก๊าซที่เกิดขึ้น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากความเข้มข้นที่เปลี่ยนไป</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากปริมาณสารที่เปลี่ยนไป</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากความเป็นกรด-เบสของสารละลาย</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากความดันที่เปลี่ยนไป</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากตะกอนที่เกิดขึ้น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">วัดจากการนำไฟฟ้าที่เปลี่ยนไป</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">เช่น การศึกษาอัตราการเกิดปฏิกิริยา</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> <br />\n                Mg(s) + 2HCl(aq)     <strong> →</strong>       MgCl<sub> 2</sub> (aq) +H<sub> 2</sub> (g)<br />\n<span lang=\"TH\">  จะได้ว่า   อัตราการเกิดปฏิกิริยา = </span>     <span lang=\"TH\">อัตราการลดลงของ </span>Mg<br />\n                                           =   1/2<span lang=\"TH\">อัตราการลดลงของ </span>HCl<br />\n                                           =    <span lang=\"TH\">อัตราการเกิดขึ้นของ </span>MgCl<sub> 2</sub> <br />\n                                           =    <span lang=\"TH\">อัตราการเกิดขึ้นของ </span>H<sub>2</sub> <br />\n<span lang=\"TH\">ในที่นี้จะพบว่าการหาปริมาตรของก๊าซ </span>H<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาจะง่ายและสะดวกที่สุด</span><br />\n<span lang=\"TH\">นอกจากนี้ ค.ศ. </span>Guldberg <span lang=\"TH\">และ</span> Waag <span lang=\"TH\">ได้ตั้ง </span>Law of Mass Action (<span lang=\"TH\">กฎอัตราเร็วของปฏิกิริยา) ซึ่งกล่าวว่า อัตราการเกิดของปฏิกิริยามีความสัมพันธ์โดยตรงกับความเข้มข้นของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา</span><br />\n<span lang=\"TH\">ปฏิกิริยา</span>                         aA +bB        →       cC+dD<br />\n                               </span></p>\n<p>                                 <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0000; font-size: 15.5pt\">   Rate  = K[A]<sup>m</sup>[B]<sup>n</sup></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">K          =          specific rate constant<br />\nm,n      =             <span lang=\"TH\">อันดับของปฏิกิริยาในแง่ของสาร </span>A <span lang=\"TH\">และสาร </span>B<br />\nm+n     =             <span lang=\"TH\">อันดับของปฏิกิริยารวม</span><br />\n[A], [B] =             <span lang=\"TH\">ความเข้มข้นของสาร</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ซึ่งการหาค่า </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">สามารถทำได้ดังนี้</span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ถ้าความเข้มข้นเพิ่มขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">2 <span lang=\"TH\">เท่า และอัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น </span>2 <span lang=\"TH\">เท่า ค่า</span> m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">จะเท่ากับ </span>1--&gt;2<sup>m</sup> = 2 <span lang=\"TH\">จะได้ </span>m = 1<o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ถ้าความเข้มข้นเพิ่มขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">2 <span lang=\"TH\">เท่า แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น </span>4 <span lang=\"TH\">เท่า ค่า</span> m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">จะเท่ากับ </span>2--&gt;2<sup>m</sup> =4 <span lang=\"TH\">จะได้ </span>m = 2<o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ถ้าความเข้มข้นเพิ่มขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">2 <span lang=\"TH\">เท่า แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น </span>8 <span lang=\"TH\">เท่า ค่า</span> m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">จะเท่ากับ </span>3--&gt;2<sup>m</sup> = 8 <span lang=\"TH\">จะได้ </span>m = 3<o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ถ้าความเข้มข้นเพิ่มขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">2 <span lang=\"TH\">เท่า แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น </span>9 <span lang=\"TH\">เท่า ค่า</span> m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">จะเท่ากับ </span>2--&gt;3<sup>m</sup> = 9 <span lang=\"TH\">จะได้ </span>m = 2<o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ถ้าความเข้มข้นเพิ่มขึ้น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">3 <span lang=\"TH\">เท่า แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาลดลง </span>27 <span lang=\"TH\">เท่า ค่า </span>m <span lang=\"TH\">และ </span>n <span lang=\"TH\">จะเท่ากับ -</span>3--&gt;3<sup>m</sup> = 1/27 <span lang=\"TH\">จะได้ </span>m = -3<o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0066; font-size: 14pt\"><br />\n</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #000000; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาต่างๆจะเกิดเร็วหรือช้า ขึ้นอยู่กับสิ่งต่อไปน</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0066; font-size: 14pt\">ี้</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0066; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ธรรมชาติของสาร</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ความเข้มข้นของสาร</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">พื้นที่ผิว</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">อุณหภูมิ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">คะตะลิสต์</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">ความดัน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000080\"> <span style=\"color: #000080\">ธรรมชาติของสาร</span></span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ธรรมชาติของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี กล่าวคือ ปฏิกิริยาจะเกิดเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับธรรมชาติของสาร เช่น</span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">สารที่ทำปฏิกิริยาเป็นสารไอออนิกทั้งคู่ จะเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่าสารที่เป็นสารโคเวเลนต์</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">สารที่ทำปฏิกิริยเป็นก๊าซทั้งคู่ จะทำปฏิกิริยาได้เร็วกว่าปฏิกิริยาที่สารอยู่ในสถานะที่ต่างกัน</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000080\"><span style=\"color: #000080\"> ความเข้มข้นของสาร</span></span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n                <span lang=\"TH\">ความเข้มข้นของสารจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี เราวัดปริมาณของสารในสารละลายได้จากความเข้มข้นของสารที่เข้าทำปฏิกิริยากัน ดังนั้นในระหว่างเกิดปฏิกิริยาความเข้มข้นของสาร จึงเป็นสิ่งสำคัญที่มีผลให้ปฏิกิริยาเกิดเร็วหรือช้า</span><br />\n<span lang=\"TH\">จากปฏิกิริยาระหว่างกรดไฮโดรคลอริกกับโซเดียมไทโอซัลเฟต(</span>Na<sub>2</sub>S<sub>2</sub>O<sub>3</sub>)<span lang=\"TH\">ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นคือ</span> <br />\n                Na<sub>2</sub>S<sub>2</sub>O<sub>3</sub>+ 2HCl        →      2 NaCl +H<sub>2</sub>O +H<sub>2</sub>O +SO<sub>2</sub> +S<br />\n<span lang=\"TH\">เราศึกษาผลของความเข้มข้นที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาโดยการเปลี่ยนความเข้มข้นของสารเป็น</span> 2 <span lang=\"TH\">ตอน คือ</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ตอนที่ </span>1 <span lang=\"TH\">เปลี่ยนความเข้มข้นของ </span>HCl <span lang=\"TH\">เมื่อความเข้มข้นของ </span>Na<sub>2</sub>S<sub>2</sub>O<sub>3</sub><span lang=\"TH\">คงที่ จะพบว่าอัตราการเกิดปฏิกิริยา (ตะกอนของกำมะถัน) เปลี่ยนไป</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ตอนที่ </span>2 <span lang=\"TH\">เปลี่ยนความเข้มข้น </span>Na<sub>2</sub>S<sub>2</sub>O<sub>3</sub> <span lang=\"TH\">เมื่อความเข้มข้นของ </span>HCl <span lang=\"TH\">คงที่จะพบว่า อัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเปลี่ยนแปลง</span><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">จากการศึกษาทั้งสองตอนสรุปได้ว่า ปฏิกิริยานี้ความเข้มข้นของ</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> Na<sub>2</sub>S<sub>2</sub>O<sub>3</sub><span lang=\"TH\">และ </span>HCl <span lang=\"TH\">จะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาทั้งสองสาร ซึ่งถ้าไม่ทำการทดลองหรือไม่มีข้อมูลมาให้จะไม่สามารถทราบได้ว่าสารตัวใดมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">  <strong><span style=\"color: #000080\">พื้นที่ผิวของสาร</span></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">พื้น</span>ที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี จากการศึกษามาแล้วเกี่ยวกับปฏิกิริยาของโลหะแมกนีเซียมกับกรดไฮโดรคลอริกจะเกิดก๊าซ</span> H<sub>2</sub><br />\n<span lang=\"TH\">จากการทดลองพบว่าเมื่อเปลี่ยนความยาวของลวดแมกนีเซียม อัตราการเกิดปกิกิริยาจะเพิ่มขึ้น ซึ่งถือว่าพื้นที่ผิวมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี พื้นที่ผิวจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาในปฏิกิริยาเนื้อผสม (</span>heterogeneous) <span lang=\"TH\">เท่านั้น เช่น ปฏิกิริยาที่กล่าวมา</span> <br />\n              Mg(s) + 2HCl(aq)      →       MgCl(aq) +H<sub>2</sub>(g) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">ถ้าทำให้ลวดแมกนีเซียมเป็นชิ้นเล็กๆจะพบว่าปฏิกิริยาจะเกิดเร็วกว่าลวดแมกนีเซียมที่เป็นแผ่นหรือขดเป็นสปริง</span><br />\n<span lang=\"TH\">อุณหภูมิ</span><br />\n<span lang=\"TH\">อุณหภูมิจะมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี โดยทั่วไปพบว่าอุณหภูมิเพิ่มขึ้น </span>10 <span lang=\"TH\">องศาเซลเซียสอัตราการเกิดปฏิกิริยาจะเร็วขึ้นประมาณ </span>2 <span lang=\"TH\">เท่า ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของปฏิกิริยา</span><br />\n<span lang=\"TH\">จากการทดลองปฏิกิริยาระหว่างกรดออกซาลิก</span> (H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub>) <span lang=\"TH\">กรดซัลฟิวริก</span> (H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) <span lang=\"TH\">และโพแทสเซียมเปอร์แมงกาเนต (</span>KMnO<sub>4</sub>) <span lang=\"TH\">เกิดปฏิกิริยาดังนี้</span><br />\n2KMnO<sub>4</sub>(aq) + 5H<sub>2</sub>C<sub>2</sub>O<sub>4</sub>(aq) +3H<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>(aq)     →       K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>(aq) +2MnSO<sub>4</sub>(aq) +8H<sub>2</sub>O(l) +10CO<sub>2</sub>(g)<br />\n<span lang=\"TH\">พบว่าเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น อัตราการหายไปของสีม่วงแดงของ</span> KMnO4 <span lang=\"TH\">จะเร็วขึ้น</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"></span><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #000080\">คะตะลิสต์</span></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">คะตะลิสต์ (</span>catalyst) <span lang=\"TH\">หมายถึง สารที่เติมลงไปในปฏิกิริยาทำให้อัตราการเกิดปฏิกิริยาเกิดเร็วขึ้น โดยในขณะที่เกิดปฏิกิริยาตัวคะตะลิสต์จะมีการเปลี่ยนแปลง แต่เมื่อสิ้นสุดปฏิกิริยาแล้วจะได้กลับคืนมาในในขนาดและปริมาณเดิม เช่น ในปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมโพแทสเซียมทาร์เตรต (</span>NaKC<sub>4</sub> H<sub>4</sub>O<sub>6</sub>) <span lang=\"TH\">กับไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์(</span>H<sub>2</sub>O<sub>2</sub>) <span lang=\"TH\">จะได้ก๊าซ </span>O<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">ถ้าใส่ </span>CoCl<sub>2</sub> (<span lang=\"TH\">สีชมพู) จะพบว่าปฏิกิริยานี้จะสลายตัวให้ก๊าซ </span>O<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">เร็วขึ้นและในระหว่างเกิดปฏิกิริยา จะพบว่า </span>CoCl<sub>2</sub> <span lang=\"TH\">เปลี่ยนเป็นสีเขียว และเมื่อปฏิกิริยาสิ้นสุดจะได้สีชมพูกลับคืนมาปริมาณเท่าเดิม</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"> </span></span> </p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">      <span style=\"color: #000080\"><strong> ความดัน    </strong></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n                <span lang=\"TH\">ความดันจะมีผลต่อปฏิกิริยาในกรณีปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับก๊าซ กล่าวคือ เมื่อเพิ่มความดันในโมเลกุลของก๊าซจะมีการชนกันมากขึ้นปฏิกิริยาจะมีอัตราการเกิดเร็วขึ้น</span><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715691492, expire = 1715777892, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:af40404c5102b69847ed18745978e86b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3f99563877b15e81de4a040552c4422d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #000080\"> </span>     \n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff0000; font-size: 21pt\">   <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"/files/u2933/171851699.gif\" border=\"0\" /> บทที่ 1  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคม</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #009900; font-size: 21pt\">ี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #009900; font-size: 21pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\">  <img height=\"40\" width=\"40\" src=\"/files/u2933/171851699.gif\" border=\"0\" /> <img height=\"15\" width=\"448\" src=\"/files/u2933/120.gif\" border=\"0\" /></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"> </span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #ff00ff; font-size: 14pt\"></span></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่) </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ก. ปริมาณสารตั้งต้นหมดไป หรือเหลือสารใดสารหนึ่งและมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า <span style=\"color: #ff0000\">ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ</span>์ (ไม่เกิดสมดุลเคมี) เช่น</span></span>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\"> </span>A + B       →        C</span>\n</p>\n<p class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> <span lang=\"TH\">จากปฏิกิริยาบอกได้ว่า </span>A <span lang=\"TH\">และ </span>B <span lang=\"TH\">หมดทั้งคู่หรือเหลือตัวใดตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันจะมีสาร</span>C <span lang=\"TH\">เกิดขึ้น</span><br />\n<span lang=\"TH\">ข. ปริมาณสารตั้งต้นยังเหลืออยู่(ทุกตัว) เกิดสารใหม่ขึ้นมา เรียกว่า<span style=\"color: #ff0000\">ปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์(เกิดสมดุลเคมี) </span>ซึ่งจะพบว่า ความเข้มข้นของสารในระบบจะคงที่ (สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์) อาจจะเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่าก็ได้ เช่น สมดุลของปฏิกิริยา </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">A + B       ↔       C</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">จากปฏิกิริยาบอกได้ว่าทั้งสาร </span>A <span lang=\"TH\">และ </span>B <span lang=\"TH\">เหลืออยู่ทั้งคู่ ขณะเดียวกันสาร </span>C <span lang=\"TH\">ก็เกิดขึ้น จน</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">กระทั่งสมบัติของระบบคงที่</span><br />\n<span lang=\"TH\"> </span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><span lang=\"TH\">        <strong>ชนิดของปฏิกิริยาเคมี</strong></span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">Homogeneous Reaction) </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทุกตัวในระบบอยู่ในสภาวะเดียวกัน หรือกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">                 3H<sub>2</sub>(g) +N<sub>2</sub>(g)      →     2NH<sub>3</sub>(g)<o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">ปฏิกิริยาเนื้อผสม (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">Heterogeneous Reaction) </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ต่างสภาวะกันหรือไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">            Mg(s) + 2HCl(aq)      →      MgCl(aq) +H<sub>2</sub>(g)</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">     </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">     อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (</span>rate of chemical reaction) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาหรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา</span><br />\n<span lang=\"TH\">ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span><o:p></o:p></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">average rate) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเวลา</span><o:p></o:p></span></span></li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\"><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">อัตราการเกิดในปฏิกิริยาขณะใดขณะหนึ่ง (</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\">instantaneous rate) <span lang=\"TH\">หมายถึง ปริมาณของสารที่เกิดขึ้นขณะใดขณะหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลาของช่วงนั้น ซึ่งมักจะหาได้จากค่าความชันของกราฟ</span><o:p></o:p></span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\">   หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี</span></b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"><br />\n                <span lang=\"TH\">ในแต่ละปฏิกิริยาเมื่อมีการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะมีหน่วยต่างๆกันขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่นำมาหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ซึ่งหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็คือหน่วยของปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลาที่ใช้ เช่น</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นสารละลายจะใช้หน่วยความเข้มข้น คือ โมลต่อลิตรต่อวินาที หรือโมล.ลิตร-</span>1<span lang=\"TH\">วินาที-</span>1 <span lang=\"TH\">หรือ โมล/ลิตร.วินาที</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นก๊าซ จะใช้หน่วยปริมาตรคือลบ.ซม.ต่อวินาที หรือ ลบ.ดม.วินาที หรือลิตรต่อวินาที</span><br />\n                <span lang=\"TH\">ถ้าเป็นของแข็งจะใช้หน่วยน้ำหนักคือกรัมต่อวินาที ซึ่งโดยทั่วไปหน่วยที่ใช้กันมากคือเป็นโมล/ลิตร.วินาที</span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 14pt\"> <o:p></o:p></span><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p>   </o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p>  </o:p></span></b> <b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #0000ff; font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></b></p>\n', created = 1715691492, expire = 1715777892, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3f99563877b15e81de4a040552c4422d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทที่ 1 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

รูปภาพของ srsnarumon

      

    บทที่ 1  อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคม  

 

 


ปฏิกิริยาเคมี หมายถึง การที่สารตั้งต้นเปลี่ยนไปเป็นผลิตภัณฑ์(สารใหม่) เมื่อเวลาผ่านไปปริมาณของสารตั้งต้นจะลดลงขณะที่ปริมาณสารใหม่จะเพิ่มขึ้นจนในที่สุด
ก. ปริมาณสารตั้งต้นหมดไป หรือเหลือสารใดสารหนึ่งและมีสารใหม่เกิดขึ้น เรียกว่า ปฏิกิริยาเกิดสมบูรณ์ (ไม่เกิดสมดุลเคมี) เช่น

 A + B       →        C

 จากปฏิกิริยาบอกได้ว่า A และ B หมดทั้งคู่หรือเหลือตัวใดตัวหนึ่ง ขณะเดียวกันจะมีสารC เกิดขึ้น
ข. ปริมาณสารตั้งต้นยังเหลืออยู่(ทุกตัว) เกิดสารใหม่ขึ้นมา เรียกว่าปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์(เกิดสมดุลเคมี) ซึ่งจะพบว่า ความเข้มข้นของสารในระบบจะคงที่ (สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์) อาจจะเท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่าก็ได้ เช่น สมดุลของปฏิกิริยา

A + B       ↔       C

จากปฏิกิริยาบอกได้ว่าทั้งสาร A และ B เหลืออยู่ทั้งคู่ ขณะเดียวกันสาร C ก็เกิดขึ้น จนกระทั่งสมบัติของระบบคงที่
 

        ชนิดของปฏิกิริยาเคมี

  • ปฏิกิริยาเนื้อเดียว (Homogeneous Reaction) หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทุกตัวในระบบอยู่ในสภาวะเดียวกัน หรือกลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น

                 3H2(g) +N2(g)      →     2NH3(g)

  • ปฏิกิริยาเนื้อผสม (Heterogeneous Reaction) หมายถึง ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นอยู่ต่างสภาวะกันหรือไม่กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกัน เช่น

            Mg(s) + 2HCl(aq)      →      MgCl(aq) +H2(g)

    

     อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี (rate of chemical reaction) หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นในหนึ่งหน่วยเวลาหรือปริมาณของสารตั้งต้นที่ลดลงในหนึ่งหน่วยเวลา
ชนิดของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

  • อัตราการเกิดปฏิกิริยาเฉลี่ย (average rate) หมายถึง ปริมาณของสารใหม่ที่เกิดขึ้นทั้งหมดในหนึ่งหน่วยเวลา
  • อัตราการเกิดในปฏิกิริยาขณะใดขณะหนึ่ง (instantaneous rate) หมายถึง ปริมาณของสารที่เกิดขึ้นขณะใดขณะหนึ่งในหนึ่งหน่วยเวลาของช่วงนั้น ซึ่งมักจะหาได้จากค่าความชันของกราฟ

   หน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
                ในแต่ละปฏิกิริยาเมื่อมีการหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็จะมีหน่วยต่างๆกันขึ้นอยู่กับชนิดของสารที่นำมาหาอัตราการเกิดปฏิกิริยา ซึ่งหน่วยของอัตราการเกิดปฏิกิริยาก็คือหน่วยของปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงในหนึ่งหน่วยเวลาที่ใช้ เช่น
                ถ้าเป็นสารละลายจะใช้หน่วยความเข้มข้น คือ โมลต่อลิตรต่อวินาที หรือโมล.ลิตร-1วินาที-1 หรือ โมล/ลิตร.วินาที
                ถ้าเป็นก๊าซ จะใช้หน่วยปริมาตรคือลบ.ซม.ต่อวินาที หรือ ลบ.ดม.วินาที หรือลิตรต่อวินาที
                ถ้าเป็นของแข็งจะใช้หน่วยน้ำหนักคือกรัมต่อวินาที ซึ่งโดยทั่วไปหน่วยที่ใช้กันมากคือเป็นโมล/ลิตร.วินาที
         

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 446 คน กำลังออนไลน์