• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8f3be8840a040c659a7dbfc9fd21f720' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"164\" width=\"307\" src=\"/files/u16598/imagesCAAPLPP3.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/96521?page=0%2C0\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/home.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/96521?page=0%2C1\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/01.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/96521?page=0%2C2\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/02.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/96521?page=0%2C3\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/03.gif\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/96521?page=0%2C4\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/04.gif\" border=\"0\" /></a> <a href=\"/node/96521?page=0%2C5\"><img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/05.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"150\" width=\"150\" src=\"/files/u16598/02.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong>หมีดำเอเชียติค </strong>\n</p>\n<p>\n          มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า  asian black bear, asiatic black bear, Tibetan black bear,Himalayan black bear  หรือ  moon bear  <br />\n          ชื่อทางวิทยาศาสตร์    Ursus thibetanus (G. Cuvier, ค.ศ. 1823)  <br />\n          อาณาจักร                  Animalia<br />\n          ไฟลัม                        Chordata<br />\n          ชั้น                            Mammalia<br />\n          อันดับ                        Carnivora  <br />\n          วงศ์                           Ursidae \n</p>\n<p>\n         หมีดำเอเชียติคเป็นหมีขนาดกลาง และี่เป็นหมีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตัวยาวประมาณ 130-190 เซนติเมตร ตัวผู้หนัก 100-200 กิโลกรัม ตัวเมียหนัก 50-125 กิโลกรัม  มีขนหยาบสีดำหรือน้ำตาลทั่วทั้งตัวยกเว้นบริเวณอกซึ่งขนสีเหลืองอ่อนเป็นรูปตัววี (V) ขนบริเวณหัวไหล่และคอจะยาวเป็นพิเศษ หูค่อนข้างใหญ่ ฝ่าตีนใหญ่เดินเต็มตีน รอยตีนของหมีจึงดูคล้ายรอยตีนคน มีเล็บยาวและแหลมคม หมีควายชอบอาศัยในป่าเขา แต่ก็พบในที่ราบได้บ้าง อยู่ในเขตกระจายพันธุ์อยู่ในเอเชียตะวันออก ตั้งแต่ อัฟกานิสถาน อิหร่าน บังกลาเทศ ภูฏาน จีน รัสเซีย อินเดีย เนปาล ปากีสถาน พม่า ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย มองโกเลีย เกาะฮอนชูและชิโกกุของญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลี พบได้สูงถึง 3,000 เมตร \n</p>\n<p>\n          หมีดำเอเชียติคหากินโดยลำพัง  ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละไม่เกิน 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือในถ้ำที่ปลอดภัย  พื้นที่หากินราว 10-20 ตารางกิโลเมตร หากินเวลากลางคืน แต่ก็อาจพบตอนกลางวันได้บ้าง กินทั้งพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นพืชมากกว่า  แต่ถ้าเทียบสัดส่วนของประเภทอาหารแล้วหมีควายยังกินเนื้อสัตว์มากกว่าหมีในทวีปอเมริกา อาหารของหมีควาย เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก แมลง นก ปลา หอย และซากสัตว์\n</p>\n<p>\n          ส่วนอาหารประเภทพืช  ได้แก่  หญ้า ผลไม้ เมล็ดพืช นอกจากนี้ก็กินน้ำผึ้งด้วย ปีนต้นไม้เก่งมาก แต่ชอบฉีกเปลือกไม้เพื่อหาแมลงใต้เปลือกไม้ หรือใช้แสดงเป็นสัญลักษณ์บอกถึงอาณาเขตของตัว\n</p>\n<p>\n          หมีดำเอเชียติค จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)) หมีควายมีลำตัวอ้วนใหญ่ หัวมีขนาดใหญ่ ตาเล็กและหูกลม ขาอ้วนล่ำและหนา หางสั้น มีนิ้วเท้ายาวทั้งหมดห้านิ้ว กรงเล็บสั้น ขนตามลำตัวหยาบมีสีดำ มีลักษณะเด่นคือ ขนบริเวณหน้าอกเป็นรูปตัว V มีสีขาว ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย\n</p>\n<p>\n          ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ความยาวลำตัวและหัว 120-150 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.5-10 เซนติเมตร น้ำหนักอาจหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม\n</p>\n<p>\n          มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวางพบตั้งแต่ ภาคตะวันออกของปากีสถาน ภาคเหนือของอินเดีย ธิเบต เนปาล สิกขิม ภูฐาน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม จีน คาบสมุทรเกาหลี ญี่ปุ่น ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของรัสเซีย\n</p>\n<p>\n          มักเลือกอาศัยอยู่ในป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีอากาศเย็น เช่น ป่าบนภูเขาหินปูน กินอาหารได้หลากหลาย เช่น เนื้อสัตว์ ผลไม้ ใบไม้ หน่อไม้ ซากสัตว์ แมลง รังผึ้ง ตัวอ่อนผึ้ง บางครั้งอาจเข้ามากินในพื้นที่เกษตรกรรม มักออกหากินในเวลากลางคืน ปีนต้นไม้ไม่เก่ง แต่ชอบฉีกเปลือกไม้เพื่อหาแมลงใต้เปลือกไม้ หรือใช้แสดงเป็นสัญลักษณ์บอกถึงอาณาเขตของตัว ตามปกรติมักอาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละไม่เกิน 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือในถ้ำที่ปลอดภัย หมีควายเป็นสัตว์ที่สายตาไม่ค่อยดี จึงค่อนข้างดุร้าย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนด้วยขาหลัง ต่อสู้กับศัตรูโดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันอย่างรุนแรง นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่แปลก คือ ชอบขดตัวกลมแล้วกลิ้งลงมาจากเนินเขา สันนิษฐานว่าเป็นการเล่นสนุก\n</p>\n<p>\n         แม้จะมีรูปร่างอ้วนอุ้ยอ้ายแต่ก็วิ่งได้เร็วมาก หมีดำเอเชียติคเป็นสัตว์ที่สายตาไม่ค่อยดี จึงค่อนข้างดุร้าย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนด้วยขาหลัง ต่อสู้กับศัตรูโดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันอย่างรุนแรง แต่นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่แปลก คือ ชอบขดตัวกลมแล้วกลิ้งลงมาจากเนินเขา สันนิษฐานว่าเป็นการเล่นสนุก  แม้หมีควายจะไม่ดุร้ายอย่างรูปร่างภายนอก หมีควายมักเลี่ยงคนมากกว่าที่จะเข้าโจมตี  หมีควายบางตัวย้ายแหล่งหากินตามฤดูกาล ในฤดูร้อนจะย้ายขึ้นไปอาศัยบนที่สูง ส่วนในฤดูหนาวจะลงมาพื้นที่ต่ำกว่า หมีควายที่อาศัยในถิ่นหนาวจะมีพฤติกรรมที่คล้ายกับการจำศีลด้วย เช่นในญี่ปุ่น หมีควายจะหลับยาวเป็นเวลาราว 5 เดือน แต่ในเขตร้อนหมีควายไม่จำเป็นต้องทำอย่างนั้น  ฤดูผสมพันธุ์ของหมีควายอยู่ราวเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม และออกลูกราวเดือนมกราคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ แต่บางสถานที่ฤดูอาจแตกต่างออกไป เช่นในปากีสถาน ฤดูผสมพันธุ์จะเริ่มในฤดูใบไม้ร่วง ออกลูกคราวละ 1-4 ตัว <br />\nลูกหมีจะอยู่กับแม่เป็นเวลา 2-3 ปี เมื่ออายุได้ 3-4 ปีก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว หมีดำเอเชียติคมีอายุขัยราว 25 ปี ในสวนสัตว์ที่มีการดูแลดีอาจอยู่ได้ถึงกว่า 30 ปี\n</p>\n<p>\n         หมีดำเอเชียติคถูกคุกคามจากมนุษย์หลายรูปแบบ ชาวบ้านชายป่าจะฆ่ามันเพราะเป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยง คนทำไม้จะฆ่ามันเพราะหมีชอบกัดแทะไม้ทำให้ราคาตก  และที่ร้ายแรงก็คือ ดีหมีเป็นที่ต้องการในตลาดยาจีน จึงมีพรานหลายคนยอมเสี่ยงตายเพื่อล่าหมีเอาถุงน้ำดีไปขาย  ปัจจุบันประเทศไทยจัดให้หมีควายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง\n</p>\n<p>\n<strong>ลักษณะ <br />\n</strong>          หมีดำเอเชียติค มีศีรษะขนาดใหญ่ ตาเล็ก และหูกลม มีลำตัวใหญ่ อ้วน ขาอ้วนล่ำและหนา หางสั้น ตีนมี 5 นิ้ว นิ้วตีนยาว เล็บค่อนข้างสั้น ขนลำตัวยาวและหยาบ สีดำ บริเวณหน้าอกมีรูปตัววี (V) สีขาว หมีควายตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย\n</p>\n<p>\n<strong>การกระจายพันธุ์<br />\n</strong>          ไทย ลาวตอนเหนือ เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น จีน ธิเบต เนปาล และพม่า\n</p>\n<p>\n<strong>นิเวศวิทยาและพฤติกรรม<br />\n</strong>          หมีดำเอเชียติคชอบอาศัยในป่าดิบที่มีอาหารสมบูรณ์ หาอาหารเวลากลางคืน มักพบตามพื้นที่สูงที่มีอากาศเย็น เช่นป่าบนภูเขาหินปูน ปกติชอบอาศัยและหากินตามลำพัง ในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือกลุ่มเล็กๆ หมีควายปีนต้นไม้ไม่ได้ จึงชอบนั่งพักผ่อนบนกิ่งไม้ใหญ่ ชอบฉีกต้นไม้เพื่อกินแมลงตามเปลือกไม้ หรือเพื่อประกาศอาณาเขต หมีควายกินอาหารได้หลายประเภท เช่นเนื้อสัตว์ ผลไม้ใบไม้ หน่อไม้ ซากสัตว์ แมลง รังผึ้ง ตัวอ่อนผึ้ง บางครั้งจะกินพืชผลทางการเกษตรของมนุษย์ หมีควายใช้เวลาตั้งท้อง 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละ 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือถ้ำที่มีความปลอดภัยในป่า เป็นสัตว์ที่ค่อนข้างอันตราย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนขึ้นสองขา เดินเข้ามาทำลายศัตรู โดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันที่แข็งแรง แต่ส่วนใหญ่จะวิ่งหนีมนุษย์ที่เข้ามาทำร้าย\n</p>\n<p>\n<strong>สถานภาพ<br />\n</strong>          ปัจจุบันประชากรลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากถูกล่าโดยมนุษย์ เพื่อนำอุ้งตีน และดีหมีไปทำยาจีน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"350\" width=\"219\" src=\"/files/u16598/wild_asiatic_bear_350_tcm31-1426_1.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727404906, expire = 1727491306, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8f3be8840a040c659a7dbfc9fd21f720' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

พฤติกรรมสัตว์

รูปภาพของ mswitthi8283

 

+++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++++

หมีดำเอเชียติค

          มีชื่อเรียกภาษาอังกฤษว่า  asian black bear, asiatic black bear, Tibetan black bear,Himalayan black bear  หรือ  moon bear  
          ชื่อทางวิทยาศาสตร์    Ursus thibetanus (G. Cuvier, ค.ศ. 1823) 
          อาณาจักร                  Animalia
          ไฟลัม                        Chordata
          ชั้น                            Mammalia
          อันดับ                        Carnivora 
          วงศ์                           Ursidae 

         หมีดำเอเชียติคเป็นหมีขนาดกลาง และี่เป็นหมีที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ตัวยาวประมาณ 130-190 เซนติเมตร ตัวผู้หนัก 100-200 กิโลกรัม ตัวเมียหนัก 50-125 กิโลกรัม  มีขนหยาบสีดำหรือน้ำตาลทั่วทั้งตัวยกเว้นบริเวณอกซึ่งขนสีเหลืองอ่อนเป็นรูปตัววี (V) ขนบริเวณหัวไหล่และคอจะยาวเป็นพิเศษ หูค่อนข้างใหญ่ ฝ่าตีนใหญ่เดินเต็มตีน รอยตีนของหมีจึงดูคล้ายรอยตีนคน มีเล็บยาวและแหลมคม หมีควายชอบอาศัยในป่าเขา แต่ก็พบในที่ราบได้บ้าง อยู่ในเขตกระจายพันธุ์อยู่ในเอเชียตะวันออก ตั้งแต่ อัฟกานิสถาน อิหร่าน บังกลาเทศ ภูฏาน จีน รัสเซีย อินเดีย เนปาล ปากีสถาน พม่า ไทย กัมพูชา ลาว เวียดนาม มาเลเซีย มองโกเลีย เกาะฮอนชูและชิโกกุของญี่ปุ่น ไต้หวัน เกาหลี พบได้สูงถึง 3,000 เมตร 

          หมีดำเอเชียติคหากินโดยลำพัง  ยกเว้นในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละไม่เกิน 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือในถ้ำที่ปลอดภัย  พื้นที่หากินราว 10-20 ตารางกิโลเมตร หากินเวลากลางคืน แต่ก็อาจพบตอนกลางวันได้บ้าง กินทั้งพืชและสัตว์ ส่วนใหญ่เป็นพืชมากกว่า  แต่ถ้าเทียบสัดส่วนของประเภทอาหารแล้วหมีควายยังกินเนื้อสัตว์มากกว่าหมีในทวีปอเมริกา อาหารของหมีควาย เช่น สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก แมลง นก ปลา หอย และซากสัตว์

          ส่วนอาหารประเภทพืช  ได้แก่  หญ้า ผลไม้ เมล็ดพืช นอกจากนี้ก็กินน้ำผึ้งด้วย ปีนต้นไม้เก่งมาก แต่ชอบฉีกเปลือกไม้เพื่อหาแมลงใต้เปลือกไม้ หรือใช้แสดงเป็นสัญลักษณ์บอกถึงอาณาเขตของตัว

          หมีดำเอเชียติค จัดเป็นหมี 1 ใน 2 ชนิดที่พบได้ในประเทศไทย (อีกหนึ่งคือ หมีหมา (U. malayanus)) หมีควายมีลำตัวอ้วนใหญ่ หัวมีขนาดใหญ่ ตาเล็กและหูกลม ขาอ้วนล่ำและหนา หางสั้น มีนิ้วเท้ายาวทั้งหมดห้านิ้ว กรงเล็บสั้น ขนตามลำตัวหยาบมีสีดำ มีลักษณะเด่นคือ ขนบริเวณหน้าอกเป็นรูปตัว V มีสีขาว ตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย

          ขนาดเมื่อโตเต็มที่ ความยาวลำตัวและหัว 120-150 เซนติเมตร ความยาวหาง 6.5-10 เซนติเมตร น้ำหนักอาจหนักได้ถึง 200 กิโลกรัม

          มีการกระจายพันธุ์ที่ค่อนข้างกว้างขวางพบตั้งแต่ ภาคตะวันออกของปากีสถาน ภาคเหนือของอินเดีย ธิเบต เนปาล สิกขิม ภูฐาน พม่า ไทย ลาว เวียดนาม จีน คาบสมุทรเกาหลี ญี่ปุ่น ภาคตะวันออกเฉียงใต้ของรัสเซีย

          มักเลือกอาศัยอยู่ในป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีอากาศเย็น เช่น ป่าบนภูเขาหินปูน กินอาหารได้หลากหลาย เช่น เนื้อสัตว์ ผลไม้ ใบไม้ หน่อไม้ ซากสัตว์ แมลง รังผึ้ง ตัวอ่อนผึ้ง บางครั้งอาจเข้ามากินในพื้นที่เกษตรกรรม มักออกหากินในเวลากลางคืน ปีนต้นไม้ไม่เก่ง แต่ชอบฉีกเปลือกไม้เพื่อหาแมลงใต้เปลือกไม้ หรือใช้แสดงเป็นสัญลักษณ์บอกถึงอาณาเขตของตัว ตามปกรติมักอาศัยและหากินตามลำพัง แต่ในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ใช้เวลาตั้งท้องนาน 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละไม่เกิน 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือในถ้ำที่ปลอดภัย หมีควายเป็นสัตว์ที่สายตาไม่ค่อยดี จึงค่อนข้างดุร้าย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนด้วยขาหลัง ต่อสู้กับศัตรูโดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันอย่างรุนแรง นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่แปลก คือ ชอบขดตัวกลมแล้วกลิ้งลงมาจากเนินเขา สันนิษฐานว่าเป็นการเล่นสนุก

         แม้จะมีรูปร่างอ้วนอุ้ยอ้ายแต่ก็วิ่งได้เร็วมาก หมีดำเอเชียติคเป็นสัตว์ที่สายตาไม่ค่อยดี จึงค่อนข้างดุร้าย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนด้วยขาหลัง ต่อสู้กับศัตรูโดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันอย่างรุนแรง แต่นอกจากนี้แล้วยังมีพฤติกรรมที่แปลก คือ ชอบขดตัวกลมแล้วกลิ้งลงมาจากเนินเขา สันนิษฐานว่าเป็นการเล่นสนุก  แม้หมีควายจะไม่ดุร้ายอย่างรูปร่างภายนอก หมีควายมักเลี่ยงคนมากกว่าที่จะเข้าโจมตี  หมีควายบางตัวย้ายแหล่งหากินตามฤดูกาล ในฤดูร้อนจะย้ายขึ้นไปอาศัยบนที่สูง ส่วนในฤดูหนาวจะลงมาพื้นที่ต่ำกว่า หมีควายที่อาศัยในถิ่นหนาวจะมีพฤติกรรมที่คล้ายกับการจำศีลด้วย เช่นในญี่ปุ่น หมีควายจะหลับยาวเป็นเวลาราว 5 เดือน แต่ในเขตร้อนหมีควายไม่จำเป็นต้องทำอย่างนั้น  ฤดูผสมพันธุ์ของหมีควายอยู่ราวเดือนมิถุนายนถึงกรกฎาคม และออกลูกราวเดือนมกราคมจนถึงเดือนกุมภาพันธ์ แต่บางสถานที่ฤดูอาจแตกต่างออกไป เช่นในปากีสถาน ฤดูผสมพันธุ์จะเริ่มในฤดูใบไม้ร่วง ออกลูกคราวละ 1-4 ตัว
ลูกหมีจะอยู่กับแม่เป็นเวลา 2-3 ปี เมื่ออายุได้ 3-4 ปีก็ผสมพันธุ์ได้แล้ว หมีดำเอเชียติคมีอายุขัยราว 25 ปี ในสวนสัตว์ที่มีการดูแลดีอาจอยู่ได้ถึงกว่า 30 ปี

         หมีดำเอเชียติคถูกคุกคามจากมนุษย์หลายรูปแบบ ชาวบ้านชายป่าจะฆ่ามันเพราะเป็นอันตรายต่อสัตว์เลี้ยง คนทำไม้จะฆ่ามันเพราะหมีชอบกัดแทะไม้ทำให้ราคาตก  และที่ร้ายแรงก็คือ ดีหมีเป็นที่ต้องการในตลาดยาจีน จึงมีพรานหลายคนยอมเสี่ยงตายเพื่อล่าหมีเอาถุงน้ำดีไปขาย  ปัจจุบันประเทศไทยจัดให้หมีควายเป็นสัตว์ป่าคุ้มครอง

ลักษณะ
          หมีดำเอเชียติค มีศีรษะขนาดใหญ่ ตาเล็ก และหูกลม มีลำตัวใหญ่ อ้วน ขาอ้วนล่ำและหนา หางสั้น ตีนมี 5 นิ้ว นิ้วตีนยาว เล็บค่อนข้างสั้น ขนลำตัวยาวและหยาบ สีดำ บริเวณหน้าอกมีรูปตัววี (V) สีขาว หมีควายตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมียเล็กน้อย

การกระจายพันธุ์
          ไทย ลาวตอนเหนือ เวียดนาม ไต้หวัน ญี่ปุ่น จีน ธิเบต เนปาล และพม่า

นิเวศวิทยาและพฤติกรรม
          หมีดำเอเชียติคชอบอาศัยในป่าดิบที่มีอาหารสมบูรณ์ หาอาหารเวลากลางคืน มักพบตามพื้นที่สูงที่มีอากาศเย็น เช่นป่าบนภูเขาหินปูน ปกติชอบอาศัยและหากินตามลำพัง ในฤดูผสมพันธุ์หรือมีลูกอ่อน อาจหากินเป็นคู่หรือกลุ่มเล็กๆ หมีควายปีนต้นไม้ไม่ได้ จึงชอบนั่งพักผ่อนบนกิ่งไม้ใหญ่ ชอบฉีกต้นไม้เพื่อกินแมลงตามเปลือกไม้ หรือเพื่อประกาศอาณาเขต หมีควายกินอาหารได้หลายประเภท เช่นเนื้อสัตว์ ผลไม้ใบไม้ หน่อไม้ ซากสัตว์ แมลง รังผึ้ง ตัวอ่อนผึ้ง บางครั้งจะกินพืชผลทางการเกษตรของมนุษย์ หมีควายใช้เวลาตั้งท้อง 7-8 เดือน ออกลูกครั้งละ 2 ตัว ตามโพรงไม้หรือถ้ำที่มีความปลอดภัยในป่า เป็นสัตว์ที่ค่อนข้างอันตราย เมื่อตกใจหรือสงสัยจะยืนขึ้นสองขา เดินเข้ามาทำลายศัตรู โดยการตะปบด้วยขาหน้าและกัดด้วยฟันที่แข็งแรง แต่ส่วนใหญ่จะวิ่งหนีมนุษย์ที่เข้ามาทำร้าย

สถานภาพ
          ปัจจุบันประชากรลดลงอย่างรวดเร็ว เนื่องจากถูกล่าโดยมนุษย์ เพื่อนำอุ้งตีน และดีหมีไปทำยาจีน

 

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 280 คน กำลังออนไลน์