• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:53469b1d0a864fc24e246f125893cfc3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\">เทพีดีเมเทอร์</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">เทพีดีเมเทอร์ หรือ เซเรส (Ceres) ตามตำนานเทพปกรณัมโรมัน เป็นเทพีแห่งพืชผลที่กำลังเจริญเติบโต (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล่าธัญพืช) และความรักของมารดา พระนามของนางมีรากศัพท์มาจากภาษาโพรโต-อินโด-ยูโรเปียน (Proto-Indo-European) ของคำว่า &quot;ker&quot; (เคร) ซึ่งมีความหมายว่า &quot;เจริญเติบโต&quot; และเป็นรากศัพท์ของคำว่า &quot;create&quot; และ &quot;increase&quot; อีกด้วย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\"><br />\nรูปปั้นเทพีเซเรสกำลังถือผลไม้เทพีเซเรสเป็นพระธิดาของเทพแซทเทิร์น (Saturn) และเทพีออพส์ (Ops) เป็นพระขนิษฐาและพระมเหสีของเทพจูปิเตอร์ (Jupiter) เป็นพระมารดาของเทพีพรอสเซอร์พิน่า (Proserpina) ซึ่งกำเนิดจากองค์จูปิเตอร์ และยังเป็นพระขนิษฐาของเทพีจูโน (Juno) เทพีเวสตา (Vesta) เทพเนปจูน (Neptune) และเทพพลูโต (Pluto) อีกด้วย ผลงานศิลปะมักจะมีภาพของนางกำลังถือคทา ตะกร้าดอกไม้และผลไม้ และพวงมาลัยที่ทำจากรวงข้าว</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">เทพีเซเรสยังเป็นเทพีอุปการะเมืองเอ็นนา ในเกาะซิซิลี (Enna, Sicily) ตามตำนาน นางได้อ้อนวอนเทพจูปิเตอร์ให้ตั้งเกาะซิซิลีไว้บนสวรรค์ ด้วยเหตุนี้และด้วยเหตุที่ว่าเกาะซิซิลีมีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม จึงเกิดกลุ่มดาวสามเหลี่ยมขึ้นมา ซึ่งชื่อเดิมของกลุ่มดาวนี้คือซิซิเลีย (Sicilia)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">ชาวโรมันรับเทพีเซเรสเข้ามาช่วง 496 ปีก่อนคริสตกาลซึ่งเป็นช่วงข้าวยากหมากแพง เมื่อคำทำนายในหนังสือพยากรณ์ซิบบิลลิน (Sibylline books) แนะนำให้รับเอาเทพีดีมีเทอร์ (Demeter) ของกรีกที่มีชั้นเท่ากันมา พร้อมด้วยเทพีโคเร (Kore) หรือเทพีเพอร์เซโฟเน (Persephone) และเทพเอียคชุส (Iacchus) หรือก็คือเทพไดโอไนซัส (Dionysus) นั่นเอง เทพีเซเรสได้รับการบูชาและเฉลิมฉลองในพิธีกรรมทางศานสาอย่างลับๆ โดยผู้หญิงในงานเทศกาลแอมบาร์วาเลีย (Ambarvalia) ที่จัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม สถานศักดิ์สิทธิ์ของเทพีเซเรสตั้งอยู่ที่เนินเขาอเวนทีน (Aventine Hill) ในกรุงโรม งานเทศกาลของเทพีเซเรสคืองานเซเรียลเลีย (Cerealia) หรือ งานลูดิ เซเรียลเลส (Ludi Ceriales) ซึ่งมีความหมายว่า &quot;เกมส์แห่งเทพีเซเรส&quot; ที่ริเริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล และจัดขึ้นทุกๆ ปีให้วันที่ 12 ถึง 19 เมษายน การบูชาสักการะเทพีเซเรสกลายเป็นความเกี่ยวข้องกับสามัญชนผู้ครองการค้าขายข้าวโพด พิธีกรรมการบูชานางเป็นที่รู้จักเพียงเล็กน้อย หนึ่งในสิ่งที่ทราบกันดีก็คือพิธีกรรมแปลกประหลาดที่ต้องตีตราที่หางของสุนัขจิ้งจอกซึ่งจะถูกปล่อยในสนามแข่งเซอร์คัส แม็กซิมุซ (Circus Maximus)</span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #993300\">เทพีเซเรสยังมีเทพชั้นรองอีกสิบสององค์เป็นผู้ช่วยของนาง ที่จะทำหน้าที่ต่างๆ กันเกี่ยวกับการเกษตรกรรม เทพเหล่านั้นคือ &quot;เทพเวอร์แวคเตอร์ (Vervactor) เทพผู้รักษาผืนดิน เทพเรพพาเรเตอร์ (Reparator) เทพผู้ตระเตรียมผืนดิน เทพอิมพอร์คซิเตอร์ (Imporcitor) เทพผู้ไถร่องดิน&quot; (ซึ่งนามของเทพองค์นี้ดัดแปลงมาจากคำว่า imporcare ในภาษาละติน ซึ่งมีความหมายว่า ใส่ในร่องดิน) &quot;เทพอินซิเตอร์ (Insitor) เทพผู้หว่านเมล็ด เทพซับบรันซิเนเตอร์ (Subruncinator) เทพผู้ เทพเมสเซอร์ (Messor) เทพผู้เก็บเกี่ยว เทพโคนูเอ็คเตอร์ (Conuector) เทพผู้ขนส่ง เทพคอนดิเตอร์ (Conditor) เทพผู้เก็บรักษา และเทพโพรมิเตอร์ (Promitor) เทพผู้แจกจ่าย&quot;</span></strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/95655\"><img height=\"104\" width=\"128\" src=\"/files/u30454/anigifHOME.gif\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715009606, expire = 1715096006, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:53469b1d0a864fc24e246f125893cfc3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

Ceres

 

เทพีดีเมเทอร์

เทพีดีเมเทอร์ หรือ เซเรส (Ceres) ตามตำนานเทพปกรณัมโรมัน เป็นเทพีแห่งพืชผลที่กำลังเจริญเติบโต (โดยเฉพาะอย่างยิ่งเหล่าธัญพืช) และความรักของมารดา พระนามของนางมีรากศัพท์มาจากภาษาโพรโต-อินโด-ยูโรเปียน (Proto-Indo-European) ของคำว่า "ker" (เคร) ซึ่งมีความหมายว่า "เจริญเติบโต" และเป็นรากศัพท์ของคำว่า "create" และ "increase" อีกด้วย


รูปปั้นเทพีเซเรสกำลังถือผลไม้เทพีเซเรสเป็นพระธิดาของเทพแซทเทิร์น (Saturn) และเทพีออพส์ (Ops) เป็นพระขนิษฐาและพระมเหสีของเทพจูปิเตอร์ (Jupiter) เป็นพระมารดาของเทพีพรอสเซอร์พิน่า (Proserpina) ซึ่งกำเนิดจากองค์จูปิเตอร์ และยังเป็นพระขนิษฐาของเทพีจูโน (Juno) เทพีเวสตา (Vesta) เทพเนปจูน (Neptune) และเทพพลูโต (Pluto) อีกด้วย ผลงานศิลปะมักจะมีภาพของนางกำลังถือคทา ตะกร้าดอกไม้และผลไม้ และพวงมาลัยที่ทำจากรวงข้าว

เทพีเซเรสยังเป็นเทพีอุปการะเมืองเอ็นนา ในเกาะซิซิลี (Enna, Sicily) ตามตำนาน นางได้อ้อนวอนเทพจูปิเตอร์ให้ตั้งเกาะซิซิลีไว้บนสวรรค์ ด้วยเหตุนี้และด้วยเหตุที่ว่าเกาะซิซิลีมีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม จึงเกิดกลุ่มดาวสามเหลี่ยมขึ้นมา ซึ่งชื่อเดิมของกลุ่มดาวนี้คือซิซิเลีย (Sicilia)

ชาวโรมันรับเทพีเซเรสเข้ามาช่วง 496 ปีก่อนคริสตกาลซึ่งเป็นช่วงข้าวยากหมากแพง เมื่อคำทำนายในหนังสือพยากรณ์ซิบบิลลิน (Sibylline books) แนะนำให้รับเอาเทพีดีมีเทอร์ (Demeter) ของกรีกที่มีชั้นเท่ากันมา พร้อมด้วยเทพีโคเร (Kore) หรือเทพีเพอร์เซโฟเน (Persephone) และเทพเอียคชุส (Iacchus) หรือก็คือเทพไดโอไนซัส (Dionysus) นั่นเอง เทพีเซเรสได้รับการบูชาและเฉลิมฉลองในพิธีกรรมทางศานสาอย่างลับๆ โดยผู้หญิงในงานเทศกาลแอมบาร์วาเลีย (Ambarvalia) ที่จัดขึ้นในเดือนพฤษภาคม สถานศักดิ์สิทธิ์ของเทพีเซเรสตั้งอยู่ที่เนินเขาอเวนทีน (Aventine Hill) ในกรุงโรม งานเทศกาลของเทพีเซเรสคืองานเซเรียลเลีย (Cerealia) หรือ งานลูดิ เซเรียลเลส (Ludi Ceriales) ซึ่งมีความหมายว่า "เกมส์แห่งเทพีเซเรส" ที่ริเริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 3 ก่อนคริสตกาล และจัดขึ้นทุกๆ ปีให้วันที่ 12 ถึง 19 เมษายน การบูชาสักการะเทพีเซเรสกลายเป็นความเกี่ยวข้องกับสามัญชนผู้ครองการค้าขายข้าวโพด พิธีกรรมการบูชานางเป็นที่รู้จักเพียงเล็กน้อย หนึ่งในสิ่งที่ทราบกันดีก็คือพิธีกรรมแปลกประหลาดที่ต้องตีตราที่หางของสุนัขจิ้งจอกซึ่งจะถูกปล่อยในสนามแข่งเซอร์คัส แม็กซิมุซ (Circus Maximus)

เทพีเซเรสยังมีเทพชั้นรองอีกสิบสององค์เป็นผู้ช่วยของนาง ที่จะทำหน้าที่ต่างๆ กันเกี่ยวกับการเกษตรกรรม เทพเหล่านั้นคือ "เทพเวอร์แวคเตอร์ (Vervactor) เทพผู้รักษาผืนดิน เทพเรพพาเรเตอร์ (Reparator) เทพผู้ตระเตรียมผืนดิน เทพอิมพอร์คซิเตอร์ (Imporcitor) เทพผู้ไถร่องดิน" (ซึ่งนามของเทพองค์นี้ดัดแปลงมาจากคำว่า imporcare ในภาษาละติน ซึ่งมีความหมายว่า ใส่ในร่องดิน) "เทพอินซิเตอร์ (Insitor) เทพผู้หว่านเมล็ด เทพซับบรันซิเนเตอร์ (Subruncinator) เทพผู้ เทพเมสเซอร์ (Messor) เทพผู้เก็บเกี่ยว เทพโคนูเอ็คเตอร์ (Conuector) เทพผู้ขนส่ง เทพคอนดิเตอร์ (Conditor) เทพผู้เก็บรักษา และเทพโพรมิเตอร์ (Promitor) เทพผู้แจกจ่าย"

 

 

 

สร้างโดย: 
ลาตีฟะ ฮาเซีย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 505 คน กำลังออนไลน์