• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2625d265f3381d6658f500fa7f26cdce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"102\" width=\"387\" src=\"/files/u40696/anigiffsese.gif\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffcc99; color: #993366\">ศิลปะคลาสสิกใหม่  ( Neoclassic )</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff0000\">-  เป็นลัทธิทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุด  ได้ฟื้นฟูศิลปะคลาสสิกอันงดงามของกรีกและโรมันกลับมาสร้างใหม่ในปรัชญาที่ว่า  ศิลปะ  คือ  ดวงประทีปของเหตุผล  โดยเน้นความประณีต  ละเอียดอ่อน  นุ่มนวล  และเหมือนจริงด้วยสัดส่วนและแสงเงา </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff0000\">        -  เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของศิลปะสมัยกลางและศิลปะสมัยใหม่  มีผลต่อการคิดค้นสร้างสรรค์ศิลปะอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #ff0000\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"200\" width=\"150\" src=\"/files/u40696/y1pWRutl5R4C1ubVmn3RsOFCVJ-RZVSaH9LwjsXvcO4oTizjpjgUFGpQtYWb16IC6xuhNWx2eUnTug_1.jpg\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://byfiles.storage.live.com/y1pWRutl5R4C1ubVmn3RsOFCVJ-RZVSaH9LwjsXvcO4oTizjpjgUFGpQtYWb16IC6xuhNWx2eUnTug\">http://byfiles.storage.live.com/y1pWRutl5R4C1ubVmn3RsOFCVJ-RZVSaH9LwjsXvcO4oTizjpjgUFGpQtYWb16IC6xuhNWx2eUnTug</a>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"background-color: #ffcc99; color: #993366\"><b><u><a href=\"http://byfiles.storage.live.com/y1pWRutl5R4C1ubVmn3RsOFCVJ-RZVSaH9LwjsXvcO4oTizjpjgUFGpQtYWb16IC6xuhNWx2eUnTug\"></a> ศิลปะสมัยใหม่  ( Modern Art )</u></b></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"226\" width=\"150\" src=\"/files/u40696/1601909098_32e258bcb3_o_0.jpg\" /> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://farm3.static.flickr.com/2305/1601909098_32e258bcb3_o.jpg\">http://farm3.static.flickr.com/2305/1601909098_32e258bcb3_o.jpg</a> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\"> ศิลปะจินตนิยม  ( Romanticism )</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">-  ก่อเกิดในอังกฤษและฝรั่งเศสช่วงระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน  มีทรรศนะคติที่ต้องการความเป็นอิสระในการแสดงออกที่ศิลปินต้องการมากกว่า การเดินตามกฎเกณฑ์และแบบแผนทางศิลปะ  เน้นอารมณ์อยู่เหนือเหตุผล  มุ่งสร้างสรรค์งานที่ตื่นเต้น  เร้าใจ </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">2. ศิลปะสัจนิยม  ( Realisticism )  กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">        -  ศิลปินในยุคนี้ได้แก่  กุสตาฟ  คูร์เบท์ , ฌอง  ฟรังซัวส์  มิล์เลท์ </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">3. ศิลปะลัทธิประทับใจ  ( Impressionism )  ศิลปะแห่งความงดงามของประกายแสงและสี </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">        -  แสดงภาพทิวทัศน์บก  ทะเล  ริมฝั่ง  เมืองและชีวิตประจำวันที่รื่นรมย์  เช่น  การสังสรรค์  บัลเลต์</span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">4. ศิลปะลัทธิประทับใจใหม่  ( Neo-Impressionism )  สีจากแสงสเปกตรัมมาสู่อนุภาค </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">        -  เกิดเทคนิคการระบายสีเป็นสีจากจุด  ซึ่งเป็นผลมาจากความเชื่อทางฟิสิกส์ว่า  แสง คือ อนุภาค  โดย </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">            การระบายสีให้เกิดริ้วรอยพู่กันเล็กๆด้วยสีสดใส  จุดสีเล็กๆนี้จะผสานกันในสายตาของผู้ชม  มากกว่า </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">            การผสมสีอันเกิดจากการผสมบนจานสี </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">5. ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง  ( Post-Impressionism ) </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">6. ศิลปะลัทธิบาศกนิยม  ( Cubism )  ค.ศ.1907-1910 </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">7. ศิลปะลัทธิเหนือจริง  ( Surrealism )  ศิลปกรรมที่เปิดเผยความฝันและจิตใต้สำนึก </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #993366\">8. ศิลปะลัทธินามธรรม  ( Abstractionism )  ศิลปะไร้รูปลักษณ์</span> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81896\" title=\"HOME\"><img height=\"103\" width=\"139\" src=\"/files/u40696/anigifESEA.gif\" /></a>\n</div>\n<p style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>\n</p>\n', created = 1715552003, expire = 1715638403, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2625d265f3381d6658f500fa7f26cdce' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศิลปะคลาสสิกใหม่ ( Neoclassic ) และ ศิลปะสมัยใหม่ ( Modern Art )

 

 

ศิลปะคลาสสิกใหม่  ( Neoclassic )

-  เป็นลัทธิทางศาสนาที่เก่าแก่ที่สุด  ได้ฟื้นฟูศิลปะคลาสสิกอันงดงามของกรีกและโรมันกลับมาสร้างใหม่ในปรัชญาที่ว่า  ศิลปะ  คือ  ดวงประทีปของเหตุผล  โดยเน้นความประณีต  ละเอียดอ่อน  นุ่มนวล  และเหมือนจริงด้วยสัดส่วนและแสงเงา 

        -  เป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อของศิลปะสมัยกลางและศิลปะสมัยใหม่  มีผลต่อการคิดค้นสร้างสรรค์ศิลปะอย่างกว้างขวางในเวลาต่อมา 

http://byfiles.storage.live.com/y1pWRutl5R4C1ubVmn3RsOFCVJ-RZVSaH9LwjsXvcO4oTizjpjgUFGpQtYWb16IC6xuhNWx2eUnTug

 ศิลปะสมัยใหม่  ( Modern Art )

 

http://farm3.static.flickr.com/2305/1601909098_32e258bcb3_o.jpg 

 ศิลปะจินตนิยม  ( Romanticism )

-  ก่อเกิดในอังกฤษและฝรั่งเศสช่วงระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน  มีทรรศนะคติที่ต้องการความเป็นอิสระในการแสดงออกที่ศิลปินต้องการมากกว่า การเดินตามกฎเกณฑ์และแบบแผนทางศิลปะ  เน้นอารมณ์อยู่เหนือเหตุผล  มุ่งสร้างสรรค์งานที่ตื่นเต้น  เร้าใจ 

2. ศิลปะสัจนิยม  ( Realisticism )  กลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 

        -  ศิลปินในยุคนี้ได้แก่  กุสตาฟ  คูร์เบท์ , ฌอง  ฟรังซัวส์  มิล์เลท์ 

3. ศิลปะลัทธิประทับใจ  ( Impressionism )  ศิลปะแห่งความงดงามของประกายแสงและสี 

        -  แสดงภาพทิวทัศน์บก  ทะเล  ริมฝั่ง  เมืองและชีวิตประจำวันที่รื่นรมย์  เช่น  การสังสรรค์  บัลเลต์

4. ศิลปะลัทธิประทับใจใหม่  ( Neo-Impressionism )  สีจากแสงสเปกตรัมมาสู่อนุภาค 

        -  เกิดเทคนิคการระบายสีเป็นสีจากจุด  ซึ่งเป็นผลมาจากความเชื่อทางฟิสิกส์ว่า  แสง คือ อนุภาค  โดย 

            การระบายสีให้เกิดริ้วรอยพู่กันเล็กๆด้วยสีสดใส  จุดสีเล็กๆนี้จะผสานกันในสายตาของผู้ชม  มากกว่า 

            การผสมสีอันเกิดจากการผสมบนจานสี 

5. ศิลปะลัทธิประทับใจยุคหลัง  ( Post-Impressionism ) 

6. ศิลปะลัทธิบาศกนิยม  ( Cubism )  ค.ศ.1907-1910 

7. ศิลปะลัทธิเหนือจริง  ( Surrealism )  ศิลปกรรมที่เปิดเผยความฝันและจิตใต้สำนึก 

8. ศิลปะลัทธินามธรรม  ( Abstractionism )  ศิลปะไร้รูปลักษณ์ 

 

  

สร้างโดย: 
อาจารย์พีรทิพย์ สุคันธเมศวร และ นางสาวเมทินี กลิ่นสมใจ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 175 คน กำลังออนไลน์