• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e2d0542d21b9c953ddcd8f3a5bddf09b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ความเชื่อในเทพเจ้า</strong> <br />\nชาวโรมันมีความเชื่อในเทพเจ้าซึ่งส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อในเทพเจ้าของกรีก จะพบว่าเทพเจ้าของรัมนมาจากการรับเอาเทพเจ้าของกรีกมานับถือโดยแปลงชื่อใหม่ เช่น Zeus เทพบิดรของกรีกได้รับการขนานนามใหม่ว่า Jupiter หรือแปลี่ยนชื่อเทพีแห่งความรักของกรีกจาก Aphrodite เป็น Venus เป็นต้น\n</p>\n<p>\nการประกอบพิธีทางศาสนาเป็นหน้าที่ของพระซึ่งเป็นประมุขของพระได้แก่ กงสุลในสมัยสาธารณรัฐและสมัยจักรพรรดิในสมัยจักรวรรดิ ประมุขของพระยังทำหน้าที่เป็นผ็สร้างปฏิทินและกำหนดพิธีฉลองต่างๆด้วย\n</p>\n<p>\n<strong>คริสต์ศาสนา</strong>\n</p>\n<p>\nคริสต์ศาสนาได้เข้ามาเผยเพร่ในปลายจักรวรรดิโรมัน ในชนชั้นแรกผู้ที่นับถือศาสนานี้เป็นพวกคนยากจน ทั้งนี้เนื่องจากความเป็นมา และคำสอนของศาสนามีลักษณะที่ดึงดูดใจโดยเฉพาะชีวประวัติของพระเยซู ความเชื่อในมหิทธานุภาพของพระเจ้า และคำสอนที่ว่าพระเจ้าทรงรักมนุษย์ อย่างไรก็ตามผู้ปกครองโรมันต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตลอดเพราะคำสอนบางประการปฏิเสธอำนาจของรัฐ\n</p>\n<p>\nผู้นำคริสต์ศาสนาได้รับเอารูปแบบของการบริหารและกฏหมายของโรมันมาจัดองค์กรจนคริสต์จักรมีความมั่งคั่งมากขึ้น ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินทางเปลี่ยนนโยบายมาสนับสนุนศาสนาคริสต์และทรงเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ เมื่อ สิ้นศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันส่วนใหญ่ต่างก็เข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความคิดทางปรัชญา</strong> <br />\nความคิดทางปรัชญาได้รับทางจากกรีกโดยตรง คือรับความคิดทั้งพวกเอปิคิวเรียน ซินิคและสโตอิค   ความคิดเหล่านี้ทำให้โรมันปกครองชนต่างชาติอย่างใจกว้างดังได้กล่าวมาแล้ว   และความคิดเหล่านี้มีอิทธิพลโดนตรงต่อนักกฏหมายโรมันโดยเฉพาะกลุ่มสโตอิค ดังจะกล่าวต่อไป\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nก. กลุ่ม Scipionic circle กับความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์\n</p>\n<p align=\"left\">\nตอยปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช Panaetius Polybius มีความสัมพันธ์กับอภิชนโรมันคือ สกิปิโอ (Scipio 185-129 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ทำให้เกิดกลุ่มนักคิดที่เรียกว่ากลุ่ม Scipionic ขึ้นกลุ่มนี้เสนอแนวความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเชื้อชาติต่างๆ ความเท่าเทียมกันของคนทำให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ เน้นความเท่าเทียมกันของชาย หญิง ยอมรับสิทธิของภรรยาและลูกๆ ความเมตตา ความรัก ความบริสุทธิ์ในครอบครัว ขันติธรรม และให้ทานแก่เพื่อนมนุษย์ทุกชั้น\n</p>\n<p align=\"left\">\nโพลีบิอุส ยอมรับว่าโลกของโรมันปกครองเป็นโลกรัฐ (World state) เพราะมีการปรับจนสมดุลย์คือกงสุลทำหน้าที่แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และสภาเซเนททำหน้าที่แบบอภิชนาธิปไตย ส่วนสภาประชาชนก็ทำหน้าที่แบบประชาธิปไตย ทั้ง 3 ส่วนนี้ตรวจสอบซึ่งกันและกัน อันเป็นวิธีป้องกันความเสื่มเสียที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติคือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เมื่อเสื่อมก็กลายเป็นทรราชย์ และอภิชนาธิปไตยเมื่อเสื่อมก็จะกลายเป็นคคณาธิปไตย โพลีบิอุสถือเป็นกฏประวัติศาสตร์ว่ารัฐแบบไม่ผสมจะต้องเสื่อมลง\n</p>\n<p align=\"left\">\nความสมดุลของรัฐ มิใช่ความสมดุลขอลชนชั้น แต่เป็นความสมดุลทางด้านอำนาจทางการเมืองแนวความคิดเรื่องระบบ Check and Balance ซึ่งมีการตรวจสอบอำนาจกันและกัน และมีสิทธิวีโต้ที่ต่อมาได้นำมาใช้ในงานของมองเตสกอเออและรัฐธรรมนูญอเมริกัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nคำสอนของโพลีบิอุส ทำให้ชนชั้นปกครองถือว่าจะต้องรักษาความสมดุลย์ในการปกครอง ทำให้เกิดความเจริญด้วยการสร้างศิลปะและอักษรศาตร์ มีใจกว้าง มีเจตน์จำนงที่ดีและสุภาพ ลักษณะเช่นนี้โรมันเรียกว่า humanitas (แต่ระบบนี้ก็ทำให้เกิดจักรวรรดินิยม เช่นโรมันอ้างว่าเป็นภระของตนที่จะต้องปกครองรัฐอื่น ทำนองเดียวกับที่คนผิวขขาวอ้างภาระในการทำให้คนผิวอื่นเป็นอารยชน) \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"50\" width=\"600\" src=\"/files/u40977/1020.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n    <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/0016.jpg\" border=\"0\" />   <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/14774.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/02365.jpg\" border=\"0\" />   <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/5878_0.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nข อิทธิพลของสโตอิคต่อปัญญาความคิดโรมัน <br />\nเมื่อศตวรรษที่ 1 ก่อนคริสต์ศักราช ความคิดของสโตอิคเรื่อง รัฐโลก ความยุติธรรมตามธรรมชาติและพลเมืองสากลได้แพร่หลายไป ไครซิปปุสเชื่อว่าโลกอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลศีกดิ์สิทธิ์คือพระเจ้าซึ่งมีเหตุผลและดี พระเจ้ามีวคามสัมพันธ์กับมนุษย์อย่างพ่อกับลูก มนุษย์มีเหตุผลเป็นธรรมชาติเช่นเดียวกับพระเจ้า กฏศีลธรรมซึ่งมีเหตุผลจึงเป็นกฏที่ใช้ได้กับทุกคน เป็นกฏที่ถูกต้องในตัว\n</p>\n<p>\nเราจะเห็นได้ว่ากรีกไม่เห็นความสัมพันธ์ระหว่างสถาบันศาสนากับสถาบันบ้านเมือง แต่ในสัมนโรมันตลอดจนถึงสัมยใหม่ปัญหานี้เป็นเรื่องสำคัญ และนักปราชญ์โรมันเองก็เน้นต่างกัน ที่สำคัญคือ ซิเซโร เน้นด้านกฎหมาย ส่วน เซเนกาเน้นด้านศาสนา\n</p>\n<p>\nซิเซโร (Cicero 106-43 ปีก่อนคริสต์ศักราช)\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://classics.ucdavis.edu/student-info/cicero_sm.jpg\">http://classics.ucdavis.edu/student-info/cicero_sm.jpg</a>\n</p>\n<p>\nซิเซโรยอมรับความคิดเรื่อง historical cycle ของระบบการเมืองแบบผสมซึ่งทำให้เกิด check and balance เป็นสิ่งที่ดีที่สุด แต่ความคิดที่ว่าระบบการเมืองจะเสื่องลงได้คือจาก monarchy -- tyranny -- aristocracy -- moderate democracy -- mob – rule ซึ่งเป็นแนวคิดของพานาเอติอุส กับ โพลีบิอุส ซึ่งคล้ายคลึงกับอริสโตเติลนั้น ไม่สอดคล้องกับประวัติศาสตร์โรมันซิเซโรมิได้แก้ไชความคิดนี้ และมิได้พยายามสร้างทฤษฏีการเมืองที่สอดคล้องกับประวัติศาสตร์โรมันขึ้น\n</p>\n<p>\nสิ่งสำคัญที่ซิเซโรได้กระทำในการเมืองคือ นำเอาความคิดเรื่องกฏธรรมชาติมาผนวกเข้ากับลัทธิสโตอิค ซึ่งเป็นนักกฏหมายโรมันคริสต์จักร และยุโรปได้ใช้กันต่อๆ มาจนถึงศตวรรษที่ 19\n</p>\n<p>\nกฏสากลของธรรมชาติมีอยู่ในฐานะที่เป็นพระเจ้าสร้างเพื่อปกครองโลกและเป็นไปตามธรรมชาติของมนุษย์ ซึ่งมีเหตุผลและมีธรรมชาติที่รวมอยู่ด้วยกันเป็นสังคม ฏกธรรมชาติก็คือรัฐธรรมนูญของรัฐโลกกฏนี้ไม่เปลี่ยนแปลงและใช้ได้กับทุกคน สิ่งใดที่บัญญัติขัดกับกฏนี้จะถือเป็นกฏหมายมิได้\n</p>\n<p>\nเนื่องจากกฏหมายนี้เป็นกฏสากลสำหรับทุกคน คนจึงเท่าเทียมกันความเท่าเทียมกันของคนมิใช่ได้มาด้วยการศึกษา หรือการที่รัฐจัดการให้มีทรัพย์ขึ้นเท่ากัน แต่มาจากธรรมชาติที่มีเหตุผล รู้ถูกผิดอันเป็นธรรมชาติที่เหมือนๆกันของมนุษย์ การที่คนมารวมกันเป็นประชาคม จะต้องยอมรับกฏหมาย สอทธิและผลประโยชน์ร่วมกัน อันความคิดนี้ทำให้เกิดผล 3 ประการคือ\n</p>\n<p>\n1. รัฐและกฏหมายเป็นสมบัติของประชาชน เกิดขึ้นนจากการรวมกันแห่งอำนาจของประชาชน\n</p>\n<p>\n2. อำนาจการเมืองที่ใช้อย่างถูกต้องจะสอคคล้องกับอำนาจของประชาชน เช่น ผู้พิพากษาจะมีฐานะถูกต้องก็ต้องเป็นไปตามกฏหมาย\n</p>\n<p>\n3. รัฐและกฏหมายของรัฐอยู่ภายใต้กฏของพระเจ้า คือกฏศีลธรรมหรือกฏธรรมชาติ ซึ่งอยู่เหนือการตัดสินใจและสถานบันมนุษย์\n</p>\n<p>\nการยอมรับว่าประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจ และการปกตรองต้องได้รับความยินยอมจากประชาชนนี้เป็นมรดกทางความคิดทางการเมืองที่สำคัญ แต่หลักการนี้ก็ยังตัดสินยากในทางปฏิบัติ เช่น ทรราชย์ซึง่ไม่มีใครกล้าคัดค้านอย่างเปิดเผยก็อ้างได้ว่าประชาชนยอมรับ อะไรเป็นเครื่องตัดสินการยินยอมจองประชาชนเป็นปัญหาซึ่งมีคำตอบแตกต่างกันไป\n</p>\n<p>\n2 เซเนกา (Seneca) <br />\nทั้งซิเซโร และเซเนกาต่างก็รับความคิดแบบสโตอิค ที่ถือว่าธรรมชาติเป็นมาตราฐานของความดีและความมีเหตุผล ทั้ง 2 คนคิดว่าสมัยสาธารณรัฐเป็นสมันที่โรมเจริญที่สุด จากนั้นก็เสื่อมลง วคมาคิดแบบสโตอิคของเซเนกา เน้นสังคมมากกว่ารัฐ และผูกผันกับศีลธรรมมากกว่ากฎหมายและการเมือง คนดีสามรถบริการแก่เพื่อนมนุษย์ได้ ทำความดีต่อกันในฐานะเพื่อนมนุษย์ได้โดยไม่ต้องมีอำนาจทางการเมือง เขาแยกประโยชน์ทางโลกกับประโยชน์ทางวิญญาณออกจากกัน ลักษณะเช่นนี้เป็นคำสอนแบบเดียวกับคริสต์ศาสนาซึ่งเจริญขึ้นในระยะต่อมา\n</p>\n<p>\nนอกจากเรื่องนี้แล้วความคิดของเซเนกายังมีลักษณะเป็นศาสนาอีก 2 ประการคือ ประการแรก เข้าถือว่าบาปเป็นธรรมชาติของมนุษย์ และประการที่สอง เขาเป็นนักมนุษย์นิยม คือการที่คิดว่าคนมีบาปทำให้เขาเห็นใจมนุษย์ เขาเน้นความเห็นอกเห็นใจ ความสุภาพ ความคุณธรรม ความเห็นใจนี้ปรากฎในกฎหมายโรมัน คือ การคุ้มครองหญิง เด็ก คนที่ช่วยตัวเองไม่ได้ การปฏิบัติต่อนักโทษอย่างอารยชน เป็นต้น\n</p>\n<p>\nเขาไม่ยอมรับความเชื่อเดิมที่ว่ารัฐเป็นสิ่งสูงสุดในการทำให้เกิดความสมบรูณ์ทางศีลธรรม กฎหมายและรัฐบาลเป็นเพียงตัวแทนของสิ่งที่ดีอันดับรองๆ หากสังคมสมบรูณ์และคนมีธรรมชาติบริสุทธิ์แล้ว สิ่งเหล่านี้ก็ไม่จำเป็น รัฐเกิดขึ้นก็เพราะคนมีความชั่วมีบาป การมีสมบัติส่วนตัว ความโลภ ทำให้เกิดความเห็นแก่ตัว จึงต้องมีรัฐบาลและกฎหมายเพื่อแก้ความชั่วดังกล่าว\n</p>\n<p>\n<br />\n \n</p>\n', created = 1715614958, expire = 1715701358, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e2d0542d21b9c953ddcd8f3a5bddf09b' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9c1bb7a3143c1ef4e99efeff85ebf52d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>ความเชื่อในเทพเจ้า</strong> <br />\nชาวโรมันมีความเชื่อในเทพเจ้าซึ่งส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อในเทพเจ้าของกรีก จะพบว่าเทพเจ้าของรัมนมาจากการรับเอาเทพเจ้าของกรีกมานับถือโดยแปลงชื่อใหม่ เช่น Zeus เทพบิดรของกรีกได้รับการขนานนามใหม่ว่า Jupiter หรือแปลี่ยนชื่อเทพีแห่งความรักของกรีกจาก Aphrodite เป็น Venus เป็นต้น\n</p>\n<p>\nการประกอบพิธีทางศาสนาเป็นหน้าที่ของพระซึ่งเป็นประมุขของพระได้แก่ กงสุลในสมัยสาธารณรัฐและสมัยจักรพรรดิในสมัยจักรวรรดิ ประมุขของพระยังทำหน้าที่เป็นผ็สร้างปฏิทินและกำหนดพิธีฉลองต่างๆด้วย\n</p>\n<p>\n<strong>คริสต์ศาสนา</strong>\n</p>\n<p>\nคริสต์ศาสนาได้เข้ามาเผยเพร่ในปลายจักรวรรดิโรมัน ในชนชั้นแรกผู้ที่นับถือศาสนานี้เป็นพวกคนยากจน ทั้งนี้เนื่องจากความเป็นมา และคำสอนของศาสนามีลักษณะที่ดึงดูดใจโดยเฉพาะชีวประวัติของพระเยซู ความเชื่อในมหิทธานุภาพของพระเจ้า และคำสอนที่ว่าพระเจ้าทรงรักมนุษย์ อย่างไรก็ตามผู้ปกครองโรมันต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตลอดเพราะคำสอนบางประการปฏิเสธอำนาจของรัฐ\n</p>\n<p>\nผู้นำคริสต์ศาสนาได้รับเอารูปแบบของการบริหารและกฏหมายของโรมันมาจัดองค์กรจนคริสต์จักรมีความมั่งคั่งมากขึ้น ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินทางเปลี่ยนนโยบายมาสนับสนุนศาสนาคริสต์และทรงเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ เมื่อ สิ้นศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันส่วนใหญ่ต่างก็เข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน\n</p>\n<p align=\"left\">\n<strong>ความคิดทางปรัชญา</strong> <br />\nความคิดทางปรัชญาได้รับทางจากกรีกโดยตรง คือรับความคิดทั้งพวกเอปิคิวเรียน ซินิคและสโตอิค   ความคิดเหล่านี้ทำให้โรมันปกครองชนต่างชาติอย่างใจกว้างดังได้กล่าวมาแล้ว   และความคิดเหล่านี้มีอิทธิพลโดนตรงต่อนักกฏหมายโรมันโดยเฉพาะกลุ่มสโตอิค ดังจะกล่าวต่อไป\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nก. กลุ่ม Scipionic circle กับความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์\n</p>\n<p align=\"left\">\nตอยปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช Panaetius Polybius มีความสัมพันธ์กับอภิชนโรมันคือ สกิปิโอ (Scipio 185-129 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ทำให้เกิดกลุ่มนักคิดที่เรียกว่ากลุ่ม Scipionic ขึ้นกลุ่มนี้เสนอแนวความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเชื้อชาติต่างๆ ความเท่าเทียมกันของคนทำให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ เน้นความเท่าเทียมกันของชาย หญิง ยอมรับสิทธิของภรรยาและลูกๆ ความเมตตา ความรัก ความบริสุทธิ์ในครอบครัว ขันติธรรม และให้ทานแก่เพื่อนมนุษย์ทุกชั้น\n</p>\n<p align=\"left\">\nโพลีบิอุส ยอมรับว่าโลกของโรมันปกครองเป็นโลกรัฐ (World state) เพราะมีการปรับจนสมดุลย์คือกงสุลทำหน้าที่แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และสภาเซเนททำหน้าที่แบบอภิชนาธิปไตย ส่วนสภาประชาชนก็ทำหน้าที่แบบประชาธิปไตย ทั้ง 3 ส่วนนี้ตรวจสอบซึ่งกันและกัน อันเป็นวิธีป้องกันความเสื่มเสียที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติคือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เมื่อเสื่อมก็กลายเป็นทรราชย์ และอภิชนาธิปไตยเมื่อเสื่อมก็จะกลายเป็นคคณาธิปไตย โพลีบิอุสถือเป็นกฏประวัติศาสตร์ว่ารัฐแบบไม่ผสมจะต้องเสื่อมลง\n</p>\n<p align=\"left\">\nความสมดุลของรัฐ มิใช่ความสมดุลขอลชนชั้น แต่เป็นความสมดุลทางด้านอำนาจทางการเมืองแนวความคิดเรื่องระบบ Check and Balance ซึ่งมีการตรวจสอบอำนาจกันและกัน และมีสิทธิวีโต้ที่ต่อมาได้นำมาใช้ในงานของมองเตสกอเออและรัฐธรรมนูญอเมริกัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nคำสอนของโพลีบิอุส ทำให้ชนชั้นปกครองถือว่าจะต้องรักษาความสมดุลย์ในการปกครอง ทำให้เกิดความเจริญด้วยการสร้างศิลปะและอักษรศาตร์ มีใจกว้าง มีเจตน์จำนงที่ดีและสุภาพ ลักษณะเช่นนี้โรมันเรียกว่า humanitas (แต่ระบบนี้ก็ทำให้เกิดจักรวรรดินิยม เช่นโรมันอ้างว่าเป็นภระของตนที่จะต้องปกครองรัฐอื่น ทำนองเดียวกับที่คนผิวขขาวอ้างภาระในการทำให้คนผิวอื่นเป็นอารยชน) \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"50\" width=\"600\" src=\"/files/u40977/1020.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n    <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/0016.jpg\" border=\"0\" />   <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/14774.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/02365.jpg\" border=\"0\" />   <img height=\"150\" width=\"300\" src=\"/files/u40977/5878_0.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>', created = 1715614958, expire = 1715701358, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9c1bb7a3143c1ef4e99efeff85ebf52d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ปัญญาความคิด

ความเชื่อในเทพเจ้า
ชาวโรมันมีความเชื่อในเทพเจ้าซึ่งส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลจากความเชื่อในเทพเจ้าของกรีก จะพบว่าเทพเจ้าของรัมนมาจากการรับเอาเทพเจ้าของกรีกมานับถือโดยแปลงชื่อใหม่ เช่น Zeus เทพบิดรของกรีกได้รับการขนานนามใหม่ว่า Jupiter หรือแปลี่ยนชื่อเทพีแห่งความรักของกรีกจาก Aphrodite เป็น Venus เป็นต้น

การประกอบพิธีทางศาสนาเป็นหน้าที่ของพระซึ่งเป็นประมุขของพระได้แก่ กงสุลในสมัยสาธารณรัฐและสมัยจักรพรรดิในสมัยจักรวรรดิ ประมุขของพระยังทำหน้าที่เป็นผ็สร้างปฏิทินและกำหนดพิธีฉลองต่างๆด้วย

คริสต์ศาสนา

คริสต์ศาสนาได้เข้ามาเผยเพร่ในปลายจักรวรรดิโรมัน ในชนชั้นแรกผู้ที่นับถือศาสนานี้เป็นพวกคนยากจน ทั้งนี้เนื่องจากความเป็นมา และคำสอนของศาสนามีลักษณะที่ดึงดูดใจโดยเฉพาะชีวประวัติของพระเยซู ความเชื่อในมหิทธานุภาพของพระเจ้า และคำสอนที่ว่าพระเจ้าทรงรักมนุษย์ อย่างไรก็ตามผู้ปกครองโรมันต่อต้านศาสนาคริสต์โดยตลอดเพราะคำสอนบางประการปฏิเสธอำนาจของรัฐ

ผู้นำคริสต์ศาสนาได้รับเอารูปแบบของการบริหารและกฏหมายของโรมันมาจัดองค์กรจนคริสต์จักรมีความมั่งคั่งมากขึ้น ในสมัยจักรพรรดิคอนสแตนตินทางเปลี่ยนนโยบายมาสนับสนุนศาสนาคริสต์และทรงเปลี่ยนมานับถือศาสนาคริสต์ เมื่อ สิ้นศตวรรษที่ 4 ชาวโรมันส่วนใหญ่ต่างก็เข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน

ความคิดทางปรัชญา
ความคิดทางปรัชญาได้รับทางจากกรีกโดยตรง คือรับความคิดทั้งพวกเอปิคิวเรียน ซินิคและสโตอิค   ความคิดเหล่านี้ทำให้โรมันปกครองชนต่างชาติอย่างใจกว้างดังได้กล่าวมาแล้ว   และความคิดเหล่านี้มีอิทธิพลโดนตรงต่อนักกฏหมายโรมันโดยเฉพาะกลุ่มสโตอิค ดังจะกล่าวต่อไป


ก. กลุ่ม Scipionic circle กับความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์

ตอยปลายศตวรรษที่ 2 ก่อนคริสต์ศักราช Panaetius Polybius มีความสัมพันธ์กับอภิชนโรมันคือ สกิปิโอ (Scipio 185-129 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ทำให้เกิดกลุ่มนักคิดที่เรียกว่ากลุ่ม Scipionic ขึ้นกลุ่มนี้เสนอแนวความคิดเรื่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์และความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเชื้อชาติต่างๆ ความเท่าเทียมกันของคนทำให้เกิดความยุติธรรมในรัฐ เน้นความเท่าเทียมกันของชาย หญิง ยอมรับสิทธิของภรรยาและลูกๆ ความเมตตา ความรัก ความบริสุทธิ์ในครอบครัว ขันติธรรม และให้ทานแก่เพื่อนมนุษย์ทุกชั้น

โพลีบิอุส ยอมรับว่าโลกของโรมันปกครองเป็นโลกรัฐ (World state) เพราะมีการปรับจนสมดุลย์คือกงสุลทำหน้าที่แบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และสภาเซเนททำหน้าที่แบบอภิชนาธิปไตย ส่วนสภาประชาชนก็ทำหน้าที่แบบประชาธิปไตย ทั้ง 3 ส่วนนี้ตรวจสอบซึ่งกันและกัน อันเป็นวิธีป้องกันความเสื่มเสียที่จะเกิดขึ้นตามธรรมชาติคือ สมบูรณาญาสิทธิราชย์เมื่อเสื่อมก็กลายเป็นทรราชย์ และอภิชนาธิปไตยเมื่อเสื่อมก็จะกลายเป็นคคณาธิปไตย โพลีบิอุสถือเป็นกฏประวัติศาสตร์ว่ารัฐแบบไม่ผสมจะต้องเสื่อมลง

ความสมดุลของรัฐ มิใช่ความสมดุลขอลชนชั้น แต่เป็นความสมดุลทางด้านอำนาจทางการเมืองแนวความคิดเรื่องระบบ Check and Balance ซึ่งมีการตรวจสอบอำนาจกันและกัน และมีสิทธิวีโต้ที่ต่อมาได้นำมาใช้ในงานของมองเตสกอเออและรัฐธรรมนูญอเมริกัน

คำสอนของโพลีบิอุส ทำให้ชนชั้นปกครองถือว่าจะต้องรักษาความสมดุลย์ในการปกครอง ทำให้เกิดความเจริญด้วยการสร้างศิลปะและอักษรศาตร์ มีใจกว้าง มีเจตน์จำนงที่ดีและสุภาพ ลักษณะเช่นนี้โรมันเรียกว่า humanitas (แต่ระบบนี้ก็ทำให้เกิดจักรวรรดินิยม เช่นโรมันอ้างว่าเป็นภระของตนที่จะต้องปกครองรัฐอื่น ทำนองเดียวกับที่คนผิวขขาวอ้างภาระในการทำให้คนผิวอื่นเป็นอารยชน) 

      

  

 

สร้างโดย: 
นางสาว ปวีณา วิริยะมั่นพงศ์ และครูที่ปรึกษา คุณครูพีรทิพย์ สุคันธเมศวร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 259 คน กำลังออนไลน์