• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:88cc0932d866002914eaaa161f271563' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span style=\"background-color: #ffff00; color: #993300\">โลหิตจาง</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"120\" width=\"140\" src=\"http://www.bangkokhealth.com/cimages/anemia_02.jpg\" border=\"0\" />  <img height=\"120\" width=\"140\" src=\"http://www.bangkokhealth.com/cimages/anemia_03.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000; font-size: x-small\"><u>สาเหตุ</u></span></strong></li>\n</ul>\n<ol>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\"><strong>เกิดจากการเสียเลือด</strong></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เช่น เสียเลือดจากระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากเป็น</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: x-small\">แผลในกระเพาะอาหาร</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">สังเกตได้จาก</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: x-small\">อุจจาระที่เป็นสีดำ</span> <span style=\"font-family: Tahoma; font-size: x-small\">และเหนียวคล้ายยางมะตอย</span></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">ผู้ที่มีพยาธิปากขออยู่ในลำไส้ หรือสตรีที่เสียเลือดมากผิดปกติจากการมีประจำเดือน</span></li>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">โลหิตจางจากโรคทางพันธุกรรม</span></strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">ในบ้านเรามีหลายชนิด แต่ที่พบบ่อย คือ</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: x-small\">โรคธาลัสซีเมียเกิดจากเม็ดเลือดแดงแตกง่ายผิดปกติ</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">ซึ่งโรคนี้สามารถติดต่อได้ทางพันธุกรรม</span></li>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">โลหิตจางจากภาวะการขาดอาหาร</span></strong> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">ส่วนมากจะพบในคนไข้ที่รับประทานอาหารไม่ได้ หรือรับประทานได้ แต่ไม่ครบทุกประเภท</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: x-small\">มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ หรือผู้ที่รับประทานอาหารไม่ครบหมู่</span></li>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">โลหิตจางจากการที่ร่างกายสร้างสารมาทำลายเม็ดเลือดของตัวเอง</span></strong> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">อาทิ</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: x-small\">โรคเอสแอลอี </span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">โลหิตจางจากปัญหาของมะเร็งเม็ดเลือด</span></li>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">โลหิตจางที่เป็นผลจากโรคอื่น</span></strong> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เช่น</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; font-size: x-small\">โรคตับ โรคไต</span></li>\n</ol>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #800000; font-size: x-small\"></span></strong>\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #800000; font-size: x-small\"><u>อาการ</u></span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">ผู้ที่โลหิตจางไม่มาก</span></strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">หรือไม่มีโรคหลอดเลือดร่วมด้วยอาจไม่มีอาการก็ได้ <br />\nอาการจะมีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความ รุนแรงของโลหิตจางและความเฉียบพลันของการเกิดโรค</span>\n</p>\n<ol>\n<li><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #800000; font-size: x-small\"></span></strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการเหนื่อยง่าย</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เหนื่อยง่ายหมายถึงรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง เช่น เคยเดินบันไดได้โดยไม่เหนื่อยแต่กลับเหนื่อย ถ้ามีโลหิตจางรุนแรง แค่เดินในบ้านก็อาจเหนื่อยแล้ว เวลาเหนื่อยอาจมีอาการใจสั่นร่วมด้วย ที่รุนแรงอาการมีอาการของโรคหัวใจวาย คือ เหนื่อย แน่นหน้าอก หอบ เป็นต้น</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการอ่อนเพลีย</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เวียนศีรษะ</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการเป็นลม</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">หน้ามืด วิงเวียน</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการทางสมอง</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เช่น รู้สึกสมองล้า หลงลืมง่าย ขาดสมาธิในการทำงาน<br />\n เรียนหนังสือไม่ดีเท่าที่ควร นอนไม่หลับ</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการหัวใจขาดเลือด</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">มักพบในคนที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โลหิตจาง ทำให้อาการของหัวใจรุนแรงขึ้น เจ็บหน้าอกง่ายขึ้น</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการขาขาดเลือด</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">พบในคนที่มีโรคหลอดเลือดของขาทำให้ปวดขา เวลาเดินได้ไม่ไกล ต้องหยุดพักบ่อยๆ เวลาเดิน</span></li>\n<li><span style=\"font-family: Tahoma; color: #008000; font-size: x-small\">อาการทางระบบทางเดินอาหาร</span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด</span></li>\n</ol>\n<p>\n<span style=\"color: #333333; font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000; font-size: x-small\"><u>การรักษา</u></span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\"><strong>หลักการสำคัญในการรักษาโลหิตจาง</strong></span> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">คือ รักษาที่สาเหตุของโลหิตจาง แนวทางการรักษาประกอบด้วยการรักษาทั่วไป เป็นการบำบัดอาการของโลหิตจาง ระหว่างที่ทำการรักษาโรคสาเหตุของโลหิตจาง เช่น รักษาภาวะหัวใจวาย ลดการออกแรง ให้ออกซิเจน ให้เลือดทดแทน มักให้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาหลอดเลือด ผู้ป่วยอายุมากหรือเสียเลือดมากเฉียบพลันผู้ป่วยเลือดจางเรื้อรังมักไม่จำเป็นต้องให้เลือด แม้ว่าความเข้มข้นของเลือดจะต่ำมากๆ ก็ตาม</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #006699; font-size: x-small\">ส่วนการรักษาจำเพาะเป็นการรักษาไปที่สาเหตุ</span></strong> <span style=\"font-family: Tahoma; color: #333333; font-size: x-small\">กำจัดสาเหตุและให้การรักษาโรคสาเหตุนั้นๆ เช่น ถ้าพบว่าเลือดจางเพราะพยาธิปากขอ ก็ให้ยากำจัดพยาธิและให้ยาที่มีธาตุเหล็กควบคู่กันไป เมื่อระดับความเข้มข้นของเลือดกลับสู่ระดับปกติแล้ว ควรให้ยาเสริมธาตุเหล็กต่อไปอีก 3 เดือนจึงจะเพียงพอ</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99\"><a href=\"/node/92944\">&gt;&gt; กลับสู่หน้าหลัก &lt;&lt;</a></span></strong>\n</p>\n', created = 1715787367, expire = 1715873767, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:88cc0932d866002914eaaa161f271563' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลหิตจาง

โลหิตจาง

 

  • สาเหตุ
  1. เกิดจากการเสียเลือด เช่น เสียเลือดจากระบบทางเดินอาหาร เนื่องจากเป็นแผลในกระเพาะอาหาร สังเกตได้จากอุจจาระที่เป็นสีดำ และเหนียวคล้ายยางมะตอย ผู้ที่มีพยาธิปากขออยู่ในลำไส้ หรือสตรีที่เสียเลือดมากผิดปกติจากการมีประจำเดือน
  2. โลหิตจางจากโรคทางพันธุกรรมในบ้านเรามีหลายชนิด แต่ที่พบบ่อย คือ โรคธาลัสซีเมียเกิดจากเม็ดเลือดแดงแตกง่ายผิดปกติ ซึ่งโรคนี้สามารถติดต่อได้ทางพันธุกรรม
  3. โลหิตจางจากภาวะการขาดอาหาร ส่วนมากจะพบในคนไข้ที่รับประทานอาหารไม่ได้ หรือรับประทานได้ แต่ไม่ครบทุกประเภท มักพบบ่อยในผู้สูงอายุ ผู้ที่รับประทานมังสวิรัติ หรือผู้ที่รับประทานอาหารไม่ครบหมู่
  4. โลหิตจางจากการที่ร่างกายสร้างสารมาทำลายเม็ดเลือดของตัวเอง อาทิโรคเอสแอลอี โลหิตจางจากปัญหาของมะเร็งเม็ดเลือด
  5. โลหิตจางที่เป็นผลจากโรคอื่น เช่น โรคตับ โรคไต

  • อาการ

ผู้ที่โลหิตจางไม่มากหรือไม่มีโรคหลอดเลือดร่วมด้วยอาจไม่มีอาการก็ได้
อาการจะมีหรือไม่ขึ้นอยู่กับความ รุนแรงของโลหิตจางและความเฉียบพลันของการเกิดโรค

  1. อาการเหนื่อยง่าย เหนื่อยง่ายหมายถึงรู้สึกเหนื่อยผิดปกติเวลาที่ต้องออกแรง เช่น เคยเดินบันไดได้โดยไม่เหนื่อยแต่กลับเหนื่อย ถ้ามีโลหิตจางรุนแรง แค่เดินในบ้านก็อาจเหนื่อยแล้ว เวลาเหนื่อยอาจมีอาการใจสั่นร่วมด้วย ที่รุนแรงอาการมีอาการของโรคหัวใจวาย คือ เหนื่อย แน่นหน้าอก หอบ เป็นต้น
  2. อาการอ่อนเพลีย เวียนศีรษะ
  3. อาการเป็นลม หน้ามืด วิงเวียน
  4. อาการทางสมอง เช่น รู้สึกสมองล้า หลงลืมง่าย ขาดสมาธิในการทำงาน
    เรียนหนังสือไม่ดีเท่าที่ควร นอนไม่หลับ
  5. อาการหัวใจขาดเลือด มักพบในคนที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โลหิตจาง ทำให้อาการของหัวใจรุนแรงขึ้น เจ็บหน้าอกง่ายขึ้น
  6. อาการขาขาดเลือด พบในคนที่มีโรคหลอดเลือดของขาทำให้ปวดขา เวลาเดินได้ไม่ไกล ต้องหยุดพักบ่อยๆ เวลาเดิน
  7. อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น เบื่ออาหาร ท้องอืด

  • การรักษา

หลักการสำคัญในการรักษาโลหิตจาง คือ รักษาที่สาเหตุของโลหิตจาง แนวทางการรักษาประกอบด้วยการรักษาทั่วไป เป็นการบำบัดอาการของโลหิตจาง ระหว่างที่ทำการรักษาโรคสาเหตุของโลหิตจาง เช่น รักษาภาวะหัวใจวาย ลดการออกแรง ให้ออกซิเจน ให้เลือดทดแทน มักให้ในกรณีที่ผู้ป่วยมีปัญหาหลอดเลือด ผู้ป่วยอายุมากหรือเสียเลือดมากเฉียบพลันผู้ป่วยเลือดจางเรื้อรังมักไม่จำเป็นต้องให้เลือด แม้ว่าความเข้มข้นของเลือดจะต่ำมากๆ ก็ตาม

ส่วนการรักษาจำเพาะเป็นการรักษาไปที่สาเหตุ กำจัดสาเหตุและให้การรักษาโรคสาเหตุนั้นๆ เช่น ถ้าพบว่าเลือดจางเพราะพยาธิปากขอ ก็ให้ยากำจัดพยาธิและให้ยาที่มีธาตุเหล็กควบคู่กันไป เมื่อระดับความเข้มข้นของเลือดกลับสู่ระดับปกติแล้ว ควรให้ยาเสริมธาตุเหล็กต่อไปอีก 3 เดือนจึงจะเพียงพอ

>> กลับสู่หน้าหลัก <<

สร้างโดย: 
นางสาวอนัญญา อัศวรุจานนท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 325 คน กำลังออนไลน์