• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a20682b299944b13d06cf9a550cfebdd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span style=\"background-color: #ffff00; color: #993300\">โรคกรดไหลย้อน (โรคเกิร์ด)</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"450\" width=\"379\" src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/420/15420/images/health/081015GERD1.jpg\" alt=\"ภาพจาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=335569\" border=\"0\" style=\"width: 185px; height: 227px\" />\n</p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000\"><u>สาเหตุ</u></span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">เกี่ยวข้องกับ</span><span style=\"color: #008000\">ความผิดปกติของการทำหน้าที่ของกล้ามเนื้อหูรูดบริเวณส่วนล่างของหลอดอาหาร</span><span style=\"color: #333333\"> ในคนปกติหูรูดนี้จะคลายตัวขณะกลืนอาหาร เพื่อเปิดทางให้อาหารไหลผ่านลงไปในกระเพาะ เมื่ออาหารผ่านลงกระเพาะจนหมดแล้ว หูรูดนี้จะหดรัดตัวเพื่อปิดกั้นไม่ให้น้ำย่อยไหลย้อนขึ้นไปที่หลอดอาหาร</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">แต่ในผู้ที่เป็นโรคกรดไหลย้อน จะพบว่ากล้ามเนื้อหูรูดจะหย่อนสมรรถภาพ ทำให้มีน้ำย่อยไหลย้อนขึ้นไปที่หลอดอาหารมากกว่าปกติ ทำให้เกิดอาการผิดปกติ และการอักเสบของเยื่อบุหลอดอาหารได้</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">ส่วนสาเหตุที่ทำให้หูรูดดังกล่าวทำงานผิดปกตินั้นยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าอาจเกิดจากความเสื่อมตามอายุ (มักพบในรายที่มีอายุมากกว่า 40 ปี) หรือหูรูดยังเจริญไม่เต็มที่ (พบในทารก) หรือมีความผิดปกติมาแต่กำเนิด</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333\"></span></p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000\"><u>อาการ</u></span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">ผู้ป่วยจะมีอาการ</span><span style=\"color: #008000\">ปวดแสบตรงลิ้นปี่ หรือยอดอกหลังกินอาหาร 30-60 นาที หรือหลังกินอาหารแล้วล้มตัวนอนราบ นั่งงอตัว โค้งตัวลงต่ำ หรือใส่กางเกวเอวคับ มักมีอาการมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์ และจะมีอาการเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง </span><span style=\"color: #333333\">บางรายอาจมีอาการปวดแสบร้าวจากยอดอกไปถึงคอหอย (คล้ายอาการของโรคกล้ามเนื้อหัวใจวาย) หรือมีอาการจุกแน่นยอดอก (คล้ายอาหารไม่ย่อย) อาจมีอาการคลื่นไส้ เรอบ่อย มีก้อนจุกที่คอหอย บางรายอาจมีอาการขย้อน หรือเรอเปรี้ยวขึ้นไปที่คอหอย หรือรู้สึกมีรสขมของน้ำดีหรือรสเปรี้ยวของกรดในปากหรือคอ หรือหายใจมีกลิ่น</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">ในบางรายอาจไม่มีอาการแสบท้อง หรือเรอเปรี้ยว แต่มีอาการไอแห้ง โดยเฉพาะหลังกินอาหาร หรือนอนอยู่ในท่าราบ หรืออาจรู้สึกขมคอ เปรี้ยวปาก เสียงแหบ เจ็บคอ แสบลิ้นตอนตื่นนอน เนื่องจากมีการไหลย้อนของน้ำย่อยไประคายที่คอหอย กล่องเสียง และหลอดล<span lang=\"th\">ม</span>ตอนกลางคืน</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333\"></span></p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000\"><u>การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคกรดไหลย้อน</u></span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">- กินยาให้ครบ และต่อเนื่องตามคำแนะนำของแพทย์<br />\n- ถ้าน้ำหนักเกิน หรืออ้วน ควรลดน้ำหนัก<br />\n- ให้สังเกตว่าสิ่งใดทำให้อาการกำเริบ แล้วพยายามหลีกเลี่ยง เช่น อาหารมัน ของทอด อาหารเผ็ดจัด <br />\n  เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน ผลไม้และน้ำผลไม้เปรี้ยว ช็อคโกแลต ยาบางชนิด เป็นต้น<br />\n- หลีกเลี่ยงการกินอาหารปริมาณมาก และหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำมากๆ ระหว่างกินอาหาร <br />\n  ควรกินอาหารมื้อเย็นในปริมาณน้อย และทิ้งช่วงห่างจากเวลาเข้านอนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง<br />\n- หลังกินอาหารควรปลดเข็มขัด และตะขอกางเกงให้หลวม ไม่ควรนอนราบ หรือนั่งงอตัวโค้งตัวลงต่ำ ควรนั่งตัวตรง <br />\n  หรือให้รู้สึกสบายท้อง หลีกเลี่ยงการยกของหนัก และการออกกำลังกายหลังทานอาหารใหม่ๆ<br />\n- หมั่นออกกำลังกาย และผ่อนคลายความเครียด เพราะความเครียดมีผลทำให้หลั่งกรดมากขึ้น และอาจทำให้อาการกำเริบขึ้นได้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #ffff99\"><a href=\"/node/92944\">&gt;&gt; กลับสู่หน้าหลัก &lt;&lt;</a></span></strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715641276, expire = 1715727676, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a20682b299944b13d06cf9a550cfebdd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคกรดไหลย้อน (โรคเกิร์ด)

โรคกรดไหลย้อน (โรคเกิร์ด)

ภาพจาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=335569

  • สาเหตุ

เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของการทำหน้าที่ของกล้ามเนื้อหูรูดบริเวณส่วนล่างของหลอดอาหาร ในคนปกติหูรูดนี้จะคลายตัวขณะกลืนอาหาร เพื่อเปิดทางให้อาหารไหลผ่านลงไปในกระเพาะ เมื่ออาหารผ่านลงกระเพาะจนหมดแล้ว หูรูดนี้จะหดรัดตัวเพื่อปิดกั้นไม่ให้น้ำย่อยไหลย้อนขึ้นไปที่หลอดอาหาร

แต่ในผู้ที่เป็นโรคกรดไหลย้อน จะพบว่ากล้ามเนื้อหูรูดจะหย่อนสมรรถภาพ ทำให้มีน้ำย่อยไหลย้อนขึ้นไปที่หลอดอาหารมากกว่าปกติ ทำให้เกิดอาการผิดปกติ และการอักเสบของเยื่อบุหลอดอาหารได้

ส่วนสาเหตุที่ทำให้หูรูดดังกล่าวทำงานผิดปกตินั้นยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าอาจเกิดจากความเสื่อมตามอายุ (มักพบในรายที่มีอายุมากกว่า 40 ปี) หรือหูรูดยังเจริญไม่เต็มที่ (พบในทารก) หรือมีความผิดปกติมาแต่กำเนิด

  • อาการ

ผู้ป่วยจะมีอาการปวดแสบตรงลิ้นปี่ หรือยอดอกหลังกินอาหาร 30-60 นาที หรือหลังกินอาหารแล้วล้มตัวนอนราบ นั่งงอตัว โค้งตัวลงต่ำ หรือใส่กางเกวเอวคับ มักมีอาการมากกว่า 2 ครั้งต่อสัปดาห์ และจะมีอาการเป็นๆ หายๆ เรื้อรัง บางรายอาจมีอาการปวดแสบร้าวจากยอดอกไปถึงคอหอย (คล้ายอาการของโรคกล้ามเนื้อหัวใจวาย) หรือมีอาการจุกแน่นยอดอก (คล้ายอาหารไม่ย่อย) อาจมีอาการคลื่นไส้ เรอบ่อย มีก้อนจุกที่คอหอย บางรายอาจมีอาการขย้อน หรือเรอเปรี้ยวขึ้นไปที่คอหอย หรือรู้สึกมีรสขมของน้ำดีหรือรสเปรี้ยวของกรดในปากหรือคอ หรือหายใจมีกลิ่น

ในบางรายอาจไม่มีอาการแสบท้อง หรือเรอเปรี้ยว แต่มีอาการไอแห้ง โดยเฉพาะหลังกินอาหาร หรือนอนอยู่ในท่าราบ หรืออาจรู้สึกขมคอ เปรี้ยวปาก เสียงแหบ เจ็บคอ แสบลิ้นตอนตื่นนอน เนื่องจากมีการไหลย้อนของน้ำย่อยไประคายที่คอหอย กล่องเสียง และหลอดลตอนกลางคืน

  • การปฏิบัติตัวเมื่อเป็นโรคกรดไหลย้อน

- กินยาให้ครบ และต่อเนื่องตามคำแนะนำของแพทย์
- ถ้าน้ำหนักเกิน หรืออ้วน ควรลดน้ำหนัก
- ให้สังเกตว่าสิ่งใดทำให้อาการกำเริบ แล้วพยายามหลีกเลี่ยง เช่น อาหารมัน ของทอด อาหารเผ็ดจัด
  เครื่องดื่มผสมคาเฟอีน ผลไม้และน้ำผลไม้เปรี้ยว ช็อคโกแลต ยาบางชนิด เป็นต้น
- หลีกเลี่ยงการกินอาหารปริมาณมาก และหลีกเลี่ยงการดื่มน้ำมากๆ ระหว่างกินอาหาร
  ควรกินอาหารมื้อเย็นในปริมาณน้อย และทิ้งช่วงห่างจากเวลาเข้านอนอย่างน้อย 3 ชั่วโมง
- หลังกินอาหารควรปลดเข็มขัด และตะขอกางเกงให้หลวม ไม่ควรนอนราบ หรือนั่งงอตัวโค้งตัวลงต่ำ ควรนั่งตัวตรง
  หรือให้รู้สึกสบายท้อง หลีกเลี่ยงการยกของหนัก และการออกกำลังกายหลังทานอาหารใหม่ๆ
- หมั่นออกกำลังกาย และผ่อนคลายความเครียด เพราะความเครียดมีผลทำให้หลั่งกรดมากขึ้น และอาจทำให้อาการกำเริบขึ้นได้

>> กลับสู่หน้าหลัก <<

สร้างโดย: 
นางสาวอนัญญา อัศวรุจานนท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 447 คน กำลังออนไลน์