• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:062d8caab2da0f8d259855fe6afaa26c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\"><span style=\"background-color: #ffff00; color: #993300\">โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย</span></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\"><img height=\"312\" width=\"550\" src=\"http://home.biotec.or.th/NewsCenter/my_documents/my_pictures/5EC46_thalassemia-patient.jpg\" alt=\"ภาพจาก http://bbs.asiasoft.co.th/showthread.php?t=314579&amp;page=1\" border=\"0\" style=\"width: 294px; height: 196px\" /></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #993300\"></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"color: #800000\"></span></strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #800000\">ลักษณะของผู้ที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">ผู้ป่วยจะมีลักษณะซีด โลหิตจาง โหนกแก้มสูง หน้าผากกว้าง ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังดำคล้ำ เพราะมีธาตุเหล็กมากในร่างกาย ทั้งโตเพราะตับและม้ามโต ตัวเล็กผิดปกติ อาจไม่มีความเจริญเติบโตทางเพศ หรืออาจมีแผลเรื้อรังที่ขา</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333\"></span></p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000\">ผู้ที่มีโอกาสเป็นพาหะหรือมียีนธาลัสซีเมียแฝงของโรคธาลัสซีเมีย</span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">- ผู้ที่มีญาติพี่น้องเป็นโรคนี้จะมีโอกาสที่จะเป็นพาหะ หรือมียีนแฝงสูง<br />\n</span><span style=\"color: #333333\">- ผู้ที่มีลูกเป็นโรคนี้ แสดงว่าทั้งพ่อและแม่เป็นพาหะ หรือมียีนแฝง<br />\n</span><span style=\"color: #333333\">- ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคธาลัสซีเมีย<br />\n</span><span style=\"color: #333333\">- ถ้าผู้ป่วยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียและแต่งงานกับคนปกติที่ไม่มียีนแฝง ลูกทุกคนจะมียีนแฝง</span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #333333\"></span></p>\n<ul>\n<li><strong><span style=\"color: #800000\">การรักษา</span></strong></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">เนื่องจากความรุนแรงของอาการที่ความแตกต่างกันมาก การรักษาจึงขึ้นอยู่กับชนิดและความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #006699\">การดูแลสุขภาพทั่วไป</span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #333333\">           - การปฏิบัติตัว ออกกำลังกายเท่าที่จะทำได้ ไม่เหนื่อยเกินไป ไม่ผาดโผน ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์<br />\n           </span><span style=\"color: #333333\">- อาหาร ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง และอาหารที่มีวิตามินโฟเลทสูง เช่น ผักต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี<br />\n             ธาตุเหล็กสูงมาก เช่น เลือดสัตว์ต่างๆ ควรดื่มน้ำชา น้ำเต้าหู้ เพราะจะช่วยลดการดูดซึมธาตุเหล็กจากอาหาร<br />\n           </span><span style=\"color: #333333\">- ไม่ควรซื้อยา และวิตามินซีมารับประทานเอง<br />\n           </span><span style=\"color: #333333\">- ตรวจฟันทุกๆ 6 เดือน เพราะฟันผุง่าย<br />\n           </span><span style=\"color: #333333\">- ถ้ามีอาการปวดท้องที่ชายโครงขวารุนแรง มีไข้และตัวเหลืองมากขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์</span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #006699\">2. การให้เลือด </span></strong><span style=\"color: #333333\">จะให้เมื่อผู้ป่วยซีดมากและมีอาการของการขาดเลือด<br />\n</span><strong><span style=\"color: #006699\">3. การให้ยาขับธาตุเหล็ก</span></strong><span style=\"color: #333333\"> เนื่องจากผู้ป่วยที่อาการรุนแรงซีดมาก ต้องให้เลือดบ่อยมาก จะมีภาวะเหล็กเกิน<br />\n</span><strong><span style=\"color: #006699\">4. การตัดม้าม</span></strong><span style=\"color: #333333\"> ม้ามมีหน้าที่ทำลายเม็ดเลือดแก่ๆ เม็ดเลือดแดงผิดปกติ ม้ามต้องทำหน้าที่หนัก ทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น <br />\n    ส่งผลให้ท้องป่องอึดอัด และกลับ เพิ่มการทำลายเม็ดเลือดมากขึ้น เมื่อต้องรับเลือดบ่อยๆ ม้ามจะโตมากจนมีอาการ<br />\n    อึดอัดแน่นท้อง กินอาหารได้น้อย<br />\n</span><strong><span style=\"color: #006699\">5. การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดของเม็ดเลือด</span></strong><span style=\"color: #333333\"> การดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคธาลัสซีเมียนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย การตรวจเลือดคู่<br />\n    สมรสก่อนมีบุตรจึงเป็นทางเลือกที่ดีเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #333333\"><strong><span style=\"background-color: #ffff99\"><a href=\"/node/92944\">&gt;&gt; กลับสู่หน้าหลัก &lt;&lt;</a></span></strong></span>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1715722090, expire = 1715808490, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:062d8caab2da0f8d259855fe6afaa26c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย

โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย

ภาพจาก http://bbs.asiasoft.co.th/showthread.php?t=314579&page=1

ลักษณะของผู้ที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย

ผู้ป่วยจะมีลักษณะซีด โลหิตจาง โหนกแก้มสูง หน้าผากกว้าง ตาเหลือง ดั้งจมูกแฟบ ผิวหนังดำคล้ำ เพราะมีธาตุเหล็กมากในร่างกาย ทั้งโตเพราะตับและม้ามโต ตัวเล็กผิดปกติ อาจไม่มีความเจริญเติบโตทางเพศ หรืออาจมีแผลเรื้อรังที่ขา

  • ผู้ที่มีโอกาสเป็นพาหะหรือมียีนธาลัสซีเมียแฝงของโรคธาลัสซีเมีย

- ผู้ที่มีญาติพี่น้องเป็นโรคนี้จะมีโอกาสที่จะเป็นพาหะ หรือมียีนแฝงสูง
- ผู้ที่มีลูกเป็นโรคนี้ แสดงว่าทั้งพ่อและแม่เป็นพาหะ หรือมียีนแฝง
- ผู้ที่มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคธาลัสซีเมีย
- ถ้าผู้ป่วยที่เป็นโรคธาลัสซีเมียและแต่งงานกับคนปกติที่ไม่มียีนแฝง ลูกทุกคนจะมียีนแฝง

  • การรักษา

เนื่องจากความรุนแรงของอาการที่ความแตกต่างกันมาก การรักษาจึงขึ้นอยู่กับชนิดและความรุนแรงของโรคที่เกิดขึ้น

การดูแลสุขภาพทั่วไป

           - การปฏิบัติตัว ออกกำลังกายเท่าที่จะทำได้ ไม่เหนื่อยเกินไป ไม่ผาดโผน ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
           
- อาหาร ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง และอาหารที่มีวิตามินโฟเลทสูง เช่น ผักต่างๆ ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มี
             ธาตุเหล็กสูงมาก เช่น เลือดสัตว์ต่างๆ ควรดื่มน้ำชา น้ำเต้าหู้ เพราะจะช่วยลดการดูดซึมธาตุเหล็กจากอาหาร
          
- ไม่ควรซื้อยา และวิตามินซีมารับประทานเอง
          
- ตรวจฟันทุกๆ 6 เดือน เพราะฟันผุง่าย
          
- ถ้ามีอาการปวดท้องที่ชายโครงขวารุนแรง มีไข้และตัวเหลืองมากขึ้น ควรรีบไปพบแพทย์

2. การให้เลือด จะให้เมื่อผู้ป่วยซีดมากและมีอาการของการขาดเลือด
3. การให้ยาขับธาตุเหล็ก เนื่องจากผู้ป่วยที่อาการรุนแรงซีดมาก ต้องให้เลือดบ่อยมาก จะมีภาวะเหล็กเกิน
4. การตัดม้าม ม้ามมีหน้าที่ทำลายเม็ดเลือดแก่ๆ เม็ดเลือดแดงผิดปกติ ม้ามต้องทำหน้าที่หนัก ทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้น
    ส่งผลให้ท้องป่องอึดอัด และกลับ เพิ่มการทำลายเม็ดเลือดมากขึ้น เมื่อต้องรับเลือดบ่อยๆ ม้ามจะโตมากจนมีอาการ
    อึดอัดแน่นท้อง กินอาหารได้น้อย
5. การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดของเม็ดเลือด การดูแลรักษาผู้ที่เป็นโรคธาลัสซีเมียนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย การตรวจเลือดคู่
    สมรสก่อนมีบุตรจึงเป็นทางเลือกที่ดีเพื่อป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้

>> กลับสู่หน้าหลัก <<

สร้างโดย: 
นางสาวอนัญญา อัศวรุจานนท์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 445 คน กำลังออนไลน์