• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d84d3744c1635aeac7887b5b70d03800' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter-->\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"></span></span></span></span></span></span></span></p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\"><span>                     </span>กระบวนการหลักสองอย่างของระบบนิเวศคือ การไหลของพลังงานและการหมุนเวียนของสารเคมี การไหลของพลังงาน (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\">energy flow<span lang=\"TH\">) เป็นการส่งผ่านของพลังงานในองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนการหมุนเวียนสารเคมี (</span>chemical cycling)<span lang=\"TH\"> เป็นการใช้ประโยชน์และนำกลับมาใช้ใหม่ของแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ อาทิเช่น คาร์บอน และ ไนโตรเจน<span> </span></span></span> </span>\n</p>\n<p style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span>                    <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">พลังงานที่ส่งมาถึงระบบนิเวศทั้งหลายอยู่ในรูปของแสงอาทิตย์ พืชและผู้ผลิตอื่นๆจะทำการเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของอาหารที่ให้พลังงานเช่นแป้งหรือคาร์โบไฮเดรต พลังงานจะไหลต่อไปยังสัตว์โดยการกินพืช และผู้ผลิตอื่นๆ<span>  </span>ผู้ย่อยสลายสารที่สำคัญได้แก่ แบคทีเรียและฟังไจ (</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\">fungi<span lang=\"TH\">)ในดินโดยได้รับพลังงานจากการย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่ตายลงไป ในการใช้พลังงานเคมีเพื่อทำงาน สิ่งมีชีวิตจะปล่อยพลังงานความร้อนไปสู่บริเวณรอบๆตัว ดังนั้นพลังงานความร้อนนี้จึงไม่หวนกลับมาในระบบนิเวศได้อีก ในทางกลับกันการไหลของพลังงานผ่านระบบนิเวศ<span>  </span>สารเคมีต่างๆสามารถนำกลับมาใช้ได้อีกระหว่าง สังคมของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต<span>  </span>พืชและผู้ผลิตล้วนต้องการธาตุคาร์บอน<span>  </span>ไนโตรเจน และแร่ธาตุอื่นๆในรูปอนินทรียสารจากอากาศ และดิน</span></span></span></span></span> </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"><span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></span></span><o:p><span style=\"color: #339966\"><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\" lang=\"TH\">               การสังเคราะห์ด้วยแสง(</span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\">photosynthesis<span lang=\"TH\">)ได้รวมเอาธาตุเหล่านี้เข้าไว้ในสารประกอบอินทรีย์ อาทิเช่น คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน<span>  </span>สัตว์ต่างๆได้รับธาตุเหล่านี้โดยการกินสารอินทรีย์<span>  </span>เมแทบบอลิซึม (</span>metabolism<span lang=\"TH\">) ของทุกชีวิตเปลี่ยนสารเคมีบางส่วนกลับไปเป็นสารไม่มีชีวิตในสิ่งแวดล้อมในรูปของสารอนินทรีย์ การหายใจระดับเซลล์(</span>respiration<span lang=\"TH\">) เป็นการทำให้โมเลกุลของอินทรียสารแตกสลายออกเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ การหมุนเวียนของสารสำเร็จลงได้ด้วยจุลินทรีย์ที่ย่อยอินทรียสารที่ตายลงและของเสียเช่นอุจจาระ และเศษใบไม้<span>    </span>ผู้ย่อยสลายเหล่านี้จะกักเก็บเอาธาตุต่างๆไว้ในดิน ในน้ำ และในอากาศ ในรูปของ สารอนินทรีย์ ซึ่งพืชและผู้ผลิตสามารถนำมาสร้างเป็นสารอินทรีย์ได้อีกครั้ง หมุนเวียนกันไปเป็นวัฏจักร</span></span></span></o:p></span><span style=\"color: #339966\"> <span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\">                             </span></span></o:p></span></span><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><span lang=\"TH\"></span></span></o:p></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #339966\"><img width=\"463\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQAfZRV44wr_e4DaGdn8_RGEyj9OB74cpNgv1xEfK-LWQFyDQqrPA\" height=\"284\" id=\"imgb\" /> </span>\n</div>\n<p><span style=\"font-size: 16pt; color: #000000; font-family: \'Angsana New\'\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1715481377, expire = 1715567777, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d84d3744c1635aeac7887b5b70d03800' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบนิเวศ

                     กระบวนการหลักสองอย่างของระบบนิเวศคือ การไหลของพลังงานและการหมุนเวียนของสารเคมี การไหลของพลังงาน (energy flow) เป็นการส่งผ่านของพลังงานในองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนการหมุนเวียนสารเคมี (chemical cycling) เป็นการใช้ประโยชน์และนำกลับมาใช้ใหม่ของแร่ธาตุภายในระบบนิเวศ อาทิเช่น คาร์บอน และ ไนโตรเจน 

                    พลังงานที่ส่งมาถึงระบบนิเวศทั้งหลายอยู่ในรูปของแสงอาทิตย์ พืชและผู้ผลิตอื่นๆจะทำการเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีในรูปของอาหารที่ให้พลังงานเช่นแป้งหรือคาร์โบไฮเดรต พลังงานจะไหลต่อไปยังสัตว์โดยการกินพืช และผู้ผลิตอื่นๆ  ผู้ย่อยสลายสารที่สำคัญได้แก่ แบคทีเรียและฟังไจ (fungi)ในดินโดยได้รับพลังงานจากการย่อยสลายซากพืชและซากสัตว์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ที่ตายลงไป ในการใช้พลังงานเคมีเพื่อทำงาน สิ่งมีชีวิตจะปล่อยพลังงานความร้อนไปสู่บริเวณรอบๆตัว ดังนั้นพลังงานความร้อนนี้จึงไม่หวนกลับมาในระบบนิเวศได้อีก ในทางกลับกันการไหลของพลังงานผ่านระบบนิเวศ  สารเคมีต่างๆสามารถนำกลับมาใช้ได้อีกระหว่าง สังคมของสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไม่มีชีวิต  พืชและผู้ผลิตล้วนต้องการธาตุคาร์บอน  ไนโตรเจน และแร่ธาตุอื่นๆในรูปอนินทรียสารจากอากาศ และดิน

               การสังเคราะห์ด้วยแสง(photosynthesis)ได้รวมเอาธาตุเหล่านี้เข้าไว้ในสารประกอบอินทรีย์ อาทิเช่น คาร์โบไฮเดรต และโปรตีน  สัตว์ต่างๆได้รับธาตุเหล่านี้โดยการกินสารอินทรีย์  เมแทบบอลิซึม (metabolism) ของทุกชีวิตเปลี่ยนสารเคมีบางส่วนกลับไปเป็นสารไม่มีชีวิตในสิ่งแวดล้อมในรูปของสารอนินทรีย์ การหายใจระดับเซลล์(respiration) เป็นการทำให้โมเลกุลของอินทรียสารแตกสลายออกเป็นคาร์บอนไดออกไซด์ และน้ำ การหมุนเวียนของสารสำเร็จลงได้ด้วยจุลินทรีย์ที่ย่อยอินทรียสารที่ตายลงและของเสียเช่นอุจจาระ และเศษใบไม้    ผู้ย่อยสลายเหล่านี้จะกักเก็บเอาธาตุต่างๆไว้ในดิน ในน้ำ และในอากาศ ในรูปของ สารอนินทรีย์ ซึ่งพืชและผู้ผลิตสามารถนำมาสร้างเป็นสารอินทรีย์ได้อีกครั้ง หมุนเวียนกันไปเป็นวัฏจักร                             

สร้างโดย: 
nattaporn63

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 296 คน กำลังออนไลน์