พืช CAM 1

               การตรึง CO2  แบบนี้ เป็นกระบวนการที่พบได้ครั้งแรกในพืชตระกูลครัสซูลาซี(Crussulaceae) เช่น กระบองเพชร จึงเรียกว่าพืช ซีเอเอ็ม

(Crussulacean Acid Metabolism หรือ CAM)แต่ในปัจจุบันพบว่าสามารถพบได้ในพืชวงศ์ อื่นๆ เช่น กล้วยไม้  สับปะรด ว่านหางจระเข้ และ ศรนารายณ์

                                                                  

                            กระบองเพชร                                                                            ศรนารายณ์

http://www.pantown.com/group.php?id=7232&area=1                   http://www.hupkapong.com/hkp11.html

 

                             

                                  กล้วยไม้                                                                                สับปะรด

               พืชในกลุ่มนี้เจริญได้ดีในที่แห้งแล้ง เนื่องจากมีวิวัฒนาการที่จะลดการสูญเสียน้ำได้ โดยกลางวันปากใบปิด ทำให้  CO2 ไม่สามารถเข้าทาง

ปากใบได้ กลางคืนปากใบเปิด ทำให้  CO2เข้าทางปากใบได้

                                     

                                                        กลางวัน                                                                    กลางคืน

                                                                                                   

 

สร้างโดย: 
นางสาวสุกัญญาและครูรุ่งรัตน์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 861 คน กำลังออนไลน์