• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:85b600ba7d6f592d7fa9e8e2ba739080' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><strong><img height=\"40\" width=\"55\" src=\"/files/u50096/303.gif\" border=\"0\" />สามเหลี่ยมฤดูหนาว <br />\n</strong>     ในช่วงของหัวค่ำของฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างอยู่ทางทิศตะวันออก คือ กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ และกลุ่มดาวสุนัขเล็ก <br />\nหากลากเส้นเชื่อม ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) - ดาวสว่างสีแดงตรงหัวไหล่ของนายพรานไปยัง ดาวซิริอุส (Sirius) – ดาวฤกษ์สว่างที่สุดสีขาว <br />\nตรงหัวสุนัขใหญ่ และ ดาวโปรซีออน (Procyon) - ดาวสว่างสีขาวตรงหัวสุนัขเล็ก จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า เรียกว่า &quot;สามเหลี่ยมฤดูหนาว<br />\n&quot; (Summer Triangle) ซึ่งจะขึ้นในเวลาหัวค่ำของฤดูหนาว กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวที่เหมาะสมกับการเริ่มต้นหัดดูดาวมากที่สุด <br />\nเนื่องจากประกอบด้วยดาวสว่าง ที่มีรูปแบบการเรียงตัว (pattern) ที่โดดเด่นจำง่าย และขึ้นตอนหัวค่ำของฤดูหนาว ซึ่งมักมีสภาพอากาศดี <br />\nท้องฟ้าใส ไม่มีเมฆปกคลุม<br />\n                                        <img height=\"275\" width=\"330\" src=\"/files/u50096/064.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 376px; height: 234px\" /><br />\n<strong>                                                                                                     สามเหลี่ยมฤดูหนาว <br />\n<img height=\"40\" width=\"55\" src=\"/files/u50096/303.gif\" border=\"0\" />สามเหลี่ยมฤดูร้อน <br />\n                                                <img height=\"254\" width=\"359\" src=\"/files/u50096/065.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 378px; height: 252px\" /><br />\n                                                                                          สามเหลี่ยมฤดูร้อน<br />\n</strong>           ในช่วงหัวค่ำของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาวหงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้น<br />\nเชื่อม ดาวเวก้า (Vega) ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง ดาวหางหงส์ (Deneb) ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ ดาวนกอินทรี (Altair) <br />\nดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่าเรียกว่า &quot;สามเหลี่ยมฤดูร้อน&quot; (Summer Triangle) ซึ่งอยู่ในทิศตรงข้ามกับ<br />\nสามเหลี่ยมฤดูหนาว ขณะที่สามเหลี่ยมฤดูร้อนกำลังจะตก สามเหลี่ยมฤดูหนาวก็กำลังจะขึ้น (สามเหลี่ยมฤดูหนาวขึ้นตอนหัวค่ำของฤดูหนาว<br />\nของยุโรปและอเมริกา ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย) ในคืนที่เป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มีแถบฝ้าสว่างคล้าย<br />\nเมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรี กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (ค้างคาว) แถบฝ้าสว่างที่เห็นนั้นแท้ที่จริงคือ <br />\nทางช้างเผือก (The Milky Way) <br />\n<span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #000000\"><o:p></o:p></span></p>\n', created = 1717335395, expire = 1717421795, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:85b600ba7d6f592d7fa9e8e2ba739080' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดาราศาสตร์

สามเหลี่ยมฤดูหนาว
     ในช่วงของหัวค่ำของฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างอยู่ทางทิศตะวันออก คือ กลุ่มดาวนายพราน กลุ่มดาวสุนัขใหญ่ และกลุ่มดาวสุนัขเล็ก
หากลากเส้นเชื่อม ดาวบีเทลจุส (Betelgeuse) - ดาวสว่างสีแดงตรงหัวไหล่ของนายพรานไปยัง ดาวซิริอุส (Sirius) – ดาวฤกษ์สว่างที่สุดสีขาว
ตรงหัวสุนัขใหญ่ และ ดาวโปรซีออน (Procyon) - ดาวสว่างสีขาวตรงหัวสุนัขเล็ก จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า เรียกว่า "สามเหลี่ยมฤดูหนาว
" (Summer Triangle) ซึ่งจะขึ้นในเวลาหัวค่ำของฤดูหนาว กลุ่มดาวนายพรานเป็นกลุ่มดาวที่เหมาะสมกับการเริ่มต้นหัดดูดาวมากที่สุด
เนื่องจากประกอบด้วยดาวสว่าง ที่มีรูปแบบการเรียงตัว (pattern) ที่โดดเด่นจำง่าย และขึ้นตอนหัวค่ำของฤดูหนาว ซึ่งมักมีสภาพอากาศดี
ท้องฟ้าใส ไม่มีเมฆปกคลุม
                                       
                                                                                                     สามเหลี่ยมฤดูหนาว
สามเหลี่ยมฤดูร้อน 
                                               
                                                                                          สามเหลี่ยมฤดูร้อน
           ในช่วงหัวค่ำของต้นฤดูหนาว จะมีกลุ่มดาวสว่างทางด้านทิศตะวันตก คือ กลุ่มดาวพิณ กลุ่มดาวหงส์ และกลุ่มดาวนกอินทรีย์ หากลากเส้น
เชื่อม ดาวเวก้า (Vega) ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวพิณไปยัง ดาวหางหงส์ (Deneb) ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวหงส์ และ ดาวนกอินทรี (Altair)
ดาวสว่างสีขาวในกลุ่มดาวนกอินทรีย์ จะได้รูปสามเหลี่ยมด้านไม่เท่าเรียกว่า "สามเหลี่ยมฤดูร้อน" (Summer Triangle) ซึ่งอยู่ในทิศตรงข้ามกับ
สามเหลี่ยมฤดูหนาว ขณะที่สามเหลี่ยมฤดูร้อนกำลังจะตก สามเหลี่ยมฤดูหนาวก็กำลังจะขึ้น (สามเหลี่ยมฤดูหนาวขึ้นตอนหัวค่ำของฤดูหนาว
ของยุโรปและอเมริกา ซึ่งเป็นช่วงฤดูฝนของประเทศไทย) ในคืนที่เป็นข้างแรมไร้แสงจันทร์รบกวน หากสังเกตให้ดีจะเห็นว่า มีแถบฝ้าสว่างคล้าย
เมฆขาว พาดข้ามท้องฟ้า ผ่านบริเวณกลุ่มดาวนกอินทรี กลุ่มดาวหงส์ ไปยังกลุ่มดาวแคสสิโอเปีย (ค้างคาว) แถบฝ้าสว่างที่เห็นนั้นแท้ที่จริงคือ
ทางช้างเผือก (The Milky Way)

สร้างโดย: 
ดรุณี เสมอภาค / พัชรี วิเศษชาติ

สุดยอด

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 1010 คน กำลังออนไลน์