• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a834ff147898dae9741c2045575ae777' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><u>เกณฑ์เฉพาะในการจำแนกสัตว์ มีด้วยกัน 8 ประการ</u><br />\n1. พิจารณาจากรูปแบบของสมมาตร</strong><br />\n1.1 Asymemetry ไม่สมมาตร คือไม่สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ เช่น อมีบา<br />\n1.2 Bilateral symmetry คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เท่า ๆ กันได้<br />\n1.3 Radial symmetry สมมาตรในแนวรัศมี คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนให้มีลักษณะเหมือนกันได้หลายแนว โดยตัดผ่านจุดศูนย์กลางตามแนวรัศมี เช่น ฟองน้ำบางชนิด แมงกะพรุน และดาวทะเล<br />\n1.4 Sperical หรือ Universal symmetry สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ทุกระนาบโดยผ่านจุดศูนย์กลางเช่นกัน ได้แก่ Volvox\n</p>\n<p>\n<strong>2. พิจารณาจากจำนวนชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer)<br />\n</strong>2.1 Diploblastica จะมีเนื้อเยื่อเพียงสองชั้นคือ เนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน(endoderm)<br />\n2.2 Triploblastica จะมีเนื้อเยื่อ สามชั้น คือ มีเนื้อเยื่อชั้นกลางเพิ่มเข้ามาคือ Mesoderm ได้แก่ สัตว์จำพวกหนอนตัวแบนขึ้นไป\n</p>\n<p>\n<strong>3. พิจารณาจากช่องว่างภายในลำตัว (coelom)<br />\n</strong>3.1 Acoelomate animal คือสัตว์ที่ไม่มีช่องว่างภายในลำตัวเช่น หนอนตัวแบน (Phylum Platyhelminthes)<br />\n3.2 Psudocoelomate animal (Psudocoelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างแบบเทียม จะมีช่องว่างที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกกับชั้นกลาง หรือเนื้อเยื่อชั้นกลางกับชั้นใน เช่น หนอนตัวกลม (Phylum Nemathehelminthes)<br />\n3.3 Eucoelomate animal (True coelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างภายในลำตัวแบบแท้ เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลางแยกตัวออกไปเป็นช่อง เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง เป็นต้น\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\n<strong>4. พิจารณาจากการแบ่งส่วนลำตัวเป็นข้อปล้อง (Segmentation)</strong><br />\n4.1 Non metameric คือแบ่งเป็นข้อปล้องเฉพาะภายนอก เกิดที่ลำตัวเท่านั้น ไม่ได้เกิดตลอดทั้งตัว เช่น พยาธิตัวตืด,หนอนตัวกลม, เอคไคโนเดิร์ม และมอลลัสกา <br />\n4.2 Metameric คือแบ่งเป็นข้อปล้องอย่างแท้จริง โดยเกิดตลอดลำตัว เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง เนื้อเยื่อชั้นอื่นจึงเกิดข้อปล้องไปด้วย เช่น ไส้เดือนดิน กุ้ง ปู และสัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง\n</p>\n<p>\n<strong>5. พิจารณาจากการมีระบบเลือด</strong><br />\n5.1 สัตว์ที่ยังไม่มีระบบเลือด เช่น ฟองน้ำ,ซีเลนเทอเรต, หนอนตัวแบนและ หนอนตัวกลม<br />\n5.2 สัตว์ที่มีระบบเลือดแบบวงจรเปิด เช่น อาร์โทรพอด, มอลลัสก์ และปลาดาว เป็นต้น<br />\n5.3 สัตว์ที่มีระบบเลือดแบบวงจรปิด เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง\n</p>\n<p>\n<strong>6. พิจารณาจากลักษณะทางเดินอาหาร<br />\n</strong>6.1 ทางเดินอาหารแบบไม่แท้จริง (Channel network) เป็นเพียงช่องว่างแบบร่างแห เป็นเพียงทางผ่านของน้ำจากภายนอกเข้าสู่ลำตัว เช่น ฟองน้ำ<br />\n6.2 ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete digestive tract) มีลักษณะคล้ายถุง มีช่องเปิดช่องเดียว เป็นทางเข้าและออกของอาหาร เช่นพวกซีเลนเทอเรต และหนอนตัวแบน<br />\n6.3 ทางเดินอาหารสมบูรณ์ (Complete digestive tract)เป็นท่อกลวง มีท่อเปิด 2ทาง เป็นทางเข้า และทางออกคนละทางกัน ได้แก่ หนอนตัวกลม, ไส้เดือนดิน, แมลง, มอลลัสก์, สัตว์ชั้นสูง\n</p>\n<p>\n<strong>7. พิจารณาจากแกนพยุงร่างกาย หรือโนโตคอร์ต (Notochord) แล้วจึงกลายเป็นกระดูกสันหลังหรือไม่</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>8. พิจารณาจากแบบแผนการเจริญเติบโตจากตัวอ่อนว่ามี ช่องเหงือก (Gill slit) หรือไม่</strong>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82165\">กลับสู่หน้าแรก</a>\n</p>\n', created = 1714264659, expire = 1714351059, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a834ff147898dae9741c2045575ae777' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:df4d69d716f70da929d6467ede6cc167' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong><u>เกณฑ์เฉพาะในการจำแนกสัตว์ มีด้วยกัน 8 ประการ</u><br />\n1. พิจารณาจากรูปแบบของสมมาตร</strong><br />\n1.1 Asymemetry ไม่สมมาตร คือไม่สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ เช่น อมีบา<br />\n1.2 Bilateral symmetry คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เท่า ๆ กันได้<br />\n1.3 Radial symmetry สมมาตรในแนวรัศมี คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนให้มีลักษณะเหมือนกันได้หลายแนว โดยตัดผ่านจุดศูนย์กลางตามแนวรัศมี เช่น ฟองน้ำบางชนิด แมงกะพรุน และดาวทะเล<br />\n1.4 Sperical หรือ Universal symmetry สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ทุกระนาบโดยผ่านจุดศูนย์กลางเช่นกัน ได้แก่ Volvox\n</p>\n<p>\n<strong>2. พิจารณาจากจำนวนชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer)<br />\n</strong>2.1 Diploblastica จะมีเนื้อเยื่อเพียงสองชั้นคือ เนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน(endoderm)<br />\n2.2 Triploblastica จะมีเนื้อเยื่อ สามชั้น คือ มีเนื้อเยื่อชั้นกลางเพิ่มเข้ามาคือ Mesoderm ได้แก่ สัตว์จำพวกหนอนตัวแบนขึ้นไป\n</p>\n<p>\n<strong>3. พิจารณาจากช่องว่างภายในลำตัว (coelom)<br />\n</strong>3.1 Acoelomate animal คือสัตว์ที่ไม่มีช่องว่างภายในลำตัวเช่น หนอนตัวแบน (Phylum Platyhelminthes)<br />\n3.2 Psudocoelomate animal (Psudocoelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างแบบเทียม จะมีช่องว่างที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกกับชั้นกลาง หรือเนื้อเยื่อชั้นกลางกับชั้นใน เช่น หนอนตัวกลม (Phylum Nemathehelminthes)<br />\n3.3 Eucoelomate animal (True coelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างภายในลำตัวแบบแท้ เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลางแยกตัวออกไปเป็นช่อง เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง เป็นต้น\n</p>\n<p></p>', created = 1714264659, expire = 1714351059, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:df4d69d716f70da929d6467ede6cc167' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

( ._____.)o Phylum Porifera - ไฟลัมพอริเฟอรา o(._____. )

เกณฑ์เฉพาะในการจำแนกสัตว์ มีด้วยกัน 8 ประการ
1. พิจารณาจากรูปแบบของสมมาตร

1.1 Asymemetry ไม่สมมาตร คือไม่สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ เช่น อมีบา
1.2 Bilateral symmetry คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เท่า ๆ กันได้
1.3 Radial symmetry สมมาตรในแนวรัศมี คือ สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนให้มีลักษณะเหมือนกันได้หลายแนว โดยตัดผ่านจุดศูนย์กลางตามแนวรัศมี เช่น ฟองน้ำบางชนิด แมงกะพรุน และดาวทะเล
1.4 Sperical หรือ Universal symmetry สามารถแบ่งร่างกายออกเป็นสองส่วนที่เหมือนกันได้ทุกระนาบโดยผ่านจุดศูนย์กลางเช่นกัน ได้แก่ Volvox

2. พิจารณาจากจำนวนชั้นของเนื้อเยื่อ (Germ layer)
2.1 Diploblastica จะมีเนื้อเยื่อเพียงสองชั้นคือ เนื้อเยื่อชั้นนอก(ectoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน(endoderm)
2.2 Triploblastica จะมีเนื้อเยื่อ สามชั้น คือ มีเนื้อเยื่อชั้นกลางเพิ่มเข้ามาคือ Mesoderm ได้แก่ สัตว์จำพวกหนอนตัวแบนขึ้นไป

3. พิจารณาจากช่องว่างภายในลำตัว (coelom)
3.1 Acoelomate animal คือสัตว์ที่ไม่มีช่องว่างภายในลำตัวเช่น หนอนตัวแบน (Phylum Platyhelminthes)
3.2 Psudocoelomate animal (Psudocoelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างแบบเทียม จะมีช่องว่างที่อยู่ระหว่าง เนื้อเยื่อชั้นนอกกับชั้นกลาง หรือเนื้อเยื่อชั้นกลางกับชั้นใน เช่น หนอนตัวกลม (Phylum Nemathehelminthes)
3.3 Eucoelomate animal (True coelom) คือสัตว์ที่มีช่องว่างภายในลำตัวแบบแท้ เกิดจากเนื้อเยื่อชั้นกลางแยกตัวออกไปเป็นช่อง เช่น ไส้เดือนดิน และสัตว์ชั้นสูง เป็นต้น

สร้างโดย: 
คุณครูธนพล กลิ่นเมือง และ นางสาวกนกวรรณ วิรัตน์วัฒนกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 394 คน กำลังออนไลน์