• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:61bdd0e3d6155c014c036382ea10b28a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nศาลรัฐธรรมนูญ องค์กร- ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา- พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากบุคคลดังต่อไปนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n1.ผู้พิพากษาศาลฏีกา จำนวน 3 คน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.ตุลาการศาลปกครองสูงสุดจำนวน 2 คน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 3.ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ จำนวน 2 คน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n4.ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ จำนวน 2 คน ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานศาลฏีการัฐธรรมนูญและตุลการศาลรัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n จำนวน – ประธานศาลรัฐธรรมนูญจำนวน 1 คน และตุลการศาลรัฐธรรมนูญ 8 คน วาระ 9 ปีและให้ดำรงตำแหน่งเพียงวาระเดียว\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nคุณสมบัติตุลการศาลรัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 1.มีสัญชาติไทยโดยการเกิด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n3.ไม่เป็นส.ส.,ส.ว.,สมาชิกสภาท้องถิ่น,ผู้บริหารท้องถิ่น\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n4.ไม่เป็น หรือเคยเป็นสมาชิก หรือดำรงตำแหน่งอื่น ของพรรคการเมืองในระยะ 3 ปีก่อนดำรงตำแหน่ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nหน้าที่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 1.พิจารณาและวินิจฉัยว่ากฎหมายใดขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.พิจารณาและวินิจฉัยความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรีหรือองค์กร ตามรัฐธรรมนูญที่มิใช่ศาล ศาลยุติธรรม องค์กร – คณะกรรมการตุลการศาลยุติธรรม\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา – พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและการให้พ้นตำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการศาลยุติธรรม คณะกรรมการศาลยุติธรรมประกอบด้วย\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 1.ประธานศาลฏีกาเป็นประธาน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  2.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละชั้นศาล ได้แก่ศาลฏีกา 6 คน ศาลอุทธรณ์ 4 คน ศาลชั้นต้น 2 คน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n3.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน และได้รับการคัดเลือกจากรัฐสภา ระดับของศาล มี 3 ระดับ คืแ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฏีกา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nหน้าที่\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n1.พิจารณาคดีต่างๆ ตามระดับชั้นของศาล\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 2.ศาลฏีกามีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งส.ส. และ ส.ว. ศาลอุทธรณ์ มีอำนาจพิจารณา และวินิจฉัยเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของดำรงตำแหน่งทางการเมือง ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีหน้าที่พิจารณา ศาลปกครอง\n</p>\n<p>\nองค์กร: คณะกรรมการตุลการศาลปกครอง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nที่มา : คณะกรรมการศาลปกครองและรัฐสภาเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nจำนวน : ประธานศาลปกครองสูงสุด จำนวน 1 คน และตุลการศาลปกครอง 12 คน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n หน้าที่ : พิจารณาพิพากษาคดีพิพาทะหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานราชการของรัฐ รัฐวิาหกิจ องค์กรปกครองท้องถิ่นหรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n ระดับของศาล- มี2 ระดับ\n</p>\n<p>\n1.ศาลปกครองชั้นต้น\n</p>\n<p>\n2.ศาลปกครองสูงสุด ศาลทหาร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nหน้าที่ – พิจารณาพิพากษาคดีอาญาทหาร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี 4 องค์กร คือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 1.คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n2.ผู้ตรวจการแผ่นดิน(ค.ต.ง.)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 3.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 4.คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการการเลือกตั้ง ที่มา – 1.พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการการเลือกตั้ง\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 2.คณะกรรมการสรรหากรรมการการเลือกตั้ง มีจำนวน 7 คน ได้แก่ ประธานศาลฏีกา,ประธานศาลรัฐธรรมนูญประธานศาลปกครองสูงสุด,ประธานสภาผู้แทนราษฏร,ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฏร,บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฏีกาคัดเลือก 1 คนและบุคคลที่ประชุมใหญ่ตุลการศาลปกครองสูงสุดคัดเลือก 1 คน มีหน้าที่คัดเลือกกรรมการการเลือกตั้งจำนวน 3 คน เสนอต่อประธานวุฒิสภา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 3.ที่ประชุมใหญ่ศาลฏีการพิจารณาสรรหากรรมการการเลือกตั้งจำนวน 2 คน เสนอต่อประธานวุฒิสภา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n 4. วุฒิสภาให้ความเห็นชอบและประธานวุฒิสภานำความกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง จำนวน 1.จัดการเลือกตั้งและการเพิกถอนเลือกตั้ง ส.ส.,ส.ว.,องค์กรปกครองท้องถิ่น 2.ลงประชามติ 3.ควบคุมการดำเนินการเกี่ยวกับพรรคการเมือง\n</p>\n', created = 1715336860, expire = 1715423260, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:61bdd0e3d6155c014c036382ea10b28a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ศาล

ศาลรัฐธรรมนูญ องค์กร- ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ

 

ที่มา- พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากบุคคลดังต่อไปนี้

 

1.ผู้พิพากษาศาลฏีกา จำนวน 3 คน

 

2.ตุลาการศาลปกครองสูงสุดจำนวน 2 คน

 

 3.ผู้ทรงคุณวุฒิสาขานิติศาสตร์ จำนวน 2 คน

 

4.ผู้ทรงคุณวุฒิสาขารัฐศาสตร์ จำนวน 2 คน ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานศาลฏีการัฐธรรมนูญและตุลการศาลรัฐธรรมนูญ

 

 จำนวน – ประธานศาลรัฐธรรมนูญจำนวน 1 คน และตุลการศาลรัฐธรรมนูญ 8 คน วาระ 9 ปีและให้ดำรงตำแหน่งเพียงวาระเดียว

 

คุณสมบัติตุลการศาลรัฐธรรมนูญ

 

 1.มีสัญชาติไทยโดยการเกิด

 

 2. มีอายุไม่ต่ำกว่า 45 ปี

 

3.ไม่เป็นส.ส.,ส.ว.,สมาชิกสภาท้องถิ่น,ผู้บริหารท้องถิ่น

 

4.ไม่เป็น หรือเคยเป็นสมาชิก หรือดำรงตำแหน่งอื่น ของพรรคการเมืองในระยะ 3 ปีก่อนดำรงตำแหน่ง

 

หน้าที่

 

 1.พิจารณาและวินิจฉัยว่ากฎหมายใดขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญ

 

2.พิจารณาและวินิจฉัยความขัดแย้งเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรีหรือองค์กร ตามรัฐธรรมนูญที่มิใช่ศาล ศาลยุติธรรม องค์กร – คณะกรรมการตุลการศาลยุติธรรม

 

ที่มา – พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งและการให้พ้นตำแหน่งของผู้พิพากษาศาลยุติธรรม โดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการศาลยุติธรรม คณะกรรมการศาลยุติธรรมประกอบด้วย

 

 1.ประธานศาลฏีกาเป็นประธาน

 

  2.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในแต่ละชั้นศาล ได้แก่ศาลฏีกา 6 คน ศาลอุทธรณ์ 4 คน ศาลชั้นต้น 2 คน

 

3.กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 8 คน และได้รับการคัดเลือกจากรัฐสภา ระดับของศาล มี 3 ระดับ คืแ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ ศาลฏีกา

 

หน้าที่

 

1.พิจารณาคดีต่างๆ ตามระดับชั้นของศาล

 

 2.ศาลฏีกามีอำนาจพิจารณาและวินิจฉัยคดีเกี่ยวกับการเลือกตั้งส.ส. และ ส.ว. ศาลอุทธรณ์ มีอำนาจพิจารณา และวินิจฉัยเกี่ยวกับการเลือกตั้ง และการเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น และผู้บริหารท้องถิ่น ศาลฎีกาแผนกคดีอาญา ของดำรงตำแหน่งทางการเมือง ของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง มีหน้าที่พิจารณา ศาลปกครอง

องค์กร: คณะกรรมการตุลการศาลปกครอง

 

ที่มา : คณะกรรมการศาลปกครองและรัฐสภาเห็นชอบแล้วให้นายกรัฐมนตรีนำความกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง

 

จำนวน : ประธานศาลปกครองสูงสุด จำนวน 1 คน และตุลการศาลปกครอง 12 คน

 

 หน้าที่ : พิจารณาพิพากษาคดีพิพาทะหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานราชการของรัฐ รัฐวิาหกิจ องค์กรปกครองท้องถิ่นหรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐกับเอกชน

 

 ระดับของศาล- มี2 ระดับ

1.ศาลปกครองชั้นต้น

2.ศาลปกครองสูงสุด ศาลทหาร

 

หน้าที่ – พิจารณาพิพากษาคดีอาญาทหาร องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มี 4 องค์กร คือ

 

 1.คณะกรรมการการเลือกตั้ง (ก.ก.ต.)

 

2.ผู้ตรวจการแผ่นดิน(ค.ต.ง.)

 

 3.คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามทุจริตแห่งชาติ(ป.ป.ช.)

 

 4.คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการการเลือกตั้ง ที่มา – 1.พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ประธานวุฒิสภาเป็นผู้ลงนามสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งประธานกรรมการและกรรมการการเลือกตั้ง

 

 2.คณะกรรมการสรรหากรรมการการเลือกตั้ง มีจำนวน 7 คน ได้แก่ ประธานศาลฏีกา,ประธานศาลรัฐธรรมนูญประธานศาลปกครองสูงสุด,ประธานสภาผู้แทนราษฏร,ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฏร,บุคคลซึ่งที่ประชุมใหญ่ศาลฏีกาคัดเลือก 1 คนและบุคคลที่ประชุมใหญ่ตุลการศาลปกครองสูงสุดคัดเลือก 1 คน มีหน้าที่คัดเลือกกรรมการการเลือกตั้งจำนวน 3 คน เสนอต่อประธานวุฒิสภา

 

 3.ที่ประชุมใหญ่ศาลฏีการพิจารณาสรรหากรรมการการเลือกตั้งจำนวน 2 คน เสนอต่อประธานวุฒิสภา

 

 4. วุฒิสภาให้ความเห็นชอบและประธานวุฒิสภานำความกราบบังคมทูลพระมหากษัตริย์เพื่อทรงแต่งตั้ง จำนวน 1.จัดการเลือกตั้งและการเพิกถอนเลือกตั้ง ส.ส.,ส.ว.,องค์กรปกครองท้องถิ่น 2.ลงประชามติ 3.ควบคุมการดำเนินการเกี่ยวกับพรรคการเมือง

สร้างโดย: 
นาย ชาญชัย เปี่ยมชาคร และ นางสาว ชลวรรณ คงคล้าย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 279 คน กำลังออนไลน์