• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปัญหา \'access denied\'', 'node/9846/submission/959', '', '3.135.247.47', 0, '1b697c8dc5c555a3dc09549f0fb47644', 120, 1716729828) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6783b71a227a36430c4b7364cf663ea8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><strong><u><img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/00panda.jpg\" /></u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">ทาง WWF กองทุนสัตว์ป่าโลก <span style=\"color: #ff9900\">รายงานว่าในปี ค.ศ. 2009 มีสัตว์อยู่ 9 ชนิดที่ต้องเฝ้าระวังกันมากหน่อย</span> ไม่ใช่ว่าสัตว์พวกนี้อันตราย แต่ต้องระวังเพราะมนุษย์กำลังจะทำให้พวกมันสูญพันธุ์ ทั้งจากการล่า การสูญเสียที่อยู่อาศัย และจากภัยอื่นๆ  ซึ่งที่จริงทุกวันนี้ก็มีสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นพันๆ ชนิดอยู่แล้ว  <span style=\"color: #ff9900\">แต่ 9 ชนิดนี้เขาบอกว่าต้องคอยเฝ้าระวังกันเป็นพิเศษ</span></span></span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">20. พะยูน</span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><img width=\"561\" src=\"http://board.trekkingthai.com/board/upload/photo/2008-04/123896_LR5DV0GP2q0747.jpg\" height=\"413\" id=\"imgb\" /></span></u></strong>\n</p>\n<p>\nพะยูนเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเช่นเดียวกับโลมาและปลาวาฬ แตกต่างกันที่พะยูนไม่มีครีบหลังหางซึ่งแผ่แบนแยกเป็นสองแฉกคล้ายหางปลาในแนวราบและไม่มีแกนกระดูกเช่นเดียวกัน ที่ปลายนิ้วแต่ละนิ้วของพะยูนจะไม่มีเล็บซึ่งต่างจากพวกมานาตี หรือพะยูนแถบทวีปอเมริกา ขาหลังลดรูปหายไป ส่วนหัวกลมมน มีปาดอยู่ด้านล่างของหัว ริมฝีปากบนหนา มีขนหนวดขึ้นประปรายเมื่อโตเต็มที่ พะยูนตัวผู้จะมีเขี้ยวยาว 1 คู่ ที่บริเวณขากรรไกรบน ลักษณะคล้ายงาช้างยื่นมาชัดเจน\n</p>\n<p>\nขนาดตัวของพะยูน มีความยาวรวมรวมครีบหางประมาณ 2.2 - 3.5 เมตร ขนาดของครีบหางกว้างประมาณ 0.75 - 0.85 ขนาดวัดรอบอกประมาณ 1.6 - 2.5 เมตร ครีบอกหรือขาหน้ายาวประมาณ 0.35 - 0.45 เมตร น้ำหนักตัวประมาณ 280 - 380 กิโลกรัม พบอาศัยอยู่ตามชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและแปซิฟิก และตอนเหนือของทวีปออสเตเรีย ในประเทศไทยเคยมีพะยูนอาศัยอยู่ตามชายฝั่งทะเลทั้ง 2 ด้านของประเทศ แต่ปัจจุบันคาดว่าจะมีพะยูนเหลืออยู่ไม่เกิน 70 ตัวในประเทศไทย  \n</p>\n<p>\nพะยูนเป็นสัตว์น้ำที่หายใจด้วยปอด ปกติดำน้ำได้ไม่ลึก และอยู่ใต้น้ำได้ไม่นานอย่างกับโลมาและปลาวาฬ ต้องโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือผิวน้ำอยู่เสมอ ลักษณะการแทะเล็มหญ้าทะเลของพะยูน ดูคล้ายการกินหญ้าของวัว ทำให้ได้ชื่อเรียกเป็นภาษาอังกฤษเรียกว่า &quot; วัวทะเล Sea cow &quot; ระยะตั้งท้องประมาณ 1 ปี ปกติออกลูกท้องละ 1 ตัวคลอกลูกใต้น้ำ ลูกพะยูนแรกเกิดจะต้องรีบโผล่ขึ้นมาหายใจเหนือผิวน้ำทันที ต่อจากนั้นจะว่ายน้ำติดตามกินนมแม่ ซึ่งมีเต้านมอยู่ใต้ครีบอกประมาณ 1 ปี จึงจะหย่านม พะยูนจะโตเต็มที่อายุประมาณ 13 - 14 ปี อายุยืนประมาณ 40 ปี\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">19. เลียงผา</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><img width=\"400\" src=\"http://past.talaythai.com/image/2556.jpg\" height=\"300\" id=\"imgb\" /></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"left\">\nลักษณะ : เลียงผาเป็นสัตว์จำพวกเดียวกับแพะและแกะ เมื่อโตเต็มที่มีความสูงที่ไหล่ประมาณ 1 เมตร ขายาวและแข็งแรง ใบหูยาวคล้ายใบหูลา ขนตามลำตัวค่อนข้างยาว หยาบและมีสีดำ ด้านท้องขนสีจางกว่า มีขนเป็นแผงยาวบนสันคอและสันหลัง มีเขาทั้งในตัวผู้และตัวเมีย เขามีลักษณะตอนโคนกลม หยักเป็นวงแหวนโดยรอบค่อยๆเรียวไปทางปลายเขาโค้งไปทางด้านหลังเล็กน้อย\n</p>\n<p align=\"left\">\nอุปนิสัย : ในเวลากลางวันจะพักอาศัยอยู่ในถ้ำหรือในพุ่มไม้ ออกหากินในตอนเย็นถึงพลบค่ำและในเวลาเช้ามืด อาหารได้แก่พืชต่างๆทุกชนิด เลียงผามีประสาทหู ตา และรับกลิ่นได้ดี ผสมพันธุ์ในช่วงปลายเดือนตุลาคม ตกลูกครั้งละ 1-2 ตัวใช้เวลาตั้งท้องราว 7 เดือน ในที่เลี้ยง เลียงผามีอายุยาวกว่า 10 ปี<br />\n  <br />\n ที่อยู่อาศัย : เลียงผาอาศัยอยู่ตามภูเขาที่มีหน้าผาสูงชันมีป่าปกคลุม\n</p>\n<p align=\"left\">\nเขตแพร่กระจาย : เลียงผามีเขตแพร่กระจายตั้งแต่แคว้นแคชเมียร์ มาตามเทือกเขาหิมาลัยจนถึงแคว้นอัสสัม จีนตอนใต้ พม่า อินโดจีน มลายู และสุมาตรา ในประเทศไทยพบอาศัยอยู่ตามภูเขาสูงในหลายภูมิภาคของประเทศ เช่น เทือกเขาตะนาวศรี เทือกเขาถนนธงชัย เทือกเขาเพชรบูรณ์ และภูเขาทั่วไปในบริเวณภาคใต้ รวมทั้งบนเกาะในทะเลที่อยู่ไม่ห่างจากแผ่นดินใหญ่มากนัก\n</p>\n<p align=\"left\">\nสถานภาพ: เลียงผาจัดเป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งใน 15 ชนิดของประเทศไทย และอนุสัญญา CITES จัดเรียงผาไว้ใน Appendix I\n</p>\n<p align=\"left\">\nสาเหตุของการใกล้สูญพันธุ์ : ในระยะหลังเลียงผามีจำนวนลดลงอย่างรวดเร็วเนื่องจากการล่าอย่างหนักเพื่อเอาเขา กระดูก และน้ำมันมาใช้ทำยาสมานกระดูก และพื้นที่หากินของเลียงผาลดลงอย่างรวดเร็วจากการทำการเกษตรตามลาดเขา และบนพื้นที่ที่ไม่ชันจนเกินไป <br />\nเดือนในแต่ละปี กบสายพันธุ์นี้จะพองตัวเมื่อเผชิญภัยคุกคามหรือเผชิญกับนักล่าและมีความสามารถในการไต่หินในแนวตั้ง\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">18. กบสีรุ้งมาลากาซี</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img width=\"559\" src=\"http://i.kapook.com/photofolder/box2/Malagasy_Rainbow_Frog_05.jpg\" height=\"420\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\nกบที่มีสีสันสวยงามชนิดหนึ่งของโลก อาศัยอยู่ใต้ดินในหุบเขาหินปูนทางใต้ของมาดากัสกาเป็นเวลานานมากกว่า 10 เดือนในแต่ละปี กบสายพันธุ์นี้จะพองตัวเมื่อเผชิญภัยคุกคามหรือเผชิญกับนักล่าและมีความสามารถในการไต่หินในแนวตั้ง\n</p>\n<p>\nกบสีรุ้งมาลากาซีย์ เป็นกบที่มีขนาดตัวเล็กที่สุดในโลก เป็นหนึ่งในกลุ่มสัตว์ครึ่งบกครงน้ำที่หายากมากและกำลังเสี่ยงสูญพันธุ์ พวกมันจะเปลี่ยนสีผิวหนังหากมีภัยมา ด้านอาตี๋ชาวจีนอุ้มซาลาแมนเดอร์จีนตัวยักษ์ สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำที่มีมาก่อนไดโนเสาร์ ไทแรนโนซอรัส เร็กซ์ อยู่ในกลุ่มสัตว์หายาก และจำเป็นต้องได้รับการอนุรักษ์โดยด่วนเช่นกันหน้า\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">17. คางคกเบติกมิดไวฟ์</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"509\" src=\"http://www.sierradebaza.org/Fichas_fauna/00_Anfibios/05-01_sapo_partero/img_sapo_partero1.jpg\" height=\"338\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\nคางคกชนิดนี้ เป็นสัตว์เฉพาะถิ่นทางใต้ของประเทศสเปน ตัวผู้ช่วยจะทำคลอดคล้ายกับกบดาร์วิน แต่วิธีการต่างกัน คือ มันจะเอาไข่ไว้ที่ขาหลังและจะนำไปไว้ในน้ำเมื่อไข่ใกล้จะออกเป็นลูกอ๊อด คางคกเบติกมิดไวฟ์ จะปล่อยสารพิษจากตุ่มบนหลังของมันเมื่อถูกโจมตีจาก\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">16. กบปีศาจของแอฟริกา</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img width=\"531\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcT4H0w-SJFsRGUqSeIw7mrRYJwFUTCsHF0XF3ofn7Y0xl_UWqjY\" height=\"356\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\nกบปีศาจแอฟริกาใต้มีถิ่นอาศัยอยู่ในเทือกเขาดรากอนเบิร์ก ซึ่งสูงที่สุดในแอฟริกาใต้ สายพันธุ์หนึ่งพบได้เฉพาะบริเวณสุสานโบราณบริเวณช่องเขาของภูเขาเทเบิล จุดศูนย์กลางของอุทยานแห่งชาติคาบสมุทรเคปเท่านั้น  \n</p>\n<p align=\"left\">\nจากโครงร่าง กบชนิดนี้มีความยาว 16 นิ้ว คาดว่ามีน้ำหนัก 10 ปอนด์ (ขนาดเท่าลูกโบว์ลิง) ทีมงานตั้งชื่อวิทยาศาสตร์ให้มันว่า Beelzebufo จากภาษากรีกที่ Beelzebub แปลว่า devil และ bufo แปลว่า คางคก (toad) หรือ กบ รวมแล้วหมายความว่า กบปีศาจ ชื่อสปีชีส์ว่า ampinga หมายถึง โล่หรือเกราะป้องกันตัว ทางทีมงานคาดว่าเจ้ากบปีศาจตัวอ้วนนี้ล่าสัตว์อื่นกินเป็นอาหาร\n</p>\n<p align=\"left\">\nในการจำแนกสปีชีส์ของเจ้ากบปีศาจและดูความสัมพันธ์กับกบชนิดอื่นๆนั้น นาย David Krause ได้ขอความร่วมมือจาก นาง Susan Evans และนาย Marc Jones ผู้เชี่ยวชาญด้านฟอสซิลกบ ทางทีมงานได้สรุปว่า เจ้ากบปีศาจนี้เป็นตัวแทนของกบในยุคแรกๆ (คาดว่าเป็นเพื่อนกับพี่ไดโนเสาร์) ที่เคยอาศัยอยู่ในเขตนี้เมื่อ 65-70 ล้านปีมาแล้ว เมื่อเปรียบเทียบกับกบที่อาศัยอยู่ในอเมริกาใต้ในปัจจุบัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nเจ้ากบปีศาจ Beelzebufo นี้ ดูจะมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ ceratophyrines หรือ กบ pac-man ในอเมริกาใต้ เนื่องจากขนาดปากที่ใหญ่โตมโหฬารของมัน เจ้ากบ pac-man ตัวเมือกนี้จะพรางตัวให้เข้ากับธรรมชาติจากนั้นก็ซุ่มโจมตีเหยื่อผู้เคราะห์ร้ายโดยทันที\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">15.กบสีม่วง</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"356\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTufdVGbNuE0WDIZTlfUKe_9TcnX7xRm6Asfz1RgNU6-ax43et9aA\" height=\"402\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\nกบสายพันธุ์นี้เพิ่งถูกค้นพบเมื่อปี 2003 นี่เอง และยังเป็นสปีชีส์ของกบแฟมิลีใหม่ที่ถูกค้นพบเมื่อปี 1926 อีกด้วย มันหลงหูหลงตานักวิทยาศาสตร์มาเป็นเวลายาวนาน เพราะใช้เวลาส่วนใหญ่ในแต่ละปีอยู่ใต้ดินลึกถึง 12 ฟุต จนยากที่มนุษย์จะพบเห็นมัน\n</p>\n<p align=\"left\">\nลักษณะทั่วไป <br />\nกบม่วง purper frog หรือ Nasikabatrachus sahyadrensisและมีชื่อเล่นว่าPignose Frog เนื่องจากมีจมูกคล้ายหมู เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ตัวโค้งงอคุ้ม ลักษณะคล้ายกับการนั่งยองๆ มีหัวเล็กและเป็นลักษณะเฉพาะที่ไม่เหมือนกบทั่วไป จมูกแหลมและชี้ เมื่อโตเต็มที่จะมีสีม่วงเข้ม ตัวยาวประมาณ 7 เซนติเมตร เสียงร้องคล้ายๆส่วนหนึ่งของไก่\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งที่อยู่อาศัย <br />\nภายใน 1 ปี กบม่วงจะใช้ชีวิตส่วนใหญ่อยู่ใต้ดิน จะขึ้นมาเหนือพื้นดินประมาณ 2 สัปดาห์ในช่วงที่พระจันทร์เต็มดวง เพื่อจะหาคู่ผสมพันธุ์ โดยนิสัยแล้ว กบสีม่วงจะชอบอยู่อย่างสันโดษ เพื่อป้องกันตัวเองจากอันตรายต่างๆ กบพันธุ์นี้จะไม่หาอาหารจากเหนือพื้นดินเหมือนกบทั่วไป แต่จะหาอาหารได้จากใต้ดิน อย่างเช่น ปลวกหรือแมลงที่อยู่ใต้ดิน เมื่อถึงเวลาผสมพันธุ์กบจะ ขยายขาหนีบที่ใหญ่ออกมาเพื่อรองน้ำฝน มักจะพบเจอมากแถวๆลุ่มแม่น้ำทางทิศตะวันตกในประเทศอินเดีย\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">14.   ซาลาแมนเดอร์ยักษ์ของจีน</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"399\" src=\"http://topicstock.pantip.com/wahkor/topicstock/2009/04/X7778514/X7778514-2.jpg\" height=\"420\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p>\nนี่คือซาลาแมนเดอร์สายพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก เมื่อโตเต็มที่อาจยาวถึง 1.8 เมตร รูปร่างหน้าตาของมันดูแปลกประหลาดเพราะเป็นสัตว์ดึกดำบรรพ์ก่อนไดโนเสาร์ทีเร็กซ์เสียอีก ปัจจุบันมีถิ่นอาศัยอยู่เฉพาะในมณฑลกวางสี ประเทศจีนเท่านั้น ชาวจีนเรียกมันว่า &quot;หว่าหว้าหวี่&quot; แปลว่า &quot;ปลาทารก&quot; เนื่องจากเสียงร้องของมันคล้ายเสียงร้องของเด็กทารก ปัจจุบันซาลาแมนเดอร์ยักษ์อยู่ในภาวะใกล้สูญพันธุ์ จำนวนพวกมันลดลงอย่างรวดเร็วจากการล่าที่ผิดกฎหมาย เพราะเนื้อของมันมีราคาสูงถึง 100 เหรียญสหรัฐต่อกิโลกรัม\n</p>\n<p>\nลักษณะ: เป็นสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกจำพวกซาลาแมนเดอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 2 เมตร น้ำหนักกว่า 25 กิโลกรัม รูปร่างหัวกลมแบนใหญ่ ลำตัวแบน ตาเล็ก ปากกว้าง หางยาวมีแผ่นหนังคล้ายครีบ ขาสั้น 4 ข้าง มีนิ้ว 4 นิ้ว ลำตัวสีน้ำตาลกระหรือดำและสามารถเปลี่ยนสีได้ตามสภาพแวดล้อม มีเมือกลื่นคลุมตลอดทั้งลำตัว อาศัยอยู่ในลำธารที่น้ำใสสะอาด ไหลแรง พบในภาคตะวันตกของสหรัฐอเมริกา, จีน, ญี่ปุ่น กินอาหารได้แก่ ปลาและสัตว์น้ำทั่วไปและสัตว์เลื้อยคลานขนาดเล็ก มีนิสัยรักสงบ ออกหากินในเวลากลางคืน แต่จะดุร้ายและสามารถฉกกัดได้ด้วยความรุนแรงเมื่อถูกรบกวน\n</p>\n<p>\nแหล่งอาศัย: สำหรับซาลาแมนเดอร์ยักษ์จีน ซึ่งเป็นซาลาแมนเดอร์ยักษ์ชนิดที่ใหญ่ที่สุด พบได้เฉพาะในประเทศจีน เฉพาะที่มณฑลกวางสีเท่านั้น ออกเสียงว่า หว่าหว้าหวี่ แปลว่า &quot;ปลาทารก&quot; เนื่องจากสามารถร้องได้เหมือนเสียงร้องของเด็กทารก ในสมัยก่อนนิยมเอาเนื้อมาปรุงเป็นอาหาร โดยเนื้ออร่อย มีรสชาติคล้ายไก่ แต่ปัจจุบันมีสถานภาพสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากถิ่นที่อยู่ถูกคุกคาม\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000; background-color: #999999\"><strong><u><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">13.  ค่างกระหม่อมทอง</span></u></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><img width=\"317\" src=\"http://static.guim.co.uk/Guardian/environment/gallery/2007/oct/25/endangeredspecies/115536-2793.jpg\" height=\"420\" id=\"imgb\" /></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">ลักษณะ: ค่างกระหม่อมทองเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ประเภทสัตว์ป่าคุ้มครอง หน้าตาเหมือนกับค่างชนิดต่างๆ ลักษณะเด่นของค่างชนิดนี้คือ ขนบริเวณหัวไหล่ ต้นคอถึงหัว และส่วนที่เป็นสะโพกมีสีขาว แต่บางชนิดที่สะโพกอาจจะเป็นสีเทา กลางลำตัวเป็นสีน้ำตาลปนแดง ค่างชนิดนี้แยกเพศผู้เพศเมียได้ง่าย เพศผู้จะมีขนาดที่ใหญ่กว่าเพศเมีย</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">แหล่งอาศัย: เวียดนาม </span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"></span></span></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nคงเหลือ: น้อยกว่า 70 ตัว\n</p>\n<p align=\"left\">\n<br />\nPrimate ชนิดนี้ได้รับการขึ้นบัญชีอนุรักษ์ในปี 2000 แต่ยังคงอยู่ในภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ <br />\nแต่ในปี 2003 เป็นช่วงที่ประชากรเพิ่มปริมาณขึ้นในรอบทศวรรษ\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><strong><u><span style=\"color: #000000; background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">12.  เต่ายักษ์กาลาปากอส สายพันธุ์ย่อย Abingdon Island Tortoise</span></span></u></strong></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><img width=\"399\" src=\"http://www.thaipr.net/dsppic/dsppic.aspx?filesid=27BD1270060983FC133CEC246E3C5DE4\" height=\"289\" id=\"imgb\" /></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">เต่ายักษ์กาลาปากอส (Galapagos Tortoise) เป็นเต่าที่มีขนาดใหญ่ มีกระดองหนา สีเทาเข้มจนถึงดำ มีคอที่ยาวมากเพื่อใช้ ในการหาอาหาร หัวเล็ก ตัวผู้กระดองยาว 122 เซนติเมตร น้ำหนักประมาณ 250 กิโลกรัม ตัวเมียจะตัวเล็กกว่า กระดองยาว 91 เซนติเมตร น้ำหนักโดยเฉลี่ยประมาณ 159 กิโลกรัม วางไข่ประมาณ 9 - 25 ฟอง แต่จะเหลือลูกเต่าไม่ถึงครึ่งที่มีชีวิตรอดจากการวางไข่แต่ละครั้ง ชอบอาศัยในที่พุ่มไม้เตี้ย ในบึง และเนินทรายชายฝั่ง เต่าอัลดาบราเป็นเต่าที่มีอายุยืนมาก เชื่อกันว่ามันอายุเกือบถึง 100 ปี ปัจจุบันมันใกล้จะสูญพันธุ์</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">แหล่งที่อยู่อาศัย: เกาะกาลาปากอส (หมู่เกาะทางตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"></span></span></span><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">คงเหลือ: ตัวสุดท้ายของโลก </span></span></span><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><br />\nเต่ายักษ์กาลาปากอสมีสายพันธุ์ย่อย 11 ชนิด นี่คือหนึ่งใน 11 ชนิดที่เหลือเพียงตัวสุดท้ายของโลก</span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><span style=\"color: #000000; background-color: #999999\"><strong><u><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">11.   ปลาบึก</span></u></strong></span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><img border=\"0\" src=\"http://www.moohin.com/animals/images/634_001.jpg\" alt=\"ปลาบึก\" /></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\"><strong><u><span style=\"color: #000000; background-color: #999999\"></span></u></strong></span></span></span></p>\n<p>\nลักษณะ: ปลาน้ำจืดที่ไม่มีเกล็ดที่มีขนาดใหญ่ ลำตัวมีความยาวเกือบ 3 เมตร และมีน้ำหนักมากกว่า 250 กิโลกรัม ลำตัวมีลักษณะยาวและแบนด้านข้าง ส่วนหัวค่อนข้างใหญ่ ตามีขนาดเล็ก ไม่มีฟัน มีหนวดสั้นๆ ที่ขากรรไกรบน 1 คู่ซ่อนอยู่ในร่องตรงเลยมุมปาก ในขณะมีชีวิตสีลำตัวจะเป็นสีเทาออกแดงทางด้านหลัง แล้วค่อยๆ กลายเป็นสีเทาแกมฟ้าทางด้านข้าง และสีขาวทางด้านใต้ท้อง มีจุดดำจุดหนึ่งทางด้านข้างตรงตำแหน่งปลายสุดของครีบหู และจุดดำอีกสามจุดบนครีบหาง ครีบทุกครีบเป็นสีเทาจางๆ\n</p>\n<p>\nแหล่งอาศัย: แม่น้ำโขงบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้\n</p>\n<p>\nคงเหลือ: หลักร้อย\n</p>\n<p>\nถูกล่าเป็นอาหาร ขนาดใหญ่ที่สุดของปลาบึกคือหนัก 293 กก. ปัจจุบันประเทศไทย ลาว และเวียดนาม ขึ้นบัญชีเป็นปลาอนุรักษ์ แต่การตกปลาบึกยังคงนิยมอยู่\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><u><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">10.   กบเซย์เชลส์</span></span></u></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img width=\"304\" src=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRmtAbtokJgzrZ5GJwGr-yQxQggWmkER3f16mQoc8oVvA53i7_h\" height=\"200\" id=\"imgb\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\nกบเซย์เซลส์ มีถิ่นอาศัยอยู่ในเกาะสองแห่งของหมู่เกาะเซเชลส์ในมหาสมุทรอินเดีย พวกมันเป็นหนึ่งในกบที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก สายพันธุ์การ์ดินเนอร์มีลำตัวยาวเพียง 11 มิลิเมตรหรือ0.4 นิ้ว เล็กกว่าเล็บมือของมนุษย์เสียอีก\n</p>\n<p align=\"left\">\nปัจจุบันกบเซย์เชลล์กำลังเผชิญกับภัยคุกคามจากการตัดไม้ทำลายป่าการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ และการบุกรุกของสัตว์นอกถิ่น\n</p>\n<p align=\"left\">\nสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกำเนิดบนโลกก่อนสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและนก คือเมื่อประมาณ 365 ล้านปีก่อนในยุคดิโวเนียน (Devonian Period) และพวกมันมีชีวิตรอดในยุคล้มตายครั้งยิ่งใหญ่มาแล้วถึง 4 ครั้ง รวมทั้งครั้งที่ไดโนเสาร์สูญพันธุ์ไปจากโลกเมื่อ 65 ล้านปีก่อน เพราะดาวเคราะห์น้อยชนโลกด้วย\n</p>\n<p align=\"left\">\nทว่าในยุคปัจจุบัน 1 ใน 3 ของสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำกำลังอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ และ 165 สปีชีส์สูญพันธุ์ไปแล้ว ภัยคุกคามพวกมันได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของอากาศ มลพิษในน้ำและอากาศ โรคติดเชื้อรา การทำลายที่อยู่อาศัยของมนุษย์และการรุกรานของสัตว์ชนิดอื่นๆ\n</p>\n<p align=\"left\">\nสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงของอากาศและมลภาวะมากที่สุดในบรรดาสัตว์โลกทั้งหมด นักวิทยาศาสตร์จึงกล่าวว่า พวกมันเป็นดัชนีชี้วัดสุขภาวะของสภาพแวดล้อมที่ดีที่สุด\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><strong><u><span style=\"color: #0000ff; background-color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">9.  หมีขั้วโลก</span></span></u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0Polar1.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">จำนวนที่เหลืออยู่</span></strong> ประมาณ 20,000 ตัว <br />\nหมีสีขาวผู้ตกเป็นเหยื่อจาก season change (เพราะอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย)  มนุษย์ทำลายมันทางอ้อม เสมือนยิงปืนไปชนชั้นบรรยากาศแล้วลูกปืนชิ่งกลับมายังแผ่นน้ำแข็ง  ว่ากันว่าถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นๆ และแผ่นน้ำแข็งละลายลงๆ แบบนี้ หมีขั้วโลกจะสูญพันธุ์ในศตวรรษหน้า  อย่าคิดว่านานนะครับ!  นั่นถือว่าเร็วมาก เมื่อเทียบกับการวิวัฒนาการจนเกิดพวกมันขึ้นมา และถ้าดูจากพฤติกรรมของมนุษย์ในทุกวันนี้ที่ยังคงสร้างสรรค์ปรากฏการณ์โลกร้อนอย่างต่อเนื่อง ก็คงเหลือเวลาอีกไม่มากเท่าไร สำหรับสัตว์บกกินเนื้อที่ใหญ่ที่สุดในโลกชนิดนี้\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์<br />\n</span></strong>ทั่วโลกกำลังร่วมกันแก้ปัญหาโลกร้อนอย่างจริงจัง (รึเปล่า)  และทาง WWF กำลังสนับสนุนการวิจัยเพื่อศึกษาว่า การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศมีผลต่อหมีขั้วโลกอย่างไร รวมทั้งได้ร่วมกับภาครัฐบาลและอุตสาหกรรมในการลดภัยคุกคามจากการเดินเรือและการพัฒนาแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในเขตขั้วโลกเหนือ \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span><br />\n</strong>ลุกขึ้นไปปิดไฟหรือถอดปลั๊กเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ท่านไม่ได้ใช้ หรือปิดคอมพิวเตอร์ซะเลย  ทุกครั้งที่จะเปิดแอร์ให้ท่องว่า “ฉันเย็น แต่หมีร้อน ฉันสบาย แต่หมีตายเกลี้ยง”  ทำทุกอย่างที่ช่วยไม่ให้โลกร้อน ก็น่าจะช่วยหมีได้บ้างล่ะนะ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #990000\"><strong><span style=\"font-size: small; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">8.  แพนด้า</span></span></u></span></strong> </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0Panda3.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>จำนวนที่เหลืออยู่</strong></span> 1,600 ตัว<br />\n“หมีแพนด้า หมีแพนด้า เค้าว่าน่ารัก...”  แม้จะเหลืออยู่แค่พันกว่าตัว แต่ก็โชคดีที่เจ้าหมีสีขาวดำตัวนี้หน้าตาแอ๊บแบ๊วน่ารัก คนทั้งโลกจึงให้ความสนใจกับมัน  แต่อนาคตของแพนด้าก็ไม่แน่นอนเอาเสียเลย เนื่องจากถิ่นที่อยู่ของมัน ในแถบตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีนถูกแยกออกจากกัน  ทำให้มันอยู่กระจายเป็นหย่อมๆ ไม่สามารถไปมามาหาสู่เพื่อแลกเปลี่ยนดีเอ็นเอกันได้  รวมทั้งการเติบโตของสารเมลามีน เอ๊ย ของเศรษฐกิจจีนก็ทำให้บ้านของมันถูกบุกรุก  สิ่งหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นปัญหาการสูญพันธุ์ของมันได้ชัดคือ เราเห็นภาพแพนด้าในสวนสัตว์มากกว่าภาพในธรรมชาติ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์<br />\n</span></strong>กองทุนตราหมีแพนด้าและองค์กรต่างๆ ได้ดำเนินโครงการอนุรักษ์แพนด้ามานานแล้ว ปัจจุบันก็ได้รับความร่วมมือจากรัฐบาลจีนในการวางแผนคุ้มครอง โดยการก่อตั้งเขตอนุรักษ์ และเริ่มมีการเพาะพันธุ์ในสถานที่เลี้ยง\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</strong><br />\n</span>ศึกษาเรื่องราวของแพนด้าให้มากขึ้น เรียนรู้ว่าแม้ช่วงช่วงกับหลินฮุ่ยจะนั่งแอ๊บแบ๊วกินใบไผ่อย่างสบายอารมณ์ แต่ชีวิตจริงของพวกมันนั้นรันทดมาก  ครั้งหน้าไปเที่ยวสวนสัตว์เชียงใหม่จะได้ไปเล่าให้ผู้อื่นฟังได้ว่าควรมองแพนด้าในมุมอื่นบ้าง\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">7.  ช้างแคระบอร์เนียว</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0elephant4.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>จำนวนที่เหลืออยู่</strong></span> ไม่เกิน 1,500 ตัว<br />\nช้างพันธุ์แคระตัวนี้เป็นชนิดย่อยของช้างเอเชีย  พวกมันอาศัยอยู่ทางตอนเหนือของเกาะบอร์เนียว  ช้างแคระบอร์เนียวคล้ายช้างในบ้านเราแต่ตัวเล็กกว่า เป็นช้างเอเชียพันธุ์ที่เล็กที่สุด  ชีวิตของมันลับแลและไม่เป็นที่รู้จักมากนัก นักวิทยาศาสตร์ยังไม่แน่ใจเลยว่าบรรพบุรุษของมันแต่โบราณนั้นมาจากไหน  ช้างแคระบอร์เนียวอาศัยอยู่ตามป่าที่ราบต่ำ ซึ่งถูกบุกรุกจากการทำป่าไม้และการเกษตร ทำให้ประชากรลดลง  และอีกไม่นานจา พนมคงต้องเปลี่ยนไปร้องว่า “ช้างแคระกูอยู่ไหน”\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong><br />\nทาง WWF กำลังปกป้องพื้นที่ใจกลางของป่าที่ราบต่ำในเกาะบอร์เนียว  และใช้ดาวเทียมติดตามความเคลื่อนไหวของช้าง เพื่อเรียนรู้พฤติกรรมมากขึ้น\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span></strong><br />\nคงไม่ต้องถึงกับลงทุนไปเช่าดาวเทียมไทคม (จากคนที่คุณก็อยากให้สูญพันธุ์) มาศึกษาช้างแคระ  หาทางช่วยอนุรักษ์ญาติของมันในบ้านเราน่าจะดีกว่า เพื่อป้องกันไม่ให้ช้างไทยเข้ามาติดอันดับกับเขาด้วยในอนาคต\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">6.  เฟอร์เรตตีนดำ</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0ferret1.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">จำนวนที่เหลืออยู่</span></strong> 600 ตัว<br />\nสัตว์ชื่อไม่คุ้นหูตัวนี้หน้าตาคล้ายๆ ชะมดหรือหมาไม้ พวกมันอาศัยอยู่ตามที่ราบกว้างใหญ่ในอเมริกาเหนือ  ปัญหาชีวิตมันไม่ได้เกิดจากกการที่ตีนดำแต่อย่างไร แต่เกิดจากอาหารของมัน ซึ่งก็คือตัวแพรี่ด็อกลดจำนวนลง  แพรี่ด็อกคือสัตว์คล้ายหนูตัวเล็กๆ ที่อาศัยอยู่ใต้ดิน  เมื่อพวกมันถูกเกษตรกรปราบจนลดจำนวนไปมาก ผลจากโซ่อาหารก็เริ่มทำงาน เฟอร์เรตตีนดำจึงไม่มีอาหารกินไปด้วย  (ลองนึกภาพหนูนาที่ถูกชาวนากำจัดไปหมด ทำให้งูเห่าไม่มีอาหารกิน จนอดตายนะครับ) นับเป็นความซวยของมันแท้ๆ ที่อยู่ดีๆ ก็ต้องมารับกรรมจากมนุษย์\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong><br />\nครั้งหนึ่งมันเกือบสูญพันธุ์ไปแล้ว แต่โชคดีที่นักวิจัยสามารถเพาะพันธุ์เฟอร์เร็ตตีนดำและปล่อยคืนสู่ธรรมชาติได้  และตอนนี้ทาง WWF มีแนวทางการอนุรักษ์พวกมันรวมถึงแพร์รี่ด็อก อาหารของมันด้วย\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</strong><br />\n</span>การขอวีซ่าเพื่อเดินทางไปบอกเกษตรกรที่อเมริกาคงเป็นเรื่องยาก  แค่รับรู้เรื่องนี้ไว้เป็นอุทาหรณ์ก็พอ  ต่อไปเวลาจะฆ่าสัตว์อะไรสักตัวคงต้องคิดให้ดี  เพราะชีวิตของมันเกี่ยวพันกันด้วยโซ่อาหาร  ใครจะรู้ว่าการตบยุงตัวเดียวอาจสะเทือนไปถึงการสูญพันธุ์ของเสือโคร่งก็ได้\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">5.  วาฬไรท์แปซิฟิกเหนือ</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0whale2.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>จำนวนที่เหลืออยู่</strong></span>  ไม่แน่นอน<br />\nมนุษย์มีความสามารถในการทำลายล้างขั้นเทพ ขนาดสัตว์ยักษ์ที่อยู่ในน้ำก็ยังถูกจัดการ  วาฬไรท์แปซิฟิกเหนือเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่หายากที่สุดชนิดหนึ่งในปัจจุบัน  ในอดีตมันเคยว่ายน้ำไปมาอยู่ทั่วมหาสมุทรแปซิฟิกเหนือ แต่ปัจจุบันมันเกือบจะสูญพันธุ์ เพราะถูกล่าอย่างหนักในช่วงวัฒนธรรมการล่าวาฬ   นอกจากถูกล่าแล้ว ยังต้องเผชิญปัญหาหลายอย่าง ทั้งการว่ายติดอวน ว่ายชนเรือ (อย่าคิดว่ามันโง่นะครับ วาฬและโลมามีปัญหากับอวนจริงๆ)  รวมทั้งได้รับผลกระทบจากการสำรวจแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในแถบอะแลสกา ซึ่งเป็นแหล่งอาหารในฤดูร้อนของมันอีกด้วย\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong><br />\nWWF กำลังพัฒนาระบบการเดินเรือที่ปลอดภัย เพื่อหลบหลีกการชนกับวาฬ และพยายามยับยั้งการพัฒนาแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในแถบอะแลสกา นอกจากนี้ก็มีการออกกฎหมายห้ามล่า\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span><br />\n</strong>ถ้าการขุดน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ มีผลกระทบต่อแหล่งที่อยู่ของวาฬไรท์แปซิฟิกเหนือและสัตว์ต่างๆ  เราควรหันมาใช้พลังงานทางเลือกอย่างอื่นแทน เช่นพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อจะได้ไม่ต้องมีการขุดหาแหล่งน้ำมันอีก...\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">4.  เสือโคร่งสุมาตรา</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0tiger3.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #990000\"><strong>จำนวนที่เหลืออยู่</strong></span>  400-500 ตัว<br />\nเสือโคร่งสุมาตราเป็นเสือโคร่งสายพันธุ์ที่ตัวเล็กที่สุดในโลก อาศัยอยู่ที่เกาะสุมาตรา (อธิบายก่อนว่า เสือโคร่งมีชนิดย่อยถึง 9 ชนิดย่อย เสือโคร่งในบ้านเราคือชนิดย่อยอินโดจีน)  สาเหตุที่พวกมันใกล้สูญพันธุ์เนื่องมาจากป่าถูกทำลายและถูกล่า  เสือหนึ่งตัวที่ถูกล่านั้นนำไปทำอะไรได้คุ้มค่ามาก อวัยวะต่างๆ (แม้แต่จู๋) ใช้ทำยาจีนแผนโบราณ หนังและกะโหลกก็นำไปทำเป็นเครื่องประดับได้  ที่สำคัญมันมีราคาดีมากด้วย  นั่นทำให้ทุกวันนี้เสือโคร่งหายากยิ่งกว่าเสือกระบาก<br />\nสาเหตุสำคัญที่นักอนุรักษ์ให้ความสำคัญกับเสือโคร่งสุมาตรา เพราะมันเป็นชนิดย่อยที่มีรหัสพันธุกรรมต่างจากชนิดย่อยอื่นที่สุด งงไหมครับ หมายความว่ามันมีโอกาสวิวัฒนาการเป็นชนิดใหม่ได้ง่ายกว่านั่นเอง ดังนั้นมันจึงมีความสำคัญในแง่วิวัฒนาการมากๆ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong><br />\nมีการจัดชุดลาดตระเวน เพื่อขัดขวางการล่าของพรานป่า  ดำเนินการลดความขัดแย้งของมนุษย์กับเสือโคร่งสุมาตรา (ว่าเสือไม่ได้อันตรายอย่างที่คิด) รวมทั้งการขยายพื้นที่อุทยานที่พวกมันอาศัยให้เพิ่มเป็นสองเท่า\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span><br />\n</strong>เปลี่ยนความเชื่อเรื่องสรรพคุณของยาจีนแผนโบราณ  ทำวิจัยเพื่อศึกษาว่า กระดูก เขี้ยว หรืออวัยวะอื่นๆ ของเสือ ไม่ได้เป็นยาที่วิเศษอะไรนัก  เมื่อได้ผลแล้วควรประกาศให้โลกรู้อย่างเป็นทางการ  หรือไปรณรงค์ตามร้านยาจีนแถวเยาวราช ถ้าจะให้ดีกว่านั้นควรไปรณรงค์ที่ประเทศจีนเสียเลย\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">3.  กอริลลาครอสริเวอร์</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0gorilla1.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">จำนวนที่เหลืออยู่</span></strong>  300 ตัว<br />\nมนุษย์ต้องการกำจะจัดญาติของตัวเอง เหล่าลิงใหญ่หรือเอปที่คิดจะตีเสมอมนุษย์จึงลดจำนวนอย่างรวดเร็ว  กอริลลาครอสริเวอร์ก็เช่นกัน มันเป็นชนิดย่อยของกอริลลาเวสเทิร์น (กอริลลาชนิดที่ตัวผู้มีหลังสีเทา)  และเป็นเอปที่หายากที่สุดในโลก  มันเจออันตรายจากพรานป่า และการสูญเสียถิ่นที่อยู่ในประเทศไนจีเรียและแคเมอรูน  แม้ลิงใหญ่ชนิดนี้จะฉลาดขนาดไหน ก็สู้มนุษย์ที่มักจะฉลาดเป็นพิเศษยามความโลภครอบงำไม่ได้  ทำให้จำนวนของมันลดลงไปเรื่อยๆ\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong> <br />\nองค์กรอนุรักษ์หลายแห่งพยายามก่อตั้งอุทยานแห่งชาติให้เป็นที่อยู่อาศัยของมันอย่างเร่งด่วน และมีการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันการล่า\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span></strong><br />\nดูเป็นเรื่องไกลตัวเสียเหลือเกินในการช่วยอนุรักษ์สัตว์ที่เป็นญาติใกล้ตัวเราเช่นนี้  อาจต้องพึ่งหมอผีในแคเมอรูนให้ช่วยปกป้องคุ้มครองกอริลลาแทน  แต่อย่างน้อยเราก็ควรระลึกไว้เสมอว่าเอป เช่น กอริลลา อุรังอุตัง หรือชิมแปนซี ล้วนเป็นสัตว์หายาก ดังนั้นไม่ควรดีใจเมื่อเห็นพวกมันมาแสดงโชว์ในสวนสัตว์\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">2.  โลมาวากิตา</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0vaquita3.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">จำนวนที่เหลืออยู่</span></strong>  150 ตัว<br />\nโลมาหน้าตาคล้ายปลาสวายตัวนี้มีขนาดเล็กที่สุดในโลกและก็หายากที่สุดด้วย  มันยาวเต็มที่ประมาณ 150 เซนติเมตร อาศัยอยู่ตามอ่าวแคลิฟอร์เนียและตอนเหนือของเม็กซิโก  โลมาวากิตาเป็นสัตว์อีกชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์เพราะเจอไซด์เอฟเฟกต์  มันไม่ได้ถูกล่าโดยตรงแต่ประสบเคราะห์กรรมจากการว่ายมาติดตาข่ายจับปลาของชาวประมง ทำให้ลดจำนวนลงไปอย่างรวดเร็วๆ  <br />\nหนึ่งในสาเหตุสำคัญที่ต้องอนุรักษ์ เนื่องจากโลมาวากิตาเป็น “สัตว์ชายขอบ” หรือ Edge species ที่หมายถึงสิ่งมีชีวิตที่มีวิวัฒนาการมาเฉพาะตัว มีญาติน้อย หรือมีรูปร่างและพฤติกรรมประหลาดแตกต่าง (แพนด้ากับตุ่นปากเป็ดก็นับว่าเป็นชนิดชายขอบเช่นกัน) นั่นคือถ้ามันสูญพันธุ์ไปก็จะเสียสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะเฉพาะไป\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong> <br />\nWWF กำลังร่วมกับองค์กรและชาวประมง หาทางอพยพพวกมัน รวมทั้งซื้อตาข่ายจับปลาจากชาวประมง และสร้างทางเลือกในอาชีพให้ชาวประมง เพื่อจะได้หลีกเลี่ยงการจับปลาที่จะทำให้โลมาวากิตาได้รับผลกระทบไปด้วย\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span><br />\n</strong>ทุกวันนี้ชาวประมงก็จับปลาได้น้อยลงแล้ว รายได้ก็ขาดแคลน  ถ้าจะให้เขามาคำนึงเรื่องพวกนี้คงเป็นไปได้ยาก  ไม่เช่นนั้น เราก็ต้องหาทางเลือกในอาชีพให้ชาวประมงที่แคลิฟอร์เนีย  ซึ่งคงยากหน่อยในวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์เช่นนี้  อาจจะทำได้เพียงแค่ฝากความหวังไว้กับบารัก โอบามา ให้แก้ไขปัญหานี้โดยเร็ว\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<strong><span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><u><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #0000ff; background-color: #ccffcc\">1.  แรดชวา</span></span></u></span></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/0rhino1.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">จำนวนที่เหลืออยู่</span></strong>  ไม่เกิน 60 ตัว<br />\nเขาว่ากันว่า “คนไทยถ้าตั้งใจทำอะไร ไม่แพ้ชาติใดในโลก”   เห็นจะจริงครับ น่าภูมิใจที่เรามีส่วนผลักดันให้ แรดชวาติดอันดับ 1  ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมและสัตว์ใหญ่ที่ใกล้สูญพันธุ์ที่สุดบนพื้นพิภพ   แรดชวา ก็คือ แรด ในประเทศไทยนี่แหละ ถึงแม้เราจะพูดกันบ่อยๆ ถึงคำว่า “แรด” แต่ก็แทบไม่เคยเห็นแรดกันจริงๆ เลย (ไม่นับแรดที่กลายพันธุ์มาจากคน) เพราะชาวไทยได้กำจัดพวกมันไปจากประเทศนานแล้ว<br />\nเชื่อไหมว่าแรดชวาเคยเป็นแรดที่มีอาณาเขตที่อยู่อาศัยกว้างมาก ตั้งแต่ตอนใต้ของจีน อินเดีย พม่า ไทย อินโดจีน ไปยังมาเลเซีย และเกาะต่างๆ ของอินโดนีเซีย  แต่ปัจจุบัน มันอาศัยอยู่ในเขตเล็กๆ บนเกาะชวาของอินโดนีเซีย และอีกกระจุกหนึ่งในเวียดนามใต้เท่านั้น (ไม่เกิน 8 ตัว และทั้งหมดนั้นไม่มีตัวผู้เลย!) <br />\nสาเหตุที่มันใกล้สูญพันธุ์เพราะนอ (ซึ่งความจริงเป็นเพียงขนที่อัดแน่น) ของมันขายได้ราคาดีเหลือเกิน ในปัจจุบันนี้ ขายได้ถึง กิโลกรัมละ 30,000 ดอลลาร์ (นับว่าเป็นขนที่มีราคาแพงที่สุดในโลก!)  พรานทั้งหลายจึงไล่ล่ามันอย่างเอาเป็นเอาตาย  นอกจากนี้แหล่งที่อยู่ของมันก็ถูกทำลายไปด้วย \n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">แนวทางอนุรักษ์</span></strong> <br />\nมีการปกป้องพื้นที่อนุรักษ์ในอินโดนีเซียและเวียดนาม เพราะการขยายตัวของประชากรเริ่มเข้าไปใกล้ทุกที รวมทั้งเฝ้าสังเกตแรดและปกป้องมันจากพรานป่า ส่วนการเลี้ยงเพื่อเพาะพันธุ์นั้น ปัจจุบันยังทำไม่ได้\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #990000\">เราพอจะช่วยอะไรได้บ้าง</span></strong><br />\nรู้สึกอย่างไรครับ ถ้าผมจะบอกทุกท่านว่า สายเกินไปแล้วที่จะช่วยไม่ให้มันสูญพันธุ์  ด้วยจำนวนที่เหลืออยู่ เราทำได้เพียงแค่พยายามรักษามันไว้ และนับถอยหลังรอวันที่มันจะจากไป  ที่จริงอาจจะมีความหวังเล็กๆ น้อยๆ อยู่บ้าง แต่ดูแนวโน้มในปัจจุบันแล้วคงเป็นไปได้ยาก เราคงทำได้เพียงแค่ทำใจที่จะไม่มีแรดชวาอีกแล้ว\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img border=\"0\" src=\"http://www.whenifallinlove.net/diary/images_line/line15/60006.gif\" />\n</div>\n', created = 1716729838, expire = 1716816238, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6783b71a227a36430c4b7364cf663ea8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:9d3eae4d016ff60b01c7a1e53fd2ec62' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><strong><u><img src=\"http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/566/21566/images/9animal/00panda.jpg\" /></u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small; color: #990000; background-color: #999999\"><span style=\"background-color: #999999\"><span style=\"color: #ff0000; background-color: #ffffff\">ทาง WWF กองทุนสัตว์ป่าโลก <span style=\"color: #ff9900\">รายงานว่าในปี ค.ศ. 2009 มีสัตว์อยู่ 9 ชนิดที่ต้องเฝ้าระวังกันมากหน่อย</span> ไม่ใช่ว่าสัตว์พวกนี้อันตราย แต่ต้องระวังเพราะมนุษย์กำลังจะทำให้พวกมันสูญพันธุ์ ทั้งจากการล่า การสูญเสียที่อยู่อาศัย และจากภัยอื่นๆ  ซึ่งที่จริงทุกวันนี้ก็มีสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นพันๆ ชนิดอยู่แล้ว  <span style=\"color: #ff9900\">แต่ 9 ชนิดนี้เขาบอกว่าต้องคอยเฝ้าระวังกันเป็นพิเศษ</span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1716729838, expire = 1716816238, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:9d3eae4d016ff60b01c7a1e53fd2ec62' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สัตว์โลกที่ใกล้สูญพันธุ์

ทาง WWF กองทุนสัตว์ป่าโลก รายงานว่าในปี ค.ศ. 2009 มีสัตว์อยู่ 9 ชนิดที่ต้องเฝ้าระวังกันมากหน่อย ไม่ใช่ว่าสัตว์พวกนี้อันตราย แต่ต้องระวังเพราะมนุษย์กำลังจะทำให้พวกมันสูญพันธุ์ ทั้งจากการล่า การสูญเสียที่อยู่อาศัย และจากภัยอื่นๆ  ซึ่งที่จริงทุกวันนี้ก็มีสัตว์ที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นพันๆ ชนิดอยู่แล้ว  แต่ 9 ชนิดนี้เขาบอกว่าต้องคอยเฝ้าระวังกันเป็นพิเศษ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 260 คน กำลังออนไลน์