• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7819280b451f0d3e503682b43a5280bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"></span><span style=\"color: #000000\"><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\"><u>กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจของมนุษย์</u></span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-size: 20pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></b></span> </p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #000000\"><span>        </span></span><span style=\"color: #808000\"><span lang=\"TH\">กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจของมนุษย์ เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่รอบผนังทรวงอก โดยเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากตามปกติแล้วปอดไม่สามารถขยายขนาดเพื่อรับอากาศจากการหายใจได้เอง แต่จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยแรงของกล้ามเนื้อเหล่านี้เพื่อขยายผนังของทรวงอกให้กว้างมากขึ้น และเกิดการลดลงของความดันภายในทรวงอกมากพอจนทำให้อากาศจากภายนอกไหลเข้าสู่ปอดได้ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span style=\"color: #808000\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #ff6600\"><i><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">โครงสร้างหลักของผนังทรวงอกได้แก่</span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></i></span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>1.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">ซี่โครง </span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>2.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง (</span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">intercostal muscles) <span lang=\"TH\">ซึ่งมี </span>2<span lang=\"TH\"> ชั้นคือ ชั้นนอก (</span>External) <span lang=\"TH\">ชั้นใน (</span>Internal) <span lang=\"TH\">และชั้นในสุด   (</span>innermost) <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>3.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">กล้ามเนื้อกระบังลม </span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><span>4.<span style=\"font: 7pt \'Times New Roman\'\">             </span></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\" lang=\"TH\">เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มด้านในของผนังทรวงอก เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด (</span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\">Pleura) <span lang=\"TH\">ซึ่งมีอยู่ </span>2 <span lang=\"TH\">ชั้นคือ ชั้นนอก (</span>Parietal pleura) <span lang=\"TH\">และชั้นใน (</span>Visceral pleura) <span lang=\"TH\">กล้ามเนื้ออื่น ๆ ที่มีส่วนช่วยในกระบวนการหายใจ ได้แก่ กล้ามเนื้อท้อง กล้ามเนื้อรอบกระดูกหน้าอก กล้ามเนื้อบริเวณไหปลาร้าและต้นคอ (</span>Sternocleidomastoid <span lang=\"TH\">และ </span>Scalenus)<o:p></o:p></span></span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></span></span></span>\n</p>\n', created = 1718573629, expire = 1718660029, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7819280b451f0d3e503682b43a5280bd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบอวัยวะ

กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจของมนุษย์

        กล้ามเนื้อที่ใช้ในการหายใจของมนุษย์ เป็นกล้ามเนื้อที่อยู่รอบผนังทรวงอก โดยเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบทางเดินหายใจ เนื่องจากตามปกติแล้วปอดไม่สามารถขยายขนาดเพื่อรับอากาศจากการหายใจได้เอง แต่จะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยแรงของกล้ามเนื้อเหล่านี้เพื่อขยายผนังของทรวงอกให้กว้างมากขึ้น และเกิดการลดลงของความดันภายในทรวงอกมากพอจนทำให้อากาศจากภายนอกไหลเข้าสู่ปอดได้

โครงสร้างหลักของผนังทรวงอกได้แก่1.             ซี่โครง 2.             กล้ามเนื้อที่ยึดระหว่างซี่โครง (intercostal muscles) ซึ่งมี 2 ชั้นคือ ชั้นนอก (External) ชั้นใน (Internal) และชั้นในสุด   (innermost) 3.             กล้ามเนื้อกระบังลม 4.             เนื้อเยื่อที่ห่อหุ้มด้านในของผนังทรวงอก เรียกว่า เยื่อหุ้มปอด (Pleura) ซึ่งมีอยู่ 2 ชั้นคือ ชั้นนอก (Parietal pleura) และชั้นใน (Visceral pleura) กล้ามเนื้ออื่น ๆ ที่มีส่วนช่วยในกระบวนการหายใจ ได้แก่ กล้ามเนื้อท้อง กล้ามเนื้อรอบกระดูกหน้าอก กล้ามเนื้อบริเวณไหปลาร้าและต้นคอ (Sternocleidomastoid และ Scalenus) 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 566 คน กำลังออนไลน์