• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:158167fad7c0fa3d2e92b25799408bbd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><center><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #cc00cc; font-size: medium\"><u>ประเทศติมอร์ตะวันออก(East Timor)</u></span></strong></span></center></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #cc00cc\">ชื่อทางการ</span></strong> <br />\n<span style=\"color: #ff99cc\">สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (Democratic Republic of Timor-Leste)</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #cc00cc\">ตราแผ่นดิน</span></strong><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"84\" width=\"85\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/bd/Coat_of_arms_of_East_Timor.svg/85px-Coat_of_arms_of_East_Timor.svg.png\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 134px; height: 134px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #cc00cc; font-size: small\"><strong>ธงชาติประจำประเทศ</strong></span>\n</p>\n<p><center style=\"text-align: center\"><img height=\"63\" width=\"125\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/26/Flag_of_East_Timor.svg/125px-Flag_of_East_Timor.svg.png\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 366px; height: 158px\" /></center></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc00cc; font-size: small\"><strong><u>ที่ตั้ง</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff99cc\">ประเทศติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศหมู่เกาะ <span style=\"color: #800080\">จัดเป็นเกาะในกลุ่มเกาะอินโดนีเชีย</span> เรียกว่า เกาะติมอร์ ลองจิจูด 123 องศาตะวันออก และละติจูด 9 องศาใต้อาณาเขต ทิศเหนือ ตะวันออก และตะวันตกจดอินโดนีเซีย ทิศใต้ใกล้กับออสเตรเลีย (ช่อง แคบห่าง 600 กม.) ด้วยเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะขนาดเล็ก เกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางตะวันออกประมาณ 2,100 กิโลเมตร ประเทศติมอร์ตะวันออกประกอบไปด้วยดินแดนส่วนปลายด้านตะวันออกของเกาะติมอร์ และมีดินแดนส่วนแยกเขตโอกุสซีที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือของติมอร์ตะวันตกซึ่งอยู่ในการปกครองของประเทศอินโดนีเซีย <br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #6699ff; font-size: large\"><strong><u>ขนาดพื้นที่</u></strong></span><br />\n<span style=\"color: #66ccff\">14,874 ตารางกิโลเมตร (5,980 ตารางไมล์) (ลำดับที่ 159) ส่วนใหญ่เป็นเทือกเขายอดสูงสุด 3,000 เมตร พื้นที่ราบจะอยู่ตามแนวชายฝั่งทะเล ประกอบ ด้วยพื้นที่บนเกาะใหญ่ ที่เรียกกันว่าโปรตุเกสติมอร์ และเกาะเล็กๆ อีก 2 เกาะ คือ อาตาอูโร นอกชายฝั่งตอนเหนือห่างจากกรุงดิลีราว 20 กม. และ เกาะจาโค ปลายสุดด้านทิศตะวันออกของเกาะใหญ่</span></span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"267\" width=\"188\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcQr5OuSbsQRWboHlz1fXT9r7j45eT72cBkFyWo_rjCfFGzxs_AT\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 223px; height: 318px\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><br />\n<span style=\"color: #6699ff; font-size: large\"><strong><u>ภูมิอากาศ<br />\n</u></strong></span><span style=\"color: #0099cc\">ประเทศติมอร์ตะวันออกมีเพียงสองฤดู เช่นเดียวกับทางภาคใต้ของประเทศไทย คือมีฤดูฝน และฤดูแล้งเหมือนประเทศไทย ภูมิอากาศบางแห่งมีภูมิอากาศแบบสะวันนา ด้วยเหตุที่ได้รับลมแล้งจากทะเลทรายทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย <br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0000ff; font-size: large\"><strong><u>ประชากร<img height=\"180\" width=\"240\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcTzTHvvw-xaQKFAfgUYlw5tQom6XF9QL0FGedMOgCT_z6A2LtcP6w\" align=\"right\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /></u></strong></span><br />\n<span style=\"color: #3366ff\">1,040,880 (อันดับที่ 153) - ความหนาแน่น 69/กม.² (อันดับที่ 128) (ก.ค. 2548 ประมาณ)<br />\n</span><span style=\"color: #0066ff\"></span><span style=\"color: #0099ff\">ประเทศติมอร์ตะวันออกมีประชากรประมาณ 1,040,880 คน โดยประชากรมีความหลากหลายทางด้านชาติพันธุ์ และภาษาที่มีถึง 30 กลุ่ม โดยต่างคนต่างอยู่ นอกจากนี้ยังมีชุมชนชาวติมอร์เชื้อสายจีน และคนไทยในกรุงดิลี ส่วนภาษาราชการนั้นไม่เป็นที่ตกลงแน่นอนว่าจะใช้ภาษาใดเป็นภาษาราชการ แต่ภาษาที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในติมอร์ตะวันออก คือ ภาษาเตตุม ภาษาโปรตุเกส ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาอังกฤษ โดยสองภาษาหลังนี้ทางการถือเป็นภาษาปฏิบัติการ นอกจากนี้ยังมีภาษาของชนเผ่าพื้นเมืองต่างๆที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #0099ff\"><img height=\"183\" width=\"275\" src=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcScBFacATDH27RNoSQcQwakcP_GoV1o5u093Z4_CeEdUPJYIrIl\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 260px; height: 161px\" /><img height=\"191\" width=\"264\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSgDyQBJWFH07U2V0ImdwISelukBCRl_eLUUOq_TFvNAtKgMgcs\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 246px; height: 166px\" /><br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #66cc33\"><strong><span style=\"font-size: large\"><u>วัฒนธรรม</u></span></strong><br />\n</span></span><span style=\"font-size: medium\">          <span style=\"color: #cccc33\">ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกส่วนใหญ่อาศัยอยู่ตามชนบท โดยส่วนมากยังทำการเกษตรแบบดั้งเดิม และพึ่งพาตนเอง มีการศึกษาต่ำ มีการจับปลาและเลี้ยงสัตว์ ผู้คนส่วนใหญ่ค้าขายไม่เป็น ไม่มีความรู้เกี่ยวกับอุตสาหกรรม เครื่องจักรกล แต่ชาวติมอร์ตะวันออกนั้นมีความเคารพในระบบอาวุโส มีระบบเครือญาติที่แข็งแกร่ง รักพวกพ้อง รักขนบธรรมเนียมประเพณีดั้งเดิม โดยสตรีชาวติมอร์นั้นจะทำงานหนักในขณะที่บุรุษมักไม่ค่อยช่วยงานบ้าน</span><br />\n</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><img height=\"194\" width=\"259\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSTBV3COa8_52RXlpfhMvmAl8SfUp3Wa0SlFTPy4L-_OaQ0eNnV\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 243px; height: 171px\" /><img height=\"194\" width=\"259\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSWj8iaV7ZmBeg32rQ0v_YZJq_0j23ys0TIFv8GfkeuNHYu5MzS\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 258px; height: 174px\" /></span>\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 18pt\"><span style=\"color: #ff9900\"><u>ศาสนา</u></span></span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 18pt\"><span style=\"color: #ff9900\"></span></span></b><b><span style=\"font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span></b>  </p>\n<div align=\"center\">\n<table cellPadding=\"0\" cellSpacing=\"0\" border=\"1\" class=\"MsoTableGrid\" style=\"border-collapse: collapse; border: medium none\">\n<tbody>\n<tr>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 142pt; padding-right: 5.4pt; padding-top: 0cm; border: windowtext 1pt solid\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ศาสนา</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></strong></span> </td>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"border-bottom: windowtext 1pt solid; border-left: #e0dfe3; padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 142.05pt; padding-right: 5.4pt; border-top: windowtext 1pt solid; border-right: windowtext 1pt solid; padding-top: 0cm\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong>จำนวนศาสนิก<o:p></o:p></strong></span></span> </td>\n</tr>\n<tr>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"border-bottom: windowtext 1pt solid; border-left: windowtext 1pt solid; padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 142pt; padding-right: 5.4pt; border-top: #e0dfe3; border-right: windowtext 1pt solid; padding-top: 0cm\">\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">นิกายโรมันคาทอลิก</span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">นิกาย</span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">โปรเตสแตนต์</span></span> </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">นับถือผี/ไสยศาสตร์</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ศ</span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">าสนาอิสลาม</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ศาสนาพุทธ</span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span></span><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู</span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">อื่นๆ<o:p></o:p></span></span> </p></td>\n<td width=\"189\" vAlign=\"top\" style=\"border-bottom: windowtext 1pt solid; border-left: #e0dfe3; padding-bottom: 0cm; background-color: transparent; padding-left: 5.4pt; width: 142.05pt; padding-right: 5.4pt; border-top: #e0dfe3; border-right: windowtext 1pt solid; padding-top: 0cm\">\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">715,285 <span lang=\"TH\">คน</span></span></span>\n </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">16,616 <span lang=\"TH\">คน</span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">5,883 <span lang=\"TH\">คน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A1\" title=\"ศาสนาอิสลาม\"></a></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">2,455 <span lang=\"TH\">คน</span></span></span> <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">484 <span lang=\"TH\">คน</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><a href=\"http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%93%E0%B9%8C-%E0%B8%AE%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B9\" title=\"ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู\"></a></span> </p>\n<p align=\"left\">\n <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">191 <span lang=\"TH\">คน</span></span></span>\n </p>\n<p> <span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\"><span lang=\"TH\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #ff6600\">616 <span lang=\"TH\">คน<o:p></o:p></span></span></span> </p></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6600; font-size: large\"><strong><u>ทรัพยากรธรรมชาติเศรษฐกิจ</u></strong></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"font-size: large\"></span></u></strong></span></p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ffcc33\"> ลู่ทางการค้าการลงทุนในติมอร์ตะวันออกที่มีศักยภาพ คือ ไร่กาแฟ การประมง ธุรกิจการท่องเที่ยว รวมถึงแหล่งทรัพยากรประเภทน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติใน เขต Timor Gap ซึ่งอยู่ระหว่างติมอร์ตะวันออกกับออสเตรเลีย อย่างไรก็ดี ธุรกิจเหล่านี้ยังจำเป็นต้องได้รับการพัฒนา และการสนับสนุนด้านการเงินจากนักลงทุนภายนอกอยู่มาก เนื่องจากติมอร์ตะวันออกยังขาดเงินทุน และชาวติมอร์ตะวันออกยังขาดทักษะในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กอปรกับในปัจจุบันมีอัตราผู้ว่างงานสูงประมาณร้อยละ 80 ซึ่งในส่วนของนักธุรกิจไทยจำเป็นต้องศึกษาความเป็นไปได้ของระเบียบรวมถึง อุปสรรคดังกล่าวต่าง ๆ ข้างต้น เพื่อประกอบการพิจารณาถึงความเสี่ยงในการลงทุนในติมอร์เลสเต และขณะนี้สินค้าส่วนใหญ่ในติมอร์ตะวันออกนำเข้าจากออสเตรเลีย เพื่อรองรับการบริโภคของคณะเจ้าหน้าที่จากสหประชาชาติและคณะทูตที่ปฏิบัติ งานในติมอร์ตะวันออก      ทรัพยากรทางธรรมชาติของติมอร์ตะวันออกคือ น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ ซึ่งอาจมีมากไม่แพ้ประเทศบรูไนที่อยู่ในทะเลลึกที่เรียกว่า Timor Gap ซึ่งอยู่ครึ่งทางระหว่างติมอร์ตะวันออกกับประเทศออสเตรเลีย ส่วนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ กาแฟ มะพร้าว โกโก้ ข้าวโพด และปศุสัตว์ที่สำคัญได้แก่ โค กระบือ แกะ ม้า และทรัพยากรสัตว์น้ำที่มีอยู่มากมาย</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ffcc33\"><img height=\"188\" width=\"227\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcR30Jc6W1N9fSEbs4Ccd_zQ4XN6lKDEbEXGFFA5HjI-NznCo61Bvg\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /><img height=\"194\" width=\"259\" src=\"http://t3.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRsYxovv2E9esBj9heO6waqx3T3KbIgcD-ic2h7EugseqnME-E5\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /><br />\n<img height=\"183\" width=\"275\" src=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcThWeUGO2H7mizvQAQBUbemCPxMlbMwinc1dvblMw0eGBTRh_qu\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /></span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"color: #ff6600; font-size: large\">การเมืองการปกครอง</span></u></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ff6633\"> <span style=\"color: #e05900\">ปัจจุบันประเทศติมอร์ตะวันออกมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่ด้วยความที่เป็นประเทศใหม่ ซึ่งต้องเผชิญกับเหตุการณ์สงครามกลางเมือง และการรุกรานจากประเทศอื่น เพื่อให้การดำเนินการในติมอร์ตะวันออกเป็นไปโดยสงบ องค์การสหประชาชาติโดยสำนักงานโครงการเพื่อสนับสนุนภารกิจของในติมอร์ตะวันออก (United Nation Mission of Support in East Timor : UNMISET) เป็นหน่วยงานที่คอยให้การสนับสนุนการดำเนินการต่างๆในติมอ์ตะวันออกให้เป็นไปอย่างเรียบร้อย ประเทศติมอร์ตะวันออกเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติเมื่อวันที่ 27 กันยายน ค.ศ. 2002ติมอร์ตะวันออกแบ่งเขตการปกครองเป็น 13 เขต (administrative districts) ดังนี้</span>   <br />\n</span>         <span style=\"color: #ff6600\">  </span><span style=\"color: #ff6666\">  1. เขตเลาเตง<br />\n             2. เขตเบาเกา<br />\n             3. เขตวีเกเก<br />\n             4. เขตมานาตูโต<br />\n             5. เขตดิลี<br />\n             6. เขตไอเลอู<br />\n             7. เขตมานูฟาอี<br />\n             8. เขตลีกีซา<br />\n             9. เขตเอร์เมรา<br />\n            10. เขตไอนาโร<br />\n            11. เขตโบโบนาโร<br />\n            12. เขตโกวา-ลีมา<br />\n            13. เขตโอเอกุสซี-อัมเบโน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff6666\"><img height=\"162\" width=\"350\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/b8/Timor-Leste_districts_numbered.png/350px-Timor-Leste_districts_numbered.png\" align=\"baseline\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /><br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"color: #ff0000; font-size: large\">ผู้นำประเทศ</span></u></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"font-size: large\"></span></strong></span></p>\n<p>\n<br />\n     <span style=\"color: #ff6666\">ประธานาธิบดี       เคย์ ราล่า ซานานา กุสเมา    <br />\n     นายกรัฐมนตรี      โจเซ รามอส-ฮอร์ตา</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<strong><u><span style=\"color: #ff0000; font-size: large\">ประวัติศาสตร์ความเป็นมา</span></u></strong>\n</p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ff6666\">ติมอร์ตะวันออกเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2063 (ค.ศ. 1520)ภายหลังโปรตุเกตุถอนตัวออกไปเมื่อปี พ.ศ. 2518    อินโดนีเซียได้ส่งทหารเข้ายึดครองติมอร์โดยผนวกเข้าเป็นจังหวัดที่ 27  อย่างไรก็ดี เมื่อรัฐบาลอินโดนีเซียยินยอมให้ชาวติมอร์ตะวันออกลงประชามติเพื่อแยกตัวเป็นเอกราชจากอินโดนีเซีย ในวันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2542 ประชาชนชาวติมอร์ตะวันออกกว่าร้อยละ 80 ออกเสียงสนับสนุนการแยกตัวเป็นเอกราช จึงก่อให้เกิดเหตุการณ์รุนแรงในติมอร์ตะวันออกโดยกลุ่มกองกำลัง militia ที่นิยมอินโดนีเซีย สหประชาชาติได้ตัดสินใจจัดตั้งกองกำลังนานาชาติ International Force in East Timor – INTERFET) เมื่อ 15 กันยายน 2542เพื่อส่งเข้าไปรักษาสันติภาพในติมอร์ตะวันออก ก่อนที่จะประกาศเอกราชในวันที่ 20 พฤษภาคม 2545 ในขณะนี้สหประชาชาติดำเนินการสนับสนุนติมอร์ตะวันออกภายใต้ United Nations Mission of Support in East Timor (UNMISET) ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2545<br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff6699\"><span style=\"color: #ff6699; font-size: medium\">            วิกฤตการเมืองพ.ศ. 2549 ความวุ่นวายได้เริ่มขึ้นในติมอร์ตะวันออกเมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2549 หลังจากที่การชุมนุมเพื่อสนับสนุนทหารติมอร์ตะวันออก 600 นาย ซึ่งถูกปลดออกจา<img height=\"196\" width=\"160\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRHE5QDOdTppqX0vX3CQ0Vdppw73qM1Nklmvrs6Cbhb0eY0uoBqoQ\" align=\"right\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" />กราชการเนื่องจากหนีทัพกลายเป็นการจลาจลที่มีผู้เสียชีวิต 5 คน และมีมากกว่า 20,000 คนที่หนีจากบ้านของตัวเอง การต่อสู้อันรุนแรงระหว่างทหารที่สนับสนุนรัฐบาลและทหารฟาลินติลที่ไม่พอใจ ได้เกิดขึ้นเมื่อ พฤษภาคม 2549 แม้ว่าจะยังไม่มีความชัดเจน แรงจูงใจเบื้องหลังการต่อสู้ คาดว่าจะเป็นการกระจายของกองทุนน้ำมั<img height=\"277\" width=\"182\" src=\"http://t1.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSV8HXLV-Buy-NmOhXpJL2DXHkj24fCXa32TfcIfVxT2NT4WJh61g\" align=\"left\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" />น และการจัดการไม่ดีของกองทัพและตำรวจติมอร์ ซึ่งรวมถึงตำรวจอินโดนีเซียเดิม และกบฎติมอร์เดิม นายกรัฐมนตรี มารี อัลกาติรี ได้เรียกความรุนแรงนี้ว่าเป็นการรัฐประหาร และได้ยอมรับความช่วยเหลือจากกองทัพจากต่างประเทศหลายชาติ ณ วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 ประเทศออสเตรเลีย โปรตุเกส นิวซีแลนด์ และมาเลเซียได้ส่งทหารไปยังติมอร์ เพื่อปราบปรามความไม่สงบ เมื่อวันที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2549 ประธานาธิบดีซานานา กุสเมา ได้ขอร้องอย่างเป็นทางการให้นายกรัฐมนตรีมารี อัลคาทีรี ลาออกซึ่งสมาชิกพรรคเฟรติลินส่วนใหญ่ได้ข้อรองให้นายกรัฐมนตรีลาออก โดยกล่าวหาว่า ได้พูดเท็จเกี่ยวกับการกระจายอาวุธให้พลเรือน เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2549 นายกรัฐมนตรีมารี อัลกาติรี</span> ได้ลาออกโดยกล่าวว่า เป็นไปเพื่อหลีกเลี่ยงการลาออกของประธานาธิบดี    โจเซ รามอส ฮอร์ตา ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่เมื่อ วันที่ 8   กรกฎาคม พ.ศ. 2549 </span></span></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #993366; font-size: large\"><strong><u>ความสัมพันธ์กับประเทศไทย</u></strong></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: large\"><strong><u><img height=\"233\" width=\"217\" src=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcThdBUd4ySx08GBdAz0eH3PFwAGzR281LGMSruweraQ6qDxvt7c\" align=\"baseline\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /></u></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: large\"><strong><u><br />\n</u></strong></span>          <span style=\"color: #cc99ff\"> เมื่อเดือนพฤษภาคม 2542 ไทยเข้าร่วม UN Mission in East Timor (UNAMET)  ซึ่งเข้าไปทำหน้าที่ดูแลการลงประชามติเพื่อกำหนดใจตนเองในติมอร์ตะวันออก ต่อมาเมื่อเกิดเหตุการณ์รุนแรง ไทยเข้าร่วมกองกำลังนานาชาติ (International Force in East Timor : INTERFET) จัดตั้งโดยคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติกองกำลังดังกล่าวนำโดยออสเตร<img height=\"240\" width=\"200\" src=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcRvzQMTZow9ovYjz1cLU9dhDtUtsWEytb5rXwwkLp7oaX4nWhW9\" align=\"right\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" />เลีย โดยพลตรีทรงกิตติ จักกาบาตร์ ดำรงตำแหน่งรองผู้บังคับบัญชากองกำลัง INTERFET อมาเมื่อคณะมนตรีความมั่นคงฯ มีข้อมติที่ 1272(1999) จัดตั้ง UN Transitional Administration in East Timor (UNTAET)  ไทยได้ส่งกองกำลังไทย 972 / ติมอร์ตะวันออก เข้าร่วม และได้รับมอบหมายให้ดูแล Sector East<br />\nและเมืองเบาเกา โดยมีสายงานบังคับบัญชากองกำลังเกาหลีใต้ และฟิลิปปินส์ ด้วย  นอกจากนั้น ไทยยังได้ส่งเจ้าหน้าที่ตำรวจพลเรือนไปปฏิบัติหน้าที่ใน UNTAET ประมาณ 50 คน และ พลโท บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ได้รับแต่งตั้งจากสหประชาชาติให้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลัง UNTAET ระหว่างวันที่ 20 กรกฎาคม 2543 – วันที่ 31 สิงหาคม 2544 </span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\"><img height=\"264\" width=\"191\" src=\"http://t0.gstatic.com/images?q=tbn:ANd9GcSbIU9CR4kEW_See_j2hyEOArzuI_tp5F-uDgi5b8ZFhtnjMec\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #33cccc\">               ต่อมา พลโท วินัย ภัททิยกุล ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งแทน ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2544 ขณะนี้ มีทหารไทยปฏิบัติหน้าที่ในติมอร์ตะวันออกประมาณ 700 คน นอกเหนือไปจากภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากสหประชาชาติแล้ว ทหารไทยยังได้ให้ความช่วยเหลือในด้านการพัฒนาโดยให้ คำแนะนำทางการเกษตรแก่ชาวติมอร์ตะวันออกในพื้นที่รับผิดชอบ โดยได้รับความร่วมมือจากโครงการไทยบรรเทาทุกข์ : น้ำใจสู่ติมอร์ฯ ที่ให้การสนับสนุนเมล็ดพันธุ์พืช และอื่น ๆ นอกจากนั้น ไทยยังได้ส่ง fact-finding mission ไปติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศแรกของอาเซียน เพื่อสำรวจความต้องการความช่วยเหลือของติมอร์ตะวันออก ในชั้นนี้ ไทยมีโครงการให้ความช่วยเหลือติมอร์ตะวันออก ได้แก่ โครงการฝึกอบรมการจัดตั้งหมู่บ้านป้องกันตนเอง การฝึกอบรมด้านเกษตรและสาธารณสุข รวมถึงการแสวงหาความร่วมมือกับประเทศอื่นในรูปแบบไตรภาคีเพื่อขยายโครงการความช่วยเหลือใหม่ ๆ  โดยเน้นโครงการสร้างสมรรถนะ (capacity-building) ของติมอร์ตะวันออก</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-size: large\"><strong><u>กรณีตัวอย่างความสัมพันธ์กับประเทศไทย</u></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong><u><span style=\"font-size: large\"></span></u></strong><br />\n    <span style=\"color: #3366ff\"><strong> </strong></span></span><span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #3366ff\"><strong>1. การเยือนประเทศไทยของผู้แทนพิเศษเลขาธิการสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก</strong><br />\n         กระทรวงการต่างประเทศ - พุธที่ 22 ธันวาคม 1999 14:01:06 น.<br />\n         นาย Vieira de Mello ผู้แทนพิเศษเลขาธิการสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก (UN Transitional Administration in East Timor:UNTAET) จะเดินทางมาเยือนประเทศไทย ระหว่างวันที่ 24-25 ธันวาคม 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงความขอบคุณรัฐบาลไทยที่ได้ให้การสนับสนุนการ ปฏิบัติการขององค์การสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออก ในฐานะที่ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติการในติมอร์ตะวัน ออกประเทศหนึ่ง<br />\n     นอกจากนี้ ยังมีกำหนดการหารือข้อราชการกับเจ้าหน้าที่ระดับสูงของไทย ในวันที่ 24 ธันวาคม 2542 ดังนี้<br />\n           09.00 น. เข้าเยี่ยมคารวะและหารือข้อราชการกับ ฯพณฯ นายชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ที่ห้องสีม่วง ทำเนียบรัฐบาล<br />\n           10.00 น. เข้าเยี่ยมคารวะและหารือข้อราชการกับ ฯพณฯ นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ณ กระทรวงการต่างประเทศ<br />\n           11.00 น. แถลงข่าวต่อสื่อมวลชน ณ กระทรวงการต่างประเทศ<br />\n           12.00 น. ฯพณฯ ม.ร.ว. สุขุมพันธุ์ บริพัตร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นเจ้าภาพเลี้ยงอาหารกลางวันเพื่อเป็นเกียรติ ณ กระทรวงการต่างประเทศ<br />\n           14.00 น. เข้าเยี่ยมคารวะและหารือข้อราชการกับผู้บัญชาการทหารสูงสุด <br />\n     การเยือนของผู้แทนพิเศษเลขาธิการสหประชาชาติในติมอร์ตะวันออกครั้งนี้ เป็นการแสดงให้เห็นว่า เจ้าหน้าที่ระดับสูงของสหประชาชาติได้ให้ความสำคัญต่อการเข้าร่วม UNTAET ของประเทศไทย และภายหลังการเยือนนาย Vieira de Mello จะเดินทางกลับไปยังติมอร์ตะวันออก<br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\">     <strong><span style=\"color: #808000\">2. การเปิดฉากความสัมพันธ์ครั้งแรก ระหว่างไทยกับติมอร์ตะวันออก<br />\n</span></strong>           <span style=\"color: #99cc00\">ประเทศไทยได้รับการสนับสนุนให้ส่งทหารเข้าร่วมในกองกำลังนานาชาติ (Interfet) ในติมอร์ตะวันออก มีพลเอกทรงกิตติ จักกาบาตร์ เป็นรองผู้บังคับบัญชากองกำลัง รัฐบาลไทยตัดสินใจส่ง \'กองกำลังเฉพาะกิจร่วม 972 ไทย/ติมอร์ตะวันออก\' โดยมีทหารไทยเข้าร่วมถึง 1,581 คน เพื่อประกอบภารกิจสร้างสันติภาพและอธิปไตย รวมทั้งช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ซึ่งได้สร้างความประทับใจให้แก่ชาวติมอร์ตะวันออกอย่างมาก เพราะทหารไทยเป็นเพียงกองทัพเดียวที่ไม่ได้เข้าไปดูแลความสงบเรียบร้อยเท่านั้น แต่ยังดูแลความเป็นอยู่ ทุกข์สุขของชาวติมอร์ตะวันออกด้วย <br />\n          ทหารไทยนำภูมิปัญญาพื้นบ้านไทยที่คนส่วนใหญ่มองว่าเก่า ไปสร้างความใหม่ให้แก่ชาวติมอร์ตะวันออก เช่น สอนให้ใช้ควายไถนาจากแต่เดิมใช้ม้าย่ำในแปลงข้าว สอนให้ใช้อวนลากจับปลา จากแต่เดิมใช้ฉมวกแทง รวมไปถึงวิธีทำอาหาร ปั้นโอ่ง เลี้ยงปลา จักสาน ปลูกพืชผักสวนครัว อีกทั้งยังอัญเชิญแนวพระราชดำริทฤษฎีใหม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ไปถ่ายทอดแก่ชาวติมอร์ตะวันออกด้วย </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\"></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"323\" width=\"450\" src=\"http://www.marinerthai.com/sara/pics/knd003.jpg\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" />\n</div>\n<p>\n\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"color: #ffcc00; font-size: medium\">       ติมอร์ตะวันออกใช้ชื่อประเทศอย่างเต็มตัว เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม ค.ศ.2002 ซึ่งเป็นวันที่ได้รับเอกราชอย่างเป็นทางการ โอกาสนี้ประเทศไทยได้เปิดความสัมพันธ์ทางการทูตกับติมอร์ตะวันออกในวันต่อมา เปิดฉากความสัมพันธ์อย่างเป็นทางการระหว่างชาติทั้งสองเป็นครั้งแรก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><br />\n<span style=\"color: #ffcc00\">       จวบจนปัจจุบัน ไทยกับติมอร์ตะวันออกยังมีความสัมพันธ์ที่ดีสืบต่อมา โดยเฉพาะการแลกเปลี่ยนความรู้วิทยาการต่างๆ เนื่องจากติมอร์ตะวันออกเป็นดินแดนที่เพิ่งเกิดใหม่ สิ่งสำคัญในการสร้างประเทศก็คือ โครงสร้างพื้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และทุนเชิงสังคม (Social Capital) <br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"color: #ff6600\">เอกอัครราชทูตประจำประเทศไทย</span></u></strong><br />\n       <span style=\"color: #ff6666\">นายจวล เฟรตัส เด คามารา (Joao Freitas de Camara)<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"color: #ff6600\">สกุลเงิน<br />\n</span></u></strong>       <span style=\"color: #ff6666\">ดอลลาร์สหรัฐ (USD)</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<strong><u><span style=\"color: #ff6600\">คำขวัญ<br />\n</span></u></strong>       <span style=\"color: #ff6666\">Unidade,  Acção ,Progresso  (โปรตุเกส: เอกภาพ การกระทำ ความก้าวหน้า)</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u><span style=\"color: #ff6600\">เพลงชาติ</span></u></strong>        <span style=\"color: #ff6666\">Pátria </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong><u><span style=\"color: #ff6600\">ภาษาราชการ</span></u></strong>  <span style=\"color: #ff6666\">ภาษาเตตุมและภาษาโปรตุเกส<br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #ff3399; font-size: large\"><strong><u>ผู้นำทางการเมืองคนสำคัญ</u></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"font-size: large\"></span></u></strong><br />\n       <span style=\"color: #ff6699\">1. นายฟรานซิสโก กูเทอเร็ส (Francisco Guterres) -- ประธานสภาผู้แทน (Assembly Speaker)<br />\n</span>       <span style=\"color: #ff9999\">2. นางอานา เปสโซ (Ana Pessoa) -- รัฐมนตรีประจำประธานคณะรัฐมนตรี (ระดับรองนายกรัฐมนตรี)<br />\n</span>       <span style=\"color: #ffcc99\">3. นายโจเซ หลุยส์ กูเทอเร็ส (José Luis Guterres) -- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและความร่วมมือ (Minister for Foreign Affairs and Cooperation) <br />\n</span>      <span style=\"color: #ff3399\"> <span style=\"color: #ff9999\">4. นายโดมิงโกส ซาเม็นโต (Mr. Domingos Sarmento) -- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม</span> <br />\n</span>       <span style=\"color: #ff3399\">5. นายอามินโด แมร์ (Dr. Armindo Maia) -- รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ วัฒนธรรม เยาวชน และการกีฬา<br />\n</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong>      <span style=\"color: #3300ff\">รูปแบบการปกครอง</span></strong><span style=\"color: #3300ff\"> ประชาธิปไตย โดยมีสำนักงาน United Nations Integrated Mission in Timor-Leste (UNMIT) สนับสนุน</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<b>      <span style=\"color: #3366ff\">ประมุข (ประธานาธิบดี)</span></b><span style=\"color: #3366ff\"> นายเคย์ ราล่า ซานานา กุสเมา (Kay Rala Xanana Gusmao) – ได้รับเลือกเมื่อวันที่ 14 เมษายน 2545 และสาบานตนเข้ารับตำแหน่งเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2545</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<b>     <span style=\"color: #3399ff\"> หัวหน้ารัฐบาล (นายกรัฐมนตรี)</span></b><span style=\"color: #3399ff\"> นายโจเซ รามอส-ฮอร์ตา (Jose Ramos-Horta (ได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2549)<br />\n<b> </b></span>\n</p>\n<p>\n<b>      <span style=\"color: #33ccff\">หัวหน้า UNMIT</span></b><span style=\"color: #33ccff\"> นาย Atul Khare (ชาวอินเดีย ได้รับแต่งตั้งเมื่อ 6 ธันวาคม 2549)</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #99cc00\"><span class=\"goog_qs-tidbit-0\"><span class=\"goog_qs-tidbit-0\"><strong>วันสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทย- ติมอร์ตะวันออก</strong></span></span><span class=\"goog_qs-tidbit-0\"><span class=\"goog_qs-tidbit-0\"> 20 พฤษภาคม 2545 ที่กรุงดิ</span></span>ลี</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99cc66\"><b>เอกอัครราชทูตไทยประจำติมอร์ตะวันออก</b> นายวิวัฒน์ กุลธรเธียร (Mr. Wiwat Kunthonthien)</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #99cc99\"><b>สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงดิลี</b> (เปิดเมื่อ 28 ตุลาคม 2545) <br />\nRoyal Thai Embassy<br />\nAvenida de Portugal Road, Motael</span>,<br />\n<span style=\"color: #99cccc\">Dili, Timor-Leste<br />\nโทร. +670 3310609<br />\nโทรสาร +670 3322179</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\">  <span style=\"color: #ff6666\">        - เมื่อ 20 พฤษภาคม 2545 ระหว่างการเข้าร่วมพิธีฉลองเอกราชของติมอร์-เลสเต ฯพณฯ รัฐมนตรีว่าการฯ (ดร. สุรเกียรติ์ เสถียรไทย) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศและความร่วมมือของติมอร์-เลสเต (นายโฮเซ รามอส-ฮอร์ตา) ได้ร่วมลงนามในปฏิญญาสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต ไทยได้ลงร่วมลงนามเป็นประเทศที่ 3 รองจากจีนและนอร์เวย์ ซึ่งเป็นการแสดงให้ติมอร์-เลสเตเห็นว่า ไทยให้ความสำคัญกับการมีความสัมพันธ์ทางการทูตตั้งแต่วันแรกที่ติมอร์-เลสเตเป็นประเทศเอกราช<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #ff9999\">          - ประเทศไทย โดยกระทรวงการต่างประเทศ ได้ใช้บทบาททางการทูตในการปูทางเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์กับผู้นำและประชาชนชาวติมอร์-เลสเตมาโดยตลอด โดยได้เข้ามีบทบาทด้านการทูตภายหลังการเกิดความไม่สงบในการลงประชามติในการตัดสินใจส่งกองทหารไทยเข้าร่วมในกองกำลัง INTERFET ภายใต้คำขอของประธานาธิบดีอินโดนีเซียขณะนั้น และในฐานะประธานคณะกรรมการประจำอาเซียน (ASEAN Standing Committee – ASC) ระหว่างปี 2542 – 2543 ในการประสานกับรัฐบาลอินโดนีเซียและสหประชาชาติ เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาความไม่สงบในติมอร์-เลสเต นอกจากนี้ ฝ่ายไทยได้เชิญนายกุสเมา ในฐานะประธานพรรค CNRT เดินทางเยือนประเทศไทย ระหว่าง 1-4 กุมภาพันธ์ 2543 ในฐานะแขกของกระทรวงการต่างประเทศ และเชิญนายโฮเซ รามอส-ฮอร์ตา ในฐานะรองประธานพรรค CNRT เข้าร่วมประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา (UNCTAD) ครั้งที่ 10 ที่กรุงเทพฯ ระหว่าง 10-15 กุมภาพันธ์ 2543 และนาย Sergio Vieira de Mello ผู้แทนพิเศษสหประชาชาติประจำ UNTAET นายกุสเมาและนายรามอส-ฮอร์ตา เข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting – AMM) ครั้งที่ 33 ระหว่าง 24-25 กรกฎาคม 2543 ที่กรุงเทพฯ ในฐานะแขกของประเทศไทย</span></span></p>\n<p>         <span style=\"color: #cc9999\"> - ด้วยเหตุผลข้างต้น ความสัมพันธ์ระหว่างไทยและติมอร์-เลสเตดำเนินไปได้ด้วยดี ผู้นำติมอร์-เลสเตมีทัศนคติที่ดีต่อไทย นับตั้งแต่ไทยเข้าไปมีบทบาทในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงในติมอร์-เลสเต เมื่อปี 2542 โดยมีนายทหารไทยดำรงตำแหน่งสำคัญในกองกำลังรักษาสันติภาพ คือ พลตรี ทรงกิตติ จักกาบาตร์ ดำรงตำแหน่งรองผู้บัญชาการกองกำลัง INTERFET พลโท บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ ได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลัง UNTAET ในช่วงกรกฎาคม 2543 – สิงหาคม 2544 และพลโท วินัย ภัททิยกุล ได้ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการกองกำลัง UNTAET/UNMISET ระหว่างกันยายน 2544 - สิงหาคม 2545 กองกำลังทหารไทยได้รับการยอมรับจากชาวติมอร์-เลสเตอย่างมาก โดยเฉพาะในกิจการด้านพลเรือนทหารซึ่งมุ่งเน้นการฝึกฝนให้ชาวติมอร์-เลสเตสามารถพึ่งตนเองได้<br />\n</span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><strong><span style=\"color: #ffcc00; font-size: large\"><u>ความสัมพันธ์ทางการค้า</u></span></strong></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: medium\"><strong><u><span style=\"font-size: large\"></span></u></strong></span></p>\n<p>\n<br />\n         <span style=\"color: #ff9933\"> - การค้าระหว่างไทยกับติมอร์-เลสเตตั้งแต่ปี 2543-2547 มีมูลค่าการค้ารวมเฉลี่ยปีละ 4.29 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ในปี 2547 มูลค่าการค้ารวม ได้แก่ 2.43 ล้านดอลลาร์สหรัฐ โดยไทยได้ดุล 2.4 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<br />\n          - สินค้าส่งออกสำคัญของไทย คือ ข้าว น้ำตาลทราย ข้าว รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ<br />\n</span>          <span style=\"color: #ff6666\">- สินค้าที่ไทยเคยนำเข้าจากติมอร์-เลสเต คือ ผ้าผืน เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์ และสิ่งพิมพ์ ทั้งนี้ ในปี 2548 ไทยไม่ได้นำเข้าสินค้าจากติมอร์-เลสเต (ข้อมูลกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ)<br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n<b><span style=\"color: #ff3399; font-size: large\"><u>การให้ความช่วยเหลือแก่ติมอร์-เลสเต</u></span></b>\n</p>\n<p>\n<strong><u><span style=\"font-size: large\"></span></u></strong><br />\n        <span style=\"color: #ff00cc\"> - ไทยให้ความช่วยเหลือแก่ติมอร์-เลสเตเป็นข้าวสาร จำนวน 202.5 ตัน (มูลค่า 2 ล้านบาท) เมื่อเดือนกันยายน 2542 และในระหว่างเข้าร่วมการประชุม AMM ครั้งที่ 33 นายสุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้มอบเงินช่วยเหลือ จำนวน 1 ล้านบาท (24,437 ดอลลาร์สหรัฐ) ในนามรัฐบาลไทยแก่นายกุสเมา สำหรับจัดซื้อเมล็ดพันธุ์และเครื่องมือทางการเกษตรตามที่ฝ่ายติมอร์-เลสเตเคยร้องขอไว้ นอกจากนี้ รัฐบาลไทยได้แสดงความพร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ และการให้ทุนฝึกอบรมระยะสั้นในสาขาที่ประเทศไทยมีความเชี่ยวชาญ ในระหว่าง 15 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม 2545 กรมประมงได้ร่วมกับ JICA จะจัดการฝึกอบรมด้านประมงให้แก่เจ้าหน้าที่ติมอร์-เลสเตในไทย จำนวน 4 คน และในระหว่าง 4-8 มีนาคม 2545 ติมอร์-เลสเตส่งเจ้าหน้าที่อาวุโสประจำคณะรัฐมนตรีของรัฐบาล ชั่วคราวติมอร์-เลสเตสองคนมาดูงานที่สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี<br />\n</span>\n</p>\n<p></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\">         <span style=\"color: #cccc00\">- มติจากการประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อ 23 เมษายน 2545 อนุมัติให้รัฐบาลไทยมอบเงินจำนวน 18 ล้านบาท หรือประมาณ 400,000 ดอลลาร์สหรัฐ กับติมอร์-เลสเต เพื่อนำไปช่วยเหลือในการจัดงานฉลองเอกราช นอกจากนี้ ในระหว่างการฉลองเอกราชติมอร์-เลสเต กระทรวงกลาโหมได้ส่งพลุและดอกไม้ไฟไปช่วย พร้อมกับได้ส่งสุนัขสงคราม ซึ่งมีความชำนาญในการตรวจวัตถุระเบิดไปช่วยรักษาความปลอดภัย จำนวน 2 ชุด<br />\n</span><br />\n        <span style=\"color: #cc9933\">- รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ) ได้จัดให้ผู้นำท้องถิ่นติมอร์-เลสเต เดินทางมาศึกษาดูงานด้านการปกครองท้องถิ่น และโครงการตามพระราชดำริ ระหว่าง 20 สิงหาคม - 3 กันยายน 2545 โดยได้แยกไปศึกษาดูงานในจังหวัดกาญจนบุรี จังหวัดเชียงราย และจังหวัดอุบลราชธานี<br />\n</span><br />\n        <span style=\"color: #cc6666\">- ระหว่าง 26-30 พฤศจิกายน 2545 อธิบดีกรมวิเทศสหการได้นำคณะผู้แทนไทย (ทั้งจากภาครัฐและภาคเอกชน) เดินทางไปศึกษาข้อมูลและหารือกับหน่วยงานของติมอร์-เลสเตเกี่ยวกับแผนความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ<br />\n</span><br />\n        <span style=\"color: #cc3399\">- เมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม 2546 นายกรัฐมนตรีได้เป็นประธานมอบลูกวอลเลย์บอล 200 ลูก ลูกตะกร้อ 200 ลูก และลูกบาสเกตบอล 100 ลูก ให้กับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Programme – UNDP) เพื่อนำไปมอบต่อให้รัฐบาลติมอร์-เลสเต ในการแข่งขันกีฬาภายใน ในโอกาสการเฉลิมฉลองวันได้รับเอกราช 20 พฤษภาคม 2546</span></span>\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"color: #00cc00; font-size: large\"><strong><u>ในกรอบอาเซียน</u></strong></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\"><span style=\"font-size: large\"><strong><u><br />\n</u></strong></span>         <span style=\"color: #009933\">- ไทยและอาเซียนบางประเทศ มีส่วนสำคัญต่อกระบวนการรักษาสันติภาพในติมอร์-เลสเต โดยสนับสนุนให้มีการแก้ไขปัญหาติมอร์-เลสเตโดยสันติวิธี ประเทศไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และสิงคโปร์ ได้ส่งทหารเข้าร่วมในกองกำลังรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ นอกจากนี้ อาเซียนได้เปิดโอกาสให้ติมอร์-เลสเตได้เข้าร่วมในพิธีเปิดและพิธีปิดของการประชุม AMM ครั้งที่ 33 ที่กรุงเทพฯ ซึ่งผู้นำติมอร์-เลสเตได้ใช้เวทีดังกล่าวในการหารือ และสร้างความคุ้นเคยกับผู้นำอาเซียนประเทศต่างๆ ทั้งนี้ ผู้นำติมอร์-เลสเตแจ้งว่า ติมอร์-เลสเตสนใจที่จะสมัครเข้าร่วมเป็นสมาชิกอาเซียนเมื่อได้รับเอกราชแล้ว</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">        <span style=\"color: #006666\">- นายรามอส-ฮอร์ตา ได้แจ้งว่าติมอร์-เลสเตจะต้องการเวลาประมาณ 4-5 ปี ก่อนที่จะพร้อมสมัครเข้าเป็นสมาชิกอาเซียน ในช่วงเวลานี้ ติมอร์-เลสเตอยากได้รับให้เป็นผู้สังเกตการณ์ถาวรในการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียน เพื่อให้เกิดความคุ้นเคยกับผู้นำอาเซียน ระบบและกลไกลต่างๆ ของอาเซียน</span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: medium\">        <span style=\"color: #003399\">- อาเซียนเห็นชอบให้ติมอร์-เลสเตเข้าร่วมกิจกรรมของอาเซียนในสาขาที่สนใจ โดยยังไม่มีสถานะใดๆ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการสมัครเป็นสมาชิกภายในปี 2554 ทั้งนี้ ติมอร์-เลสเตกำหนดจะลงนามเป็นภาคีของสนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเดือนมกราคม 2550 ในระหว่างการประชุมผู้นำอาเซียนที่ฟิลิปปินส์</span></span>\n</p>\n', created = 1715307391, expire = 1715393791, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:158167fad7c0fa3d2e92b25799408bbd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c6e3f58f0f17de6cf1bea713f20cbbc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><center><span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #cc00cc; font-size: medium\"><u>ประเทศติมอร์ตะวันออก(East Timor)</u></span></strong></span></center></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><strong><span style=\"color: #cc00cc\">ชื่อทางการ</span></strong> <br />\n<span style=\"color: #ff99cc\">สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (Democratic Republic of Timor-Leste)</span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<strong><span style=\"color: #cc00cc\">ตราแผ่นดิน</span></strong><span style=\"font-size: small\"></span></p>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"84\" width=\"85\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/b/bd/Coat_of_arms_of_East_Timor.svg/85px-Coat_of_arms_of_East_Timor.svg.png\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 134px; height: 134px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p></p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #cc00cc; font-size: small\"><strong>ธงชาติประจำประเทศ</strong></span>\n</p>\n<p><center style=\"text-align: center\"><img height=\"63\" width=\"125\" src=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/26/Flag_of_East_Timor.svg/125px-Flag_of_East_Timor.svg.png\" vspace=\"5\" hspace=\"5\" border=\"2\" style=\"width: 366px; height: 158px\" /></center></p>\n<p>\n<span style=\"font-size: small\"><strong></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #cc00cc; font-size: small\"><strong><u>ที่ตั้ง</u></strong></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"font-size: small\"><span style=\"color: #ff99cc\">ประเทศติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศหมู่เกาะ <span style=\"color: #800080\">จัดเป็นเกาะในกลุ่มเกาะอินโดนีเชีย</span> เรียกว่า เกาะติมอร์ ลองจิจูด 123 องศาตะวันออก และละติจูด 9 องศาใต้อาณาเขต ทิศเหนือ ตะวันออก และตะวันตกจดอินโดนีเซีย ทิศใต้ใกล้กับออสเตรเลีย (ช่อง แคบห่าง 600 กม.) ด้วยเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะขนาดเล็ก เกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางตะวันออกประมาณ 2,100 กิโลเมตร ประเทศติมอร์ตะวันออกประกอบไปด้วยดินแดนส่วนปลายด้านตะวันออกของเกาะติมอร์ และมีดินแดนส่วนแยกเขตโอกุสซีที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือของติมอร์ตะวันตกซึ่งอยู่ในการปกครองของประเทศอินโดนีเซีย <br />\n</span></span>\n</p>\n', created = 1715307391, expire = 1715393791, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c6e3f58f0f17de6cf1bea713f20cbbc5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเทศติมอร์ตะวันออก(East Timor)

ประเทศติมอร์ตะวันออก(East Timor)

ชื่อทางการ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต (Democratic Republic of Timor-Leste)


ตราแผ่นดิน

ธงชาติประจำประเทศ

ที่ตั้ง

ประเทศติมอร์ตะวันออกเป็นประเทศหมู่เกาะ จัดเป็นเกาะในกลุ่มเกาะอินโดนีเชีย เรียกว่า เกาะติมอร์ ลองจิจูด 123 องศาตะวันออก และละติจูด 9 องศาใต้อาณาเขต ทิศเหนือ ตะวันออก และตะวันตกจดอินโดนีเซีย ทิศใต้ใกล้กับออสเตรเลีย (ช่อง แคบห่าง 600 กม.) ด้วยเงื่อนไขทางภูมิศาสตร์ที่เป็นเกาะขนาดเล็ก เกาะติมอร์ตั้งอยู่ทางตอนเหนือของประเทศออสเตรเลีย และอยู่ห่างจากกรุงจาการ์ตาของประเทศอินโดนีเซียไปทางตะวันออกประมาณ 2,100 กิโลเมตร ประเทศติมอร์ตะวันออกประกอบไปด้วยดินแดนส่วนปลายด้านตะวันออกของเกาะติมอร์ และมีดินแดนส่วนแยกเขตโอกุสซีที่ตั้งอยู่บนชายฝั่งทางตอนเหนือของติมอร์ตะวันตกซึ่งอยู่ในการปกครองของประเทศอินโดนีเซีย

สร้างโดย: 
นางสาวอมลรดา วรรณพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 330 คน กำลังออนไลน์