• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:8982e5f43f9726540bece1e87642787d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt\">\n<b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\"></span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">       ลิขสิทธิ์</span></b><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"> </span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ลิขสิทธิ์ยังรวมทั้ง</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">สิทธิค้างเคียง (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">Neighbouring Right) <span lang=\"TH\">คือ การนำเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือถ่ายทอดเสียงหรือภาพ</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; color: #e36c0a; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">Computer Program <span lang=\"TH\">หรือ </span>Computer Software) <span lang=\"TH\">คือ ชุดคำสั่งที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน</span><o:p></o:p></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; color: #e36c0a; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">งานฐานข้อมูล (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">Data Base) <span lang=\"TH\">คือ ข้อมูลที่ได้รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ</span><o:p></o:p></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">สิทธิบัตร</span></b><span lang=\"TH\"> <span> </span>หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (</span>Invention) <span lang=\"TH\">การออกแบบผลิตภัณฑ์</span> (Product Design) <span lang=\"TH\">หรือ ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (</span>Utility Model) <span lang=\"TH\">ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">การประดิษฐ์</span></b><span lang=\"TH\"> คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">การออกแบบผลิตภัณฑ์</span></b><span lang=\"TH\"> คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับการทำให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงาม และแตกต่างไปจากเดิม</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสิทธิบัตร</span> (Petty Patent)</b> <span lang=\"TH\">จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">แบบผังภูมิของวงจรรวม</span></b><span lang=\"TH\"> หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทำขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้า เช่น ตัวนำไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <b><span lang=\"TH\">เครื่องหมายการค้า</span></b><span lang=\"TH\"> หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่</span> <o:p></o:p></span></span></p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">เครื่องหมายการค้า (</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">Trade Mark)</span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span>  </span><span> </span>คือ<span>  </span>เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เป็นต้น</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">เครื่องหมายบริการ (</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">Service Mark)</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">คือ <span> </span>เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">เครื่องหมายรับรอง (</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">Certification mark)</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">คือ<span>  </span>เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">เครื่องหมายร่วม (</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #31849b; font-size: 12pt\">Collective Mark)</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\"> <span lang=\"TH\">คือ <span> </span>เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมาบบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำกัด เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">   <b>  <span lang=\"TH\">ความลับทางการค้า</span></b><span lang=\"TH\"> หมายถึง ข้อมูลการค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับ และมีการดำเนินการตามความสมควรเพื่อรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">    <b> <span lang=\"TH\">ชื่อทางการค้า</span></b><span lang=\"TH\"> หมาถึง ชื่อที่ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น โกดัก ฟูจิ เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">    <b> <span lang=\"TH\">สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์</span></b><span lang=\"TH\"> หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทน แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และสามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์นั้น เช่น มีดอรัญญิก ส้มบางมด ผ้าไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เป็นต้น</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\">           </span></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #984806; font-size: 16pt\">ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #984806; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <span lang=\"TH\">ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.</span>2537 &quot;<span lang=\"TH\">ลิขสิทธิ์ </span>​<span lang=\"TH\">หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทำการใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น&quot;</span>  <span lang=\"TH\">ดังนั้นการใช้ซอฟต์แวร์ที่ผู้อื่นสร้างขึ้นจำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากผู้สร้าง โดยใบอนุญาต (</span>license) <span lang=\"TH\">นี้เป็นสัญญาระหว่างผู้สร้างกับผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ใบอนุญาตเป็นการให้สิทธิผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ได้โดยไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งผลก็คือใบอนุญาตทำหน้าที่เหมือนคำสัญญาว่าผู้สร้างจะไม่ฟ้องร้องผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ซึ่งถือเป็นสิทธิของผู้สร้างแต่เพียงผู้เดียว</span><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><span style=\"color: #000000\">     <span lang=\"TH\">ใบอนุญาตนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท โดย </span>Free Software Foundation<span lang=\"TH\">ได้แบ่งใบอนุญาตด้วยคำถาม </span>3 <span lang=\"TH\">คำถามคือ</span><o:p></o:p></span></span> </p>\n<ol type=\"1\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ใบอนุญาตนั้นมีคุณสมบัติเป็นใบอนุญาตซอฟต์แวร์เสรี (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">free software license) <span lang=\"TH\">หรือไม่</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ใบอนุญาตนั้นเป็นใบอนุญาตแบบ </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">copyleft <span lang=\"TH\">หรือไม่</span> <o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ใบอนุญาตนั้นเข้ากันได้กับใบอนุญาต </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">GPL <span lang=\"TH\">หรือไม่</span> <o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n</ol>\n<p><v:shapetype o:preferrelative=\"t\" filled=\"f\" stroked=\"f\" coordsize=\"21600,21600\" o:spt=\"75\" path=\"m@4@5l@4@11@9@11@9@5xe\" id=\"_x0000_t75\"><v:stroke joinstyle=\"miter\"></v:stroke><v:formulas><v:f eqn=\"if lineDrawn pixelLineWidth 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 1 0\"></v:f><v:f eqn=\"sum 0 0 @1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @2 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"prod @3 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @0 0 1\"></v:f><v:f eqn=\"prod @6 1 2\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelWidth\"></v:f><v:f eqn=\"sum @8 21600 0\"></v:f><v:f eqn=\"prod @7 21600 pixelHeight\"></v:f><v:f eqn=\"sum @10 21600 0\"></v:f></v:formulas><v:path o:extrusionok=\"f\" gradientshapeok=\"t\" o:connecttype=\"rect\"></v:path><o:lock v:ext=\"edit\" aspectratio=\"t\"></o:lock></v:shapetype><v:shape o:spid=\"_x0000_s1027\" alt=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/8/8b/Copyleft.svg/197px-Copyleft.svg.png\" type=\"#_x0000_t75\" id=\"Picture_x0020_2\" style=\"z-index: 2; position: absolute; margin-top: 322.15pt; width: 87.3pt; height: 87pt; visibility: visible; margin-left: 6.3pt\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Administrator\\Local%20Settings\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image001.png\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><v:shape o:spid=\"_x0000_s1026\" alt=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/b/b6/Copyright.png\" type=\"#_x0000_t75\" id=\"Picture_x0020_1\" style=\"z-index: 1; position: absolute; margin-top: 38.8pt; width: 85.8pt; height: 85.8pt; visibility: visible; margin-left: 13.2pt\"><span style=\"color: #000000\"><v:imagedata src=\"file:///C:\\DOCUME~1\\Administrator\\Local%20Settings\\Temp\\msohtml1\\01\\clip_image003.png\"></v:imagedata><w:wrap type=\"square\"></w:wrap></span></v:shape><span style=\"font-size: small\"><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #666666\">ลิขสิทธิ์ (</span></strong><strong><span style=\"font-family: Tahoma; color: #666666\">CopyRight)</span></strong></span><span style=\"font-size: small\"><span style=\"font-family: Tahoma; color: #666666\"> <span lang=\"TH\">หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย</span><br />\n</span><span class=\"bbccolor\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: red\">อายุของลิขสิทธิ์</span></span></span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #666666\"><br />\n<span style=\"font-size: small\"><span lang=\"TH\">การคุ้มครองลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไทยจะกำหนดให้มีอายุการคุ้มครอง</span> 50 <span lang=\"TH\">ปี นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์ผลงานเสียชีวิต. กรณี เจ้าของ เป็น นิติบุคคล จะเริ่มนับอายุ ตั้งแต่ ผลงานถูกสร้างขึ้นมานับไปอีก </span>50 <span lang=\"TH\">ปี</span>, <span lang=\"TH\">หรือ เริ่มนับเมื่อมีการโฆษณาเป็นครั้งแรก</span>, <span lang=\"TH\">แล้วแต่ว่าอย่างไหนจะเกิดทีหลัง. แต่การโฆษณาครั้งแรกนั้นจะต้องเกิดขึ้นภายใน </span>50 <span lang=\"TH\">ปี นับตั้งแต่มีการสร้างสรรค์ผลงานนั้นขึ้นมา. ถ้าพ้น </span>50 <span lang=\"TH\">ปีไปแล้ว โดยที่ยังไม่ได้มีการโฆษณา ถือว่าลิขสิทธิ์หมดอายุ</span>, <span lang=\"TH\">โดยที่การโฆษณาในภายหลัง จะไม่มีผลต่อการนับต่ออายุลิขสิทธิ์อีก. การโฆษณานี้จะต้องเป็นการโฆษณาโดยความยินยอมของเจ้าของลิขสิทธิ์ด้วย จึงจะนับเป็นการโฆษณาครั้งแรก ที่ให้เริ่มนับอายุลิขสิทธิ์ได้.</span><br />\n<span lang=\"TH\">ตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. </span>2537 <span lang=\"TH\">ของประเทศไทย</span>, <span lang=\"TH\">จะมีข้อยกเว้นในงานบางประเภท ที่จะมีอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ต่างออกไป</span>, <span lang=\"TH\">ได้แก่</span>, <span lang=\"TH\">ศิลปประยุกต์</span>, <span lang=\"TH\">จะมีอายุคุ้มครองเพียง </span>25 <span lang=\"TH\">ปี. งานบางชนิดที่สร้างสรรค์โดยบุคคลธรรมดาที่ไม่ใช่นิติบุคคล ก็จะมีข้อยกเว้นให้เริ่มนับอายุเช่นเดียวกับ กรณีนิติบุคคล คือ เริ่มนับตั้งแต่ได้มีการสร้างงานขึ้น หรือ ตั้งแต่โฆษณาครั้งแรก</span> (<span lang=\"TH\">แทนที่จะนับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต). งานเหล่านั้น ได้แก่</span>, <span lang=\"TH\">ภาพถ่าย</span>, <span lang=\"TH\">โสตทัศนวัสดุ</span>, <span lang=\"TH\">ภาพยนตร์</span>, <span lang=\"TH\">สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ</span>, <span lang=\"TH\">งานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่ง</span>, <span lang=\"TH\">รวมถึง ศิลปประยุกต์. งานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ และ ไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ก็ให้เริ่มนับอายุลิขสิทธิ์ในลักษณะเดียวกับนิติบุคคล.</span></span></span></p>\n<p><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma\">ลิขซ้าย</span></strong><strong><span style=\"font-family: Tahoma\"> (Copyleft) </span></strong><span lang=\"TH\">หมายถึงกลุ่มของสัญญาอนุญาต ของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวร์ เอกสาร เพลง ศิลปะ โดยอ้างอิงตามกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นแนวเปรียบเทียบ ในการจำกัดสิทธิในการคัดลอกงาน และเผยแพร่งาน โดยสัญญาอนุญาตกลุ่ม </span>Copyleft <span lang=\"TH\">มอบเสรีภาพให้ทุกคน สามารถคัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุง และจำหน่ายงานได้ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก้ไขมาจากงานนี้ โดยเข้าใจกันว่า </span>Copyleft <span lang=\"TH\">คือสิ่งที่ตรงข้ามกับจุดประสงค์ดั้งเดิมของกฎหมายลิขสิทธิ์นั่นเอง</span><br />\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; color: #666666; font-size: 10pt\">อาจจะมองได้ว่าลักษณะพิเศษของ</span><span style=\"font-family: Tahoma; color: #666666; font-size: 10pt\"> copyleft <span lang=\"TH\">คือ การที่เจ้าของลิขสิทธิ์ ยอมสละสิทธิบางอย่าง (ที่ได้รับการคุ้มครอง) ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์</span>, <span lang=\"TH\">แต่ไม่ทั้งหมด. แทนที่เจ้าของลิขสิทธิ์จะปล่อยงานของเขาออกมาภายใต้ </span>public domain <span lang=\"TH\">โดยสมบูรณ์</span> (<span lang=\"TH\">นั่นคือ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ใดๆ)</span>, copyleft <span lang=\"TH\">จะให้เจ้าของสามารถกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขทางด้านลิขสิทธิ์บางประการ สำหรับผู้ที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในงานอันมีลิขสิทธิ์นี้</span>, <span lang=\"TH\">โดย ถ้าผู้นั้น ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขนี้แล้ว จะถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์. เงื่อนไขเพื่อที่จะไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ภายใต้ </span>copyleft <span lang=\"TH\">นี้</span>, <span lang=\"TH\">ได้แก่</span>, <span lang=\"TH\">การที่ผู้ที่ใช้สอยผลงานจะต้องรักษาสิทธิภายใต้ </span>copyleft <span lang=\"TH\">นี้ไว้ดังเดิมอย่างถาวร. ด้วยเหตุนี้</span>, <span lang=\"TH\">สัญญาอนุญาต </span>copyleft <span lang=\"TH\">จึงถูกเรียกว่าเป็น สัญญาอนุญาตต่างตอบแทน</span> (reciprocal licenses).</span></p>\n<p><span lang=\"TH\">สัญลักษณ์ของ </span>Copyleft <span lang=\"TH\">เป็นตัวอักษรซี (</span>c) <span lang=\"TH\">หันหลังกลับ โดยไม่ได้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษนอกจากการตรงกันข้ามกับ </span>Copyright (<span lang=\"TH\">ลิขสิทธิ์)</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 18pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">รู้หรือไม่</span></b><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span> </p>\n<ul type=\"disc\">\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ถือเป็นงานวรรณกรรม คือ งานนิพนธ์ที่ทำขึ้น ได้รับการคุ้มครองแบบลิขสิทธิ์เท่านั้น ไม่สามารถนำไปขอจดสิทธิบัตร</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ผลงานประเภทที่สามารถจดสิทธิบัตร (</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">Patent) <span lang=\"TH\">ได้ คือ สิ่งประดิษฐ์</span> (<span lang=\"TH\">ยกตัวอย่างสิทธิบัตรที่นักศึกษาสืบค้นส่งอาจารย์) และออกแบบผลิตภัณฑ์ (เช่น การออกแบบสี ลวดลาย รูปร่าง ของสิ่งของ เครื่องใช้ ที่มีคุณค่าในเชิงเศรษฐกิจ</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ในกรณีที่ไม่ได้ทำสัญญาระหว่างกัน เมื่อลูกจ้างทำการเขียนซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ขึ้น ซอฟต์แวร์นั้นย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของลูกจ้าง แต่บริษัทสามารถนำซอฟต์แวร์ออกเผยแพร่ หรือจำหน่ายได้ ตามวัตถุประสงค์ของการจ้างงานนั้น</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หากเจ้าของขายลิขสิทธิ์ให้ผู้อื่นแล้ว ก็ยังสามารถแสดงตนว่าเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานลิขสิทธิ์นั้นได้</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกจ้างของบริษัทนำซอฟต์แวร์หรือผลงานลิขสิทธิ์ที่คิดขึ้นขณะที่เป็นลูกจ้างของเราออกไปหาผลประโยชน์ บริษัทจะต้องให้ลูกจ้างเซ็นสัญญษยกลิขสิทธิ์ในผลงานทุกอย่าง ที่ทำขึ้นขณะเป็นลูกจ้างของเราให้แก่บริษัท</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หากบริษัทคู่แข่งสร้างซอฟต์แวร์ที่มีวิธีการทำงานเหมือนกับซอฟต์แวร์ที่บริษัทเราสร้างขึ้นมาก่อน บริษํทคู่แข่งไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของเรา เพราะ สิ่งที่ไม่ใช่งานลิขสิทธิ์ เช่น ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ หลักการ วิธีใชหรือทำงาน ทฤษฎี แนวความคิด การค้นพบ ข่าวประจำวัน เป็นต้น</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ถ้าถูกจับได้ว่าละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเสียค่าละเมิดลิขสิทธิ์ให้กับเจ้าของลิขสิทธิ์</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">เมื่อพัฒนาซอฟต์วร์หรือเว็บไซต์เสร็จ จะได้รับการคุ้มครองทันที โดยไม่ต้องไปทำการจดทะเบียนกับกราทรัพย์สินทางปัญญา แต่เราสามารถไปจดแจ้งลิขสิทธิ์ไว้ได้ เพื่อเป็นการแจ้งให้ผู้อื่นรับทราบ</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">การดัดแปลงซอฟต์แวร์ โดยได้รับอนุญาตถือว่าไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หากมีผู้มาทำการดัดแปลง คัดลอกซอฟต์แวร์ของบริษัท ทางบริษัทสามารถเอาผิดกับบุคคลเหล่านั้นได้โดยการดำเนินคดีตามกฎหมายได้ทันที แต่บางครั้ง อาจเจรจายอมความได้ หรือเรียกเก็บค่าลิขสิทธิ์ก็ได้</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">บทลงโทษเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง เช่น ทำซ้ำ ดัดแปลง : มีโทษปรับ </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">20,000 - 200,000 <span lang=\"TH\">บาท หากทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุก </span>6 <span lang=\"TH\">เดือน ถึง</span> 4 <span lang=\"TH\">ปี หรือปรับ </span>100,000 - 800,000 <span lang=\"TH\">บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม</span> (<span lang=\"TH\">สนับสนุนให้เกิดการละเมิด) : มีโทษปรับ </span>10,000 - 100,000 <span lang=\"TH\">บาท หากทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุก </span>3 <span lang=\"TH\">เดือน ถึง </span>2 <span lang=\"TH\">ปี หรือ </span>50,000 -  400,000 <span lang=\"TH\">บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หากเป็น บุคคลธรรมดา ผลงานลิขสิทธิ์จะได้รับการคุ้มครองตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"> + 50 <span lang=\"TH\">ปี</span>  <span lang=\"TH\">หากเป็น นามแฝง/นิติบุคคล จะได้รับการคุ้มครอง </span>50  <span lang=\"TH\">ปี นับแต่สร้างสรรค์</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">หากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลงสิทธิในการครอบครองลิขสิทธิ์นั้นจะตกแก่ทายาท(ในระยะเวลาไม่เกิน</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"> 50 <span lang=\"TH\">ปี)</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">งานที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพราะอายุแห่งการคุ้มครองสิ้นสุดลง หากนำมารวบรวม ผู้ทำการรวบรวมสามารถเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นั้นได้</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ข่าวประจำวันและข้อเท็จจริงต่างๆที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารเมื่อนำไปเผยแพร่ต่อ ถือว่าไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">ถ้ามีผู้ว่าจ้างให้พัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีสัญญาว่าจ้าง ผลลงานที่ได้เป็นของผู้ว่าจ้าง ผู้ถูกว่าจ้างนำไปขายต่อให้แก่องค์กรอื่นไม่ได้</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">เมื่อเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลง จะได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์นั้นต่อไปอีก </span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">50 <span lang=\"TH\">ปี หลังจากเสียชีวิต</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">การติชมหรือวิจารณ์ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ถือว่าไม่ละเมิดลิขสิทธิ์</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\"><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n<li class=\"MsoNormal\" style=\"line-height: normal; margin: 0cm 0cm 10pt; tab-stops: list 36.0pt\">\n<div align=\"center\">\n <span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">เมื่อซื้อซอฟต์แวร์ หากทำซ้ำ เพื่อป้องกันการสูญหายหรือเสียหาย(</span><span style=\"font-family: Tahoma; font-size: 12pt\">Back up) <span lang=\"TH\">ไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์</span><o:p></o:p></span></span>\n </div>\n</li>\n</ul>\n', created = 1727556268, expire = 1727642668, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:8982e5f43f9726540bece1e87642787d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลิขสิทธิ์

       ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ลิขสิทธิ์ยังรวมทั้ง

  • สิทธิค้างเคียง (Neighbouring Right) คือ การนำเอางานด้านลิขสิทธิ์ออกแสดง เช่น นักแสดง ผู้บันทึกเสียงและสถานีวิทยุโทรทัศน์ในการบันทึกหรือถ่ายทอดเสียงหรือภาพ
  • โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Program หรือ Computer Software) คือ ชุดคำสั่งที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อกำหนดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน
  • งานฐานข้อมูล (Data Base) คือ ข้อมูลที่ได้รับเก็บรวบรวมขึ้นเพื่อใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ

     สิทธิบัตร  หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือ ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด     การประดิษฐ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกลของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์     การออกแบบผลิตภัณฑ์ คือ ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับการทำให้รูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์เกิดความสวยงาม และแตกต่างไปจากเดิม     ผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์หรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมาก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย     แบบผังภูมิของวงจรรวม หมายถึง แผนผังหรือแบบที่ทำขึ้น เพื่อแสดงถึงการจัดวางและการเชื่อมต่อวงจรไฟฟ้า เช่น ตัวนำไฟฟ้า หรือตัวต้านทาน เป็นต้น     เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์หรือตราที่ใช้กับสินค้า หรือบริการ ได้แก่

  • เครื่องหมายการค้า (Trade Mark)   คือ  เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายเกี่ยวข้องกับสินค้าเพื่อแสดงว่าสินค้าที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับสินค้าที่ใช้เครื่องหมายการค้าของบุคคลอื่น เช่น โค้ก เป๊ปซี่ บรีส แฟ้บ เป็นต้น
  • เครื่องหมายบริการ (Service Mark) คือ  เครื่องหมายที่ใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับการบริการ เพื่อแสดงว่าบริการที่ใช้เครื่องหมายนั้นแตกต่างกับบริการที่ใช้เครื่องหมายบริการของบุคคลอื่น เช่น เครื่องหมายของสายการบิน ธนาคาร โรงแรม เป็นต้น
  • เครื่องหมายรับรอง (Certification mark) คือ  เครื่องหมายที่เจ้าของเครื่องหมายรับรองใช้เป็นที่หมายหรือเกี่ยวข้องกับสินค้าและบริการของบุคคลอื่น เพื่อเป็นการรับรองคุณภาพของสินค้า หรือบริการนั้น เช่น เชลล์ชวนชิม แม่ช้อยนางรำ เป็นต้น
  • เครื่องหมายร่วม (Collective Mark) คือ  เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมาบบริการที่ใช้โดยบริษัทหรือรัฐวิสาหกิจในกลุ่มเดียวกัน หรือโดยสมาชิกของสมาคม กลุ่มบุคคล หรือองค์กรอื่นใดของรัฐหรือเอกชน เช่น ตราช้างของบริษัทปูนซิเมนไทย จำกัด เป็นต้น

     ความลับทางการค้า หมายถึง ข้อมูลการค้าที่ยังไม่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และมีมูลค่าในเชิงพาณิชย์เนื่องจากข้อมูลนั้นเป็นความลับ และมีการดำเนินการตามความสมควรเพื่อรักษาข้อมูลนั้นไว้เป็นความลับ     ชื่อทางการค้า หมาถึง ชื่อที่ใช้ในการประกอบกิจการ เช่น โกดัก ฟูจิ เป็นต้น     สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ หมายถึง ชื่อ สัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทน แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และสามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์นั้น เช่น มีดอรัญญิก ส้มบางมด ผ้าไหมไทย แชมเปญ คอนยัค เป็นต้น           ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์     ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 "ลิขสิทธิ์ หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทำการใด ๆ ตามพระราชบัญญัตินี้เกี่ยวกับงานที่ผู้สร้างสรรค์ได้ทำขึ้น"  ดังนั้นการใช้ซอฟต์แวร์ที่ผู้อื่นสร้างขึ้นจำเป็นต้องได้รับการอนุญาตจากผู้สร้าง โดยใบอนุญาต (license) นี้เป็นสัญญาระหว่างผู้สร้างกับผู้ใช้ซอฟต์แวร์ ใบอนุญาตเป็นการให้สิทธิผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ได้โดยไม่ถือเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ซึ่งผลก็คือใบอนุญาตทำหน้าที่เหมือนคำสัญญาว่าผู้สร้างจะไม่ฟ้องร้องผู้ใช้ในการใช้ซอฟต์แวร์ซึ่งถือเป็นสิทธิของผู้สร้างแต่เพียงผู้เดียว     ใบอนุญาตนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท โดย Free Software Foundationได้แบ่งใบอนุญาตด้วยคำถาม 3 คำถามคือ

  1. ใบอนุญาตนั้นมีคุณสมบัติเป็นใบอนุญาตซอฟต์แวร์เสรี (free software license) หรือไม่
  2. ใบอนุญาตนั้นเป็นใบอนุญาตแบบ copyleft หรือไม่
  3. ใบอนุญาตนั้นเข้ากันได้กับใบอนุญาต GPL หรือไม่

ลิขสิทธิ์ (CopyRight) หมายถึง สิทธิแต่ผู้เดียวที่กฎหมายรับรองให้ผู้สร้างสรรค์กระทำการใด ๆ เกี่ยวกับงานที่ตนได้ทำขึ้น อันได้แก่ สิทธิที่จะทำซ้ำ ดัดแปลง หรือนำออกโฆษณา ไม่ว่าในรูปลักษณะอย่างใดหรือวิธีใด รวมทั้งอนุญาตให้ผู้อื่นนำงานนั้นไปทำเช่นว่านั้นด้วย
อายุของลิขสิทธิ์

การคุ้มครองลิขสิทธิ์ตามกฎหมายไทยจะกำหนดให้มีอายุการคุ้มครอง 50 ปี นับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์ผลงานเสียชีวิต. กรณี เจ้าของ เป็น นิติบุคคล จะเริ่มนับอายุ ตั้งแต่ ผลงานถูกสร้างขึ้นมานับไปอีก 50 ปี, หรือ เริ่มนับเมื่อมีการโฆษณาเป็นครั้งแรก, แล้วแต่ว่าอย่างไหนจะเกิดทีหลัง. แต่การโฆษณาครั้งแรกนั้นจะต้องเกิดขึ้นภายใน 50 ปี นับตั้งแต่มีการสร้างสรรค์ผลงานนั้นขึ้นมา. ถ้าพ้น 50 ปีไปแล้ว โดยที่ยังไม่ได้มีการโฆษณา ถือว่าลิขสิทธิ์หมดอายุ, โดยที่การโฆษณาในภายหลัง จะไม่มีผลต่อการนับต่ออายุลิขสิทธิ์อีก. การโฆษณานี้จะต้องเป็นการโฆษณาโดยความยินยอมของเจ้าของลิขสิทธิ์ด้วย จึงจะนับเป็นการโฆษณาครั้งแรก ที่ให้เริ่มนับอายุลิขสิทธิ์ได้.
ตาม พรบ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ของประเทศไทย, จะมีข้อยกเว้นในงานบางประเภท ที่จะมีอายุการคุ้มครองลิขสิทธิ์ต่างออกไป, ได้แก่, ศิลปประยุกต์, จะมีอายุคุ้มครองเพียง 25 ปี. งานบางชนิดที่สร้างสรรค์โดยบุคคลธรรมดาที่ไม่ใช่นิติบุคคล ก็จะมีข้อยกเว้นให้เริ่มนับอายุเช่นเดียวกับ กรณีนิติบุคคล คือ เริ่มนับตั้งแต่ได้มีการสร้างงานขึ้น หรือ ตั้งแต่โฆษณาครั้งแรก (แทนที่จะนับตั้งแต่ผู้สร้างสรรค์เสียชีวิต). งานเหล่านั้น ได้แก่, ภาพถ่าย, โสตทัศนวัสดุ, ภาพยนตร์, สิ่งบันทึกเสียงหรืองานแพร่เสียงแพร่ภาพ, งานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยการจ้างหรือตามคำสั่ง, รวมถึง ศิลปประยุกต์. งานที่ได้สร้างสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้างสรรค์ใช้นามแฝงหรือไม่ปรากฏชื่อผู้สร้างสรรค์ และ ไม่รู้ตัวผู้สร้างสรรค์ ก็ให้เริ่มนับอายุลิขสิทธิ์ในลักษณะเดียวกับนิติบุคคล.

ลิขซ้าย (Copyleft) หมายถึงกลุ่มของสัญญาอนุญาต ของสิ่งต่าง ๆ รวมทั้ง ซอฟต์แวร์ เอกสาร เพลง ศิลปะ โดยอ้างอิงตามกฎหมายลิขสิทธิ์เป็นแนวเปรียบเทียบ ในการจำกัดสิทธิในการคัดลอกงาน และเผยแพร่งาน โดยสัญญาอนุญาตกลุ่ม Copyleft มอบเสรีภาพให้ทุกคน สามารถคัดลอก ดัดแปลง ปรับปรุง และจำหน่ายงานได้ โดยมีเงื่อนไขว่าต้องยังคงรักษาเสรีภาพเดียวกันนี้ในงานที่ดัดแปลงแก้ไขมาจากงานนี้ โดยเข้าใจกันว่า Copyleft คือสิ่งที่ตรงข้ามกับจุดประสงค์ดั้งเดิมของกฎหมายลิขสิทธิ์นั่นเอง
อาจจะมองได้ว่าลักษณะพิเศษของ copyleft คือ การที่เจ้าของลิขสิทธิ์ ยอมสละสิทธิบางอย่าง (ที่ได้รับการคุ้มครอง) ภายใต้กฎหมายลิขสิทธิ์, แต่ไม่ทั้งหมด. แทนที่เจ้าของลิขสิทธิ์จะปล่อยงานของเขาออกมาภายใต้ public domain โดยสมบูรณ์ (นั่นคือ ไม่สงวนลิขสิทธิ์ใดๆ), copyleft จะให้เจ้าของสามารถกำหนดข้อจำกัดหรือเงื่อนไขทางด้านลิขสิทธิ์บางประการ สำหรับผู้ที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในงานอันมีลิขสิทธิ์นี้, โดย ถ้าผู้นั้น ไม่ปฏิบัติตามเงื่อนไขนี้แล้ว จะถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์. เงื่อนไขเพื่อที่จะไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ภายใต้ copyleft นี้, ได้แก่, การที่ผู้ที่ใช้สอยผลงานจะต้องรักษาสิทธิภายใต้ copyleft นี้ไว้ดังเดิมอย่างถาวร. ด้วยเหตุนี้, สัญญาอนุญาต copyleft จึงถูกเรียกว่าเป็น สัญญาอนุญาตต่างตอบแทน (reciprocal licenses).

สัญลักษณ์ของ Copyleft เป็นตัวอักษรซี (c) หันหลังกลับ โดยไม่ได้มีความหมายอะไรเป็นพิเศษนอกจากการตรงกันข้ามกับ Copyright (ลิขสิทธิ์) รู้หรือไม่

  • ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ถือเป็นงานวรรณกรรม คือ งานนิพนธ์ที่ทำขึ้น ได้รับการคุ้มครองแบบลิขสิทธิ์เท่านั้น ไม่สามารถนำไปขอจดสิทธิบัตร
  • ผลงานประเภทที่สามารถจดสิทธิบัตร (Patent) ได้ คือ สิ่งประดิษฐ์ (ยกตัวอย่างสิทธิบัตรที่นักศึกษาสืบค้นส่งอาจารย์) และออกแบบผลิตภัณฑ์ (เช่น การออกแบบสี ลวดลาย รูปร่าง ของสิ่งของ เครื่องใช้ ที่มีคุณค่าในเชิงเศรษฐกิจ
  • ในกรณีที่ไม่ได้ทำสัญญาระหว่างกัน เมื่อลูกจ้างทำการเขียนซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ขึ้น ซอฟต์แวร์นั้นย่อมเป็นลิขสิทธิ์ของลูกจ้าง แต่บริษัทสามารถนำซอฟต์แวร์ออกเผยแพร่ หรือจำหน่ายได้ ตามวัตถุประสงค์ของการจ้างงานนั้น
  • หากเจ้าของขายลิขสิทธิ์ให้ผู้อื่นแล้ว ก็ยังสามารถแสดงตนว่าเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานลิขสิทธิ์นั้นได้
  • เพื่อป้องกันไม่ให้ลูกจ้างของบริษัทนำซอฟต์แวร์หรือผลงานลิขสิทธิ์ที่คิดขึ้นขณะที่เป็นลูกจ้างของเราออกไปหาผลประโยชน์ บริษัทจะต้องให้ลูกจ้างเซ็นสัญญษยกลิขสิทธิ์ในผลงานทุกอย่าง ที่ทำขึ้นขณะเป็นลูกจ้างของเราให้แก่บริษัท
  • หากบริษัทคู่แข่งสร้างซอฟต์แวร์ที่มีวิธีการทำงานเหมือนกับซอฟต์แวร์ที่บริษัทเราสร้างขึ้นมาก่อน บริษํทคู่แข่งไม่ได้ละเมิดลิขสิทธิ์ของเรา เพราะ สิ่งที่ไม่ใช่งานลิขสิทธิ์ เช่น ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบ หลักการ วิธีใชหรือทำงาน ทฤษฎี แนวความคิด การค้นพบ ข่าวประจำวัน เป็นต้น
  • ถ้าถูกจับได้ว่าละเมิดลิขสิทธิ์ต้องเสียค่าละเมิดลิขสิทธิ์ให้กับเจ้าของลิขสิทธิ์
  • เมื่อพัฒนาซอฟต์วร์หรือเว็บไซต์เสร็จ จะได้รับการคุ้มครองทันที โดยไม่ต้องไปทำการจดทะเบียนกับกราทรัพย์สินทางปัญญา แต่เราสามารถไปจดแจ้งลิขสิทธิ์ไว้ได้ เพื่อเป็นการแจ้งให้ผู้อื่นรับทราบ
  • การดัดแปลงซอฟต์แวร์ โดยได้รับอนุญาตถือว่าไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
  • หากมีผู้มาทำการดัดแปลง คัดลอกซอฟต์แวร์ของบริษัท ทางบริษัทสามารถเอาผิดกับบุคคลเหล่านั้นได้โดยการดำเนินคดีตามกฎหมายได้ทันที แต่บางครั้ง อาจเจรจายอมความได้ หรือเรียกเก็บค่าลิขสิทธิ์ก็ได้
  • บทลงโทษเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยตรง เช่น ทำซ้ำ ดัดแปลง : มีโทษปรับ 20,000 - 200,000 บาท หากทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุก 6 เดือน ถึง 4 ปี หรือปรับ 100,000 - 800,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ การละเมิดลิขสิทธิ์โดยอ้อม (สนับสนุนให้เกิดการละเมิด) : มีโทษปรับ 10,000 - 100,000 บาท หากทำเพื่อการค้า มีโทษจำคุก 3 เดือน ถึง 2 ปี หรือ 50,000 -  400,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
  • หากเป็น บุคคลธรรมดา ผลงานลิขสิทธิ์จะได้รับการคุ้มครองตลอดชีวิตผู้สร้างสรรค์ + 50 ปี  หากเป็น นามแฝง/นิติบุคคล จะได้รับการคุ้มครอง 50  ปี นับแต่สร้างสรรค์
  • หากผู้เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลงสิทธิในการครอบครองลิขสิทธิ์นั้นจะตกแก่ทายาท(ในระยะเวลาไม่เกิน 50 ปี)
  • งานที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์เพราะอายุแห่งการคุ้มครองสิ้นสุดลง หากนำมารวบรวม ผู้ทำการรวบรวมสามารถเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์นั้นได้
  • ข่าวประจำวันและข้อเท็จจริงต่างๆที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสารเมื่อนำไปเผยแพร่ต่อ ถือว่าไม่เป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
  • ถ้ามีผู้ว่าจ้างให้พัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีสัญญาว่าจ้าง ผลลงานที่ได้เป็นของผู้ว่าจ้าง ผู้ถูกว่าจ้างนำไปขายต่อให้แก่องค์กรอื่นไม่ได้
  • เมื่อเจ้าของลิขสิทธิ์เสียชีวิตลง จะได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์นั้นต่อไปอีก 50 ปี หลังจากเสียชีวิต
  • การติชมหรือวิจารณ์ผลงานที่มีลิขสิทธิ์ ถือว่าไม่ละเมิดลิขสิทธิ์
  • เมื่อซื้อซอฟต์แวร์ หากทำซ้ำ เพื่อป้องกันการสูญหายหรือเสียหาย(Back up) ไม่ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์
สร้างโดย: 
แพรพิไล เอียดชะตา

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 212 คน กำลังออนไลน์