• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.138.101.91', 0, '5342c86d22fe5e822c8ef3808a9dfb37', 139, 1719523398) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0141851d9f15852ecec82582654cdcab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><blockquote><p>\n <sup><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #7030a0; font-size: 22pt\">องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ </span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #7030a0; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b></sup>\n</p></blockquote>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/wOLvkIyg8W8&amp;feature=player_detailpage\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/wOLvkIyg8W8&amp;feature=player_detailpage\"></embed>\n</object></div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><img height=\"223\" width=\"445\" src=\"/files/u46870/1-9.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b><span style=\"color: #ff0033\">องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์</span></b></span>\n</p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #990099; font-size: x-small\"><b>ฮาร์ดแวร์ (Hardware) </b></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ<span style=\"color: #996600\"> อุปกรณ์รอบข้าง</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\"> (peripheral)</span> ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><span style=\"color: #0099cc\">หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) </span></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0099cc; font-size: x-small\">หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0099cc; font-size: x-small\">หน่วยความจำหลัก</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0099cc; font-size: x-small\">หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0099cc; font-size: x-small\">หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit ) <br />\n </span>\n </p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\">หน่วยรับข้อมูล</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น <span style=\"color: #996600\">หน่วยประมวลผลกลาง </span>จะนำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง <span style=\"color: #996600\">หน่วยแสดงผลลัพธ์ </span></span>\n </p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\">หน่วยความจำหลัก</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่<span style=\"color: #996600\"> หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง</span> จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก </span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"186\" width=\"285\" src=\"/files/u46870/1-10.jpg\" border=\"0\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b>ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์</b></span>\n </p>\n</blockquote>\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b>ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์</b></span>\n</p>\n<blockquote><ul>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #990099; font-size: x-small\"><b>ซอฟต์แวร์ (Software) </b></span>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใดๆ เนื่องจากต้องมี <span style=\"color: #996600\">ซอฟต์แวร์ (Software) </span>ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก <span style=\"color: #996600\">ภาษาคอมพิวเตอร์</span> <span style=\"color: #996600\">(Programming Language)</span> ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี <span style=\"color: #996600\">โปรแกรมเมอร์ (Programmer) </span>หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา</span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ </span>\n </p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><span style=\"color: #0099cc\">ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software ) </span></span></li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0099cc; font-size: x-small\">ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software ) </span></li>\n</ul>\n</li>\n</ul>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\">ซอฟต์แวร์ระบบ</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำงานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทำงานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน <span style=\"color: #996600\">ซอฟต์แวร์ประยุกต์ </span>จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน</span>\n </p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"203\" width=\"270\" src=\"/files/u46870/1-11.jpg\" border=\"0\" />\n </p>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b><span style=\"color: #ff0033\">ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์</span></b></span>\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<blockquote><p>\n  <strong><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #990099; font-size: x-small\">บุคลากร (Peopleware) </span></strong>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำงาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า<span style=\"color: #996600\"> ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) </span>แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทำงานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ </span>\n </p>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\">ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user)</span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"> แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทำให้มีความชำนาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า <span style=\"color: #996600\">เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user) </span></span>\n </p>\n</blockquote>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #996600; font-size: x-small\">ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก <span style=\"color: #996600\">นักเขียนโปรแกรม (programmer) </span>ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนำไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป</span>\n </p>\n</blockquote>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">                บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้ </span>\n </p>\n<ul>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การดำเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น <span style=\"color: #996600\">เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) </span>เป็นต้น</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม เช่น<span style=\"color: #996600\"> เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><span style=\"color: #996600\">Programmer</span></span><span style=\"color: #996600\">) </span>เป็นต้น</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น <span style=\"color: #996600\">เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator)</span> เป็นต้น</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น<span style=\"color: #996600\"> เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) </span>เป็นต้น</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น<span style=\"color: #996600\"> ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager)</span> เป็นต้น<br />\n <span style=\"color: #990099\"><br />\n </span></span></li>\n</ul>\n</blockquote>\n<blockquote><li>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #990099; font-size: x-small\"><b>ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information) </b></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ในการทำงานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง<span style=\"color: #996600\"> ข้อมูล</span> และ<span style=\"color: #996600\"> สารสนเทศ</span> คือ </span>\n </p>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b><span style=\"color: #996600\">ข้อมูล</span></b><span style=\"color: #996600\"> </span>คือ ได้จากการสำรวจจริง แต่<span style=\"color: #996600\"> <b>สารสนเทศ</b> </span>คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน </span>\n </p>\n</li>\n</blockquote>\n<ul>\n<li> \n<ul>\n<li> \n<ul>\n<li> \n<ul>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #7030a0; font-size: 22pt\"><o:p> </o:p></span></b><br />\n<blockquote><p>\n <sup><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #7030a0; font-size: 22pt\">สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง</span></b><b><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: #7030a0; font-size: 22pt\"><o:p></o:p></span></b></sup>\n </p></blockquote>\n<table align=\"center\" width=\"75%\" borderColor=\"#006666\" border=\"1\">\n<tbody>\n<tr bgColor=\"#ffcccc\" borderColor=\"#ff99cc\">\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">มีความสัมพันธ์กัน (relevant)</span></td>\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน</span></td>\n</tr>\n<tr bgColor=\"#ffcccc\" borderColor=\"#ff99cc\">\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">มีความทันสมัย (timely)</span></td>\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ</span></td>\n</tr>\n<tr bgColor=\"#ffcccc\" borderColor=\"#ff99cc\">\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">มีความถูกต้องแม่นยำ (accurate)</span></td>\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">เมื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน</span></td>\n</tr>\n<tr bgColor=\"#ffcccc\" borderColor=\"#ff99cc\">\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">มีความกระชับรัดกุม (concise)</span></td>\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ</span></td>\n</tr>\n<tr bgColor=\"#ffcccc\" borderColor=\"#ff99cc\">\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete)</span></td>\n<td><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ต้องรวบรวมข้อมูลที่สำคัญไว้อย่างครบถ้วน</span></td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n<p> </p></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></li>\n</ul>\n</li>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<li>\n<p align=\"center\">\n <b><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0033; font-size: x-small\">คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์</span></b>\n </p>\n</li>\n<p>\n </p></ul>\n</li>\n<p><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\"></span></p>\n<li>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"143\" width=\"431\" src=\"/files/u46870/1-12.jpg\" border=\"0\" />\n </p>\n</li>\n<li>\n<p align=\"center\">\n <span style=\"color: #ff0000\"><b><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #ff0033; font-size: x-small\">คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์</span></b> </span>\n </p>\n</li>\n<li>\n<blockquote><ul>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #990099; font-size: x-small\"><b>กระบวนการทำงาน (Procedure) </b></span></li>\n</ul>\n<blockquote><p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ </span><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้</span>\n </p>\n<ol>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำงาน</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">เลือกรายการ</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">ใส่จำนวนเงินที่ต้องการ</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">รับเงิน</span> </li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">รับใบบันทึกรายการ และบัตร</span> </li>\n</ol>\n<p>\n <span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น</span>\n </p>\n</blockquote>\n</blockquote>\n</li>\n<p></p>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p> </p></span></li>\n<li><span style=\"font-family: MS Sans Serif; font-size: x-small\">\n<p>\n &nbsp;\n </p>\n<p> </p></span></li>\n</ul>\n</li>\n</ul>\n', created = 1719523408, expire = 1719609808, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0141851d9f15852ecec82582654cdcab' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

บทที่2 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

รูปภาพของ pkrucomed512_209

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)

คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย

หน่วยรับข้อมูล ( input unit )

หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU

หน่วยความจำหลัก

หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit )

หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit )

หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์

หน่วยความจำหลัก จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก

ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์

 

 

ฮาร์ดแวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์

  • ซอฟต์แวร์ (Software)

    คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ที่ประกอบออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานใดๆ เนื่องจากต้องมี ซอฟต์แวร์ (Software) ซึ่งเป็นชุดคำสั่งหรือโปรแกรมที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทำงานต่าง ๆ ตามต้องการ โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมนั้นจะเขียนขึ้นมาจาก ภาษาคอมพิวเตอร์ (Programming Language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง และมี โปรแกรมเมอร์ (Programmer) หรือนักเขียนโปรแกรมเป็นผู้ใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เหล่านั้นเขียนซอฟต์แวร์ต่าง ๆ ขึ้นมา

    ซอฟต์แวร์ สามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทใหญ่ๆคือ

    • ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
    • ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software )

ซอฟต์แวร์ระบบ โดยส่วนมากแล้วจะติดตั้งมากับเครื่องคอมพิวเตอร์เนื่องจากซอฟต์แวร์ระบบเป็นส่วนควบคุมทำงานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถเริ่มต้นการทำงานอื่น ๆ ที่ผู้ใช้ต้องการได้ต่อไป ส่วน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นซอฟต์แวร์ที่เน้นในการช่วยการทำงานต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ ซึ่งแตกต่างกันไปตามความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน

ซอฟต์แวร์ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์

 

 บุคลากร (Peopleware)

เครื่องคอมพิวเตอร์โดยมากต้องใช้บุคลากรสั่งให้เครื่องทำงาน เรียกบุคลากรเหล่านี้ว่า ผู้ใช้ หรือ ยูเซอร์ (user) แต่ก็มีบางชนิดที่สามารถทำงานได้เองโดยไม่ต้องใช้ผู้ควบคุม อย่างไรก็ตาม คอมพิวเตอร์ก็ยังคงต้องถูกออกแบบหรือดูแลรักษาโดยมนุษย์เสมอ

ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (computer user) แบ่งได้เป็นหลายระดับ เพราะผู้ใช้คอมพิวเตอร์บางส่วนก็ทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่บางส่วนก็พยายามศึกษาโปรแกรมประยุกต์ในขั้นที่สูงขึ้น ทำให้มีความชำนาญในการใช้โปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ นิยมเรียกกลุ่มนี้ว่า เพาเวอร์ยูสเซอร์ (power user)

ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์ (computer professional) หมายถึงผู้ที่ได้ศึกษาวิชาการทางด้านคอมพิวเตอร์ ทั้งในระดับกลางและระดับสูง ผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จะนำความรู้ที่ได้ศึกษามาประยุกต์และพัฒนาใช้งาน และประสิทธิภาพของระบบคอมพิวเตอร์ให้ทำงานในขั้นสูงขึ้นไปได้อีก นักเขียนโปรแกรม (programmer) ก็ถือว่าเป็นผู้เชียวชาญทางคอมพิวเตอร์เช่นกัน เพราะสามารถสร้างโปรแกรมใหม่ ๆ ได้ และเป็นเส้นทางหนึ่งที่จะนำไปสู่การเป็นผู้เชี่ยวชาญทางคอมพิวเตอร์ต่อไป

                บุคลากรก็เป็นส่วนหนึ่งของระบบคอมพิวเตอร์ เพราะมีความเกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่การพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอร์ ตลอดจนถึงการนำคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ ซึ่งสามารถสรุปลักษณะงานได้ดังนี้

  • การดำเนินงานและเครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น การบันทึกข้อมูลลงสื่อ หรือส่งข้อมูลเข้าประมวล หรือควบคุมการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (Data Entry Operator) เป็นต้น
  • การพัฒนาและบำรุงรักษาโปรแกรม เช่น เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (Application Programmer) เจ้าหน้าที่พัฒนาโปรแกรม (System Programmer) เป็นต้น
  • การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ประมวลผล เช่น เจ้าหน้าที่วิเคราะห์และออกแบบระบบงาน (System Analyst and Administrator) วิศวกรระบบ (System Engineer) เจ้าหน้าที่จัดการฐานข้อมูล (Database Adminstrator) เป็นต้น
  • การพัฒนาและบำรุงรักษาระบบทางฮาร์ดแวร์ เช่น เจ้าหน้าที่ควบคุมการทำงานระบบคอมพิวเตอร์ (Computer Operator) เป็นต้น
  • การบริหารในหน่วยประมวลผลข้อมูล เช่น ผู้บริหารศูนย์ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (EDP Manager) เป็นต้น

  • ข้อมูลและสารสนเทศ (Data / Information)

    ในการทำงานต่าง ๆ จะต้องมีข้อมูลเกิดขึ้นตลอดเวลา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับงานที่ถูกเก็บรวบรวมมาประมวลผล เพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ ซึ้งในปัจจุบันมีการนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาเป็นข้อมูลในการดัดแปลงข้อมูลให้ได้ประสิทธิภาพโดยแตกต่างๆระหว่าง ข้อมูล และ สารสนเทศ คือ

    ข้อมูล คือ ได้จากการสำรวจจริง แต่ สารสนเทศ คือ ได้จากข้อมูลไม่ผ่านกระบวนการหนึ่งก่อน

    •  
      •  
        •  
          •  

            สารสนเทศเป็นสิ่งที่ผู้บริหาารนำไปใช้ช่วยในการตัดสินใจ โดยที่สารสนเทศที่มีประโยชน์นั้นจะมีคุณสมบัติ ดังตาราง

            มีความสัมพันธ์กัน (relevant) สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
            มีความทันสมัย (timely) ต้องมีความทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งานได้ทันทีเมื่อต้องการ
            มีความถูกต้องแม่นยำ (accurate) เมื่อป้อนข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์และผลลัพธ์ที่ได้จะต้องถูกต้องในทุกส่วน
            มีความกระชับรัดกุม (concise) ข้อมูลจะต้องถูกย่นให้มีความยาวที่พอเหมาะ
            มีความสมบูรณ์ในตัวเอง (complete) ต้องรวบรวมข้อมูลที่สำคัญไว้อย่างครบถ้วน

        • คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์

      • คุณสมบัติของสารสนเทศที่มีประโยชน์

        • กระบวนการทำงาน (Procedure)

        กระบวนการทำงานหรือโพรซีเยอร์ หมายถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำตาม เพื่อให้ได้งานเฉพาะอย่างจากคอมพิวเตอร์ซึ่งผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนต้องรู้การทำงานพื้นฐานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่จะสามารถใช้งานได้อย่างถูกต้อง ตัวอย่างเช่น การใช้เครื่อง ฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ ถ้าต้องการถอนเงินจะต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ ดังนี้

        1. จอภาพแสดงข้อความเตรียมพร้อมที่จะทำงาน
        2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้
        3. เลือกรายการ
        4. ใส่จำนวนเงินที่ต้องการ
        5. รับเงิน
        6. รับใบบันทึกรายการ และบัตร

        การใช้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานในส่วนต่าง ๆ นั้นมักจะมีขั้นตอนที่สลับซับซ้อน และเกี่ยวข้องกับช่วงเวลาต่าง ๆ ในการปฏิบัติงานด้วย จึงต้องมีคู่มือการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เช่น คู่มือสำหรับผู้ควบคุมเครื่อง (Operation Manual) คู่มือสำหรับผู้ใช้ (User Manual) เป็นต้น

      •  

      •  

    มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
     

     ช่วยด้วยครับ
    นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
    คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
    ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
    หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
    ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
    มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

    ช่วยกันนะครับ 
    ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
    ไม่ถูกปิดเสียก่อน

    ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

    อ่านรายละเอียด

    ด่วน...... ขณะนี้
    พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
    มีผลบังคับใช้แล้ว 
    ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
    เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
    ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
    อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

     

    สมาชิกที่ออนไลน์

    ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 396 คน กำลังออนไลน์