Microsoft Word3


   
                          
                                
                                          ถ้าเป็นการ Save ครั้งแรก หมายถึง เพิ่งพิมพ์งานใหม่
                                                                        1.       คลิ๊ก เมนู แฟ้ม
                                                                        
2.       ลงมาคลิ๊กที่คำสั่ง บันทึกเป็น (Save As)
                                                                       
3.       จะขึ้นหน้าต่าง Save As จากนั้นในช่องชื่อแฟ้ม เครื่องจะนำเอาบรรทัดแรก
                                                                                  ที่เราพิมพ์ มาเป็นชื่อแฟ้ม แต่ถ้าเราไม่เอาชื่อแฟ้มนั้นก็ ลบทิ้ง พิมพ์ชื่อแฟ้ม
                                                                                  ที่ต้องการลงไปแล้วคลิ๊กปุ่ม บันทึก     

 
                                                       ถ้าเป็นการ Save งานเดิม หมายถึง เรียกขึ้นมาเพื่อแก้ไข แล้วจะ Save ที่เราแก้ไข
                                                                         1.       คลิ๊ก เมนู แฟ้ม
                                                                        
2.       ลงมาคลิ๊กที่คำสั่ง บันทึก (Save)
                                                                        
3.       ตรงนี้เครื่องจะไม่ขึ้นหน้าต่าง ใด ๆ เลย เครื่องจะทำการ Save ลงที่แฟ้มเดิม
                                                                                   ที่เราเรียกใช้อยู่ เพราะเครื่องทราบว่าจะ
Save ที่แฟ้มใดอยู่แล้ว
                                                       

                                
                                                       1.       ด้านบนคลิ๊กที่เมนู แฟ้ม
                                                                        
2.       ลงมาคลิ๊กที่คำสั่ง เปิด
                                                                        
3.       จากหน้าต่างให้เราคลิ๊กที่แฟ้มที่เราต้องการเปิด
                                                                        
4.       ด้านล่างขวาคลิ๊กที่ปุ่มเปิด

                                 
                                                       1.       นำเม้าส์มาคลุมดำบริเวณข้อความในส่วนที่ต้องเราการจะเปลี่ยน
                                                                         
2.       ช่องที่ 2 ที่มีคำว่า Times New Roman ช่องนี้คือแบบอักษร ถ้าเราจะเปลี่ยน
                                                                                     แบบอักษร ให้คลิ๊กที่ปุ่มสามเหลี่ยมสีดำหลังคำว่า
Times New Roman
                                                                                     จากนั้นเลือกตัวอักษรที่เราต้องการ โดยต้องเลือกตัวอักษรที่มีคำว่า
                                                                                   
Angsana New หรือ Angsana UPC อยู่หลังแบบอักษร เพราะแบบอักษรนี้จะ
                                                                                   ใช้ได้กับภาษาไทย
                                                                        
3.       ช่องที่ 3 ที่มีตัวเลขเป็น 20 ช่องนี้คือ ขนาดของตัวอักษร ถ้าเราจะเปลี่ยนก็ให้
                                                                                    คลิ๊กที่ปุ่ม สามเหลี่ยมสีดำ หลังเลข
20 แล้วเลือกขนาดได้ตามใจชอบ
                                                                        
4.       ช่องที่ 4 จะเป็นตัวอักษร B ถ้าเราคลิ๊กลงไปจะได้ตัวอักษร หนาขึ้น ถ้าไม่เอา
                                                                                   ให้คลิ๊กซ้ำลงไป
                                                                        
5.       ช่องที่ 5 จะเป็นตัวอักษร I จะเป็นการทำตัวเอียง
                                                                        
6.       ช่องที่ 6 จะเป็นตัวอักษร U จะเป็นการทำตัวขีดเส้นใต้
                                                                        
7.       ช่องสุดท้าย จะเป็นตัวอักษร A จะเป็นการเลือกสีตัวอักษร ให้คลิ๊กที่ปุ่มสามเหลี่ยม
                                                                                    สีดำหลังตัว
A จะมีสีต่าง ๆ ให้เลือก ถ้าเราไม่เอาสีนั้นแล้วให้คลิ๊กที่คำว่าอัตโนมัติ
                                                                         
8.       ช่องที่อยู่หน้าปุ่ม A ที่เป็นรูปพู่กัน คือการระบายสี ให้คลิ๊กที่ปุ่มสามเหลี่ยมสีดำหลัง
                                                                                    รูปพู่กันจะมีสีต่าง ๆ ให้เลือก แต่ถ้าเราเลือกไปแล้วจะไม่ต้องการระบายสี ให้คลิ๊ก
                                                                                    ที่คำว่า ไม่มี
                                                                         
9.        เมื่อเปลี่ยนเรียบร้อยแล้ว ให้นำเม้าส์คลิ๊กที่ไหนก็ได้ในกระดาษ เพื่อยกเลิกแถบ



                                
                                                                 

สร้างโดย: 
suriya and kru arunee

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 584 คน กำลังออนไลน์