• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2bd07fcc738bb306aebd5e4a94d98a92' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p style=\"text-align: center; font-size: 12px; color: #2b3220\" align=\"center\" class=\"MsoNormal\"><img src=\"/files/u19610/head_friendly.jpg\" height=\"100\" width=\"500\" /></p>\n<p style=\"text-align: left; font-size: 12px; color: #2b3220\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span><img src=\"/files/u19610/icon_home.png\" width=\"32\" height=\"32\" align=\"absmiddle\" /> <b>ขณะนี้คุณอยู่ที่ </b>:: <a href=\"/node/84625\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; text-decoration: none; color: #69951d\">หน้าแรก</a> &gt; พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฉบับอ่านง่าย</p>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งมีผลประกาศใช้ในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ดังนั้นลองมาทำความเข้าใจกันแบบสั้นๆดีกว่าครับ ว่าทำอะไรผิดบ้างถึงจะถูกกฎหมายนี้ลงโทษ ทุกท่านจะได้ระมัดระวัง ไม่เผลอให้เกิดช่องโหว่ทางความผิดครับ</div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๑. ร่างกฎหมายเดิม จำกัดอำนาจของเจ้าหน้าที่ตำรวจเอาไว้ กล่าวคือ จะดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดได้ ก็ต่อเมื่อได้รับการร้องขอจากเจ้าพนักงานตาม พระราชบัญญัตินี้เท่านั้น แต่ พระราชบัญญัติที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษามิได้ระบุข้อความดังกล่าวเอาไว้แล้ว แสดงว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ได้แต่ไม่สามารถใช้อำนาจของเจ้าพนักงานตาม มาตรา๑๘ ได้ ต้องใช้อำนาจตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อดำเนินการที่เกี่ยวข้องแทน </div>\n<div style=\"text-align: left\">  </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๒. ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ส่วนใหญ่เป็นการอุดช่องว่างของกฎหมายเดิม ในลักษณะความผิดที่ไม่สามารถนำประมวลกฎหมายอาญา มาปรับใช้ได้</div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<ul>\n<li><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #2b3220\">บุกรุกเข้าไปยังระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ( มาตรา ๕ โทษจำคุกไม่เกิน หกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </span></li>\n<li><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #2b3220\">นำมาตรการป้องกันเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปเผยแพร่โดยมิชอบ ( มาตรา ๖ โทษจำคุกไม่เกิน หนึ่งปี / ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </span></li>\n<li>เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ( มาตรา ๗ โทษจำคุกไม่เกิน สองปี / ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n<li>ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งโดยมิชอบ ได้แก่ การติดตั้งโปรแกรม Sniffer เพื่อดักขโมยข้อมูลของผู้อื่น ( มาตรา ๘ โทษจำคุกไม่เกิน สามปี / ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n<li>ทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ทั้งหมด หรือบางส่วน ของผู้อื่น โดยมิชอบ ได้แก่การเปลี่ยนหน้าเว็บเพจของผู้อื่น ( มาตรา ๙ โทษจำคุกไม่เกิน ห้าปี / ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n<li>กระทำโดยมิชอบเพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือ รบกวนจนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อันได้แก่ การทำ DDoS Attack (Distributed Denial of Service) ( มาตรา ๑๐ โทษจำคุกไม่เกิน ห้าปี / ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n<li>ส่ง Spam Mail หรือ ส่งอีเมล์รบกวนในลักษณะปิดบังตนเอง ( มาตรา ๑๑ ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท) </li>\n<li>กระทำความผิดตาม มาตรา ๙ และ มาตรา ๑๐ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน หรือ ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ อันได้แก่ การติดตั้ง BotNet ลงในระบบแม่ข่ายเป้าหมาย และทำให้เกิดการแพร่กระจายไวรัส ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ต้องรับโทษหนักขึ้น ตามมาตรา ๑๒ </li>\n<li>จำหน่าย หรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตาม มาตรา ๕ - ๑๑ ( มาตรา ๑๓ จำคุกไม่เกินหนึ่งปี / ปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n<li>นำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม ( เช่น การทำ Phishing ) อันเป็นเท็จ (เช่น ส่งเมล์หลอกลวงผู้อื่นให้หลงเชื่อว่าถูกรางวัลให้โอนค่าธรรมเนียมมาให้) อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง หรือที่มีลักษณะลามก ( มาตรา ๑๔ จำคุกไม่เกินห้าปี / ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) </li>\n</ul>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\"></div>\n<div style=\"text-align: left\"></div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดโทษสำหรับความผิด<b>หมิ่นประมาทด้วยการโฆษณาตัดต่อภาพ</b> ซึ่งเป็นความผิดอัน<b>ยอมความได้เพียงมาตราเดียว </b>ของพระราชบัญญัติฉบับนี้</div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><u>ข้อสังเกต</u> ความผิดในการเผยแพร่ภาพลามก และหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณาตัดต่อภาพ มีความซ้ำซ้อนกับประมวลกฎหมายอาญาที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่มีการกำหนดโทษสำหรับฐานความผิดการครอบครองภาพลามกเด็กเอาไว้ </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๓. เจ้าพนักงานมีอำนาจขอข้อมูลจากผู้ให้บริการได้ ตาม มาตรา ๑๘ (๑)-(๓) โดยไม่ต้องขอหมายศาล ส่วนการทำสำเนาข้อมูล สั่งให้ส่งมอบอุปกรณ์ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถอดรหัสข้อมูล การยึดอายัด ตาม มาตรา ๑๘ (๔)-(๘) แต่ต้องขอหมายศาล </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๔. มาตรา ๒๑ ห้ามมิให้เจ้าพนักงานเปิดเผยข้อมูลที่ได้ตาม มาตรา 18 ยกเว้นเพื่อประโยชน์ในการดำเนินคดีตาม พระราชบัญญัตินี้เท่านั้น หากฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กรณีที่กระทำโดยประมาท จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนผู้ที่ล่วงรู้ข้อมูลที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตาม มาตรา 18 และเปิดเผยข้อมูลนั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ดังนั้นในคดีที่เกี่ยวพันกับคดีอาญาทั่วไป เช่น จำหน่ายยาเสพติด, การพนัน, จ้างวานฆ่า เป็นต้น แม้ว่าตรวจสอบพบก็ไม่สามารถเปิดเผยเพื่อขยายผลได้ หากจำเป็น ต้องร้องขอต่อศาลให้อนุญาตก่อนเท่านั้น </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๕. พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จำเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการได้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน ซึ่งผู้ให้บริการตามพระราช บัญญัตินี้ครอบคลุมถึงผู้ให้บริการในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือ ให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ จึงมีความหมายกว้างขวาง ซึ่งรวมถึงผู้ให้บริการโทรศัพท์ธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์แบบเติมเงิน ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ตลอดจนการให้บริการ อินเทอร์เน็ตไร้สายในลักษณะ Hot Spot ตามห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานศึกษา รวมถึงสถานที่ราชการด้วยเช่นกัน </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>หากไม่จัดเก็บ หรือจัดเก็บในลักษณะที่ไม่สามารถตรวจสอบยืนยันตัวบุคคลได้ (เฉพาะในส่วนที่ตนรับผิดชอบ) มีโทษปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๗. ผู้ให้บริการที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม มาตรา ๑๘ , มาตรา ๒๐ , มาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับรายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๗. การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกำหนด ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำประกาศคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่ </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>พนักงานเจ้าหน้าที่ จะมีอำนาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีอำนาจในการรับคำร้องทุกข์ ตลอดจนมีอำนาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>ส่วนการจับ ควบคุม ค้น การทำสำนวน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป ดังนั้น คดีที่เกี่ยวพันกับคดีอาญาทั่วไป พนักงานเจ้าที่ตาม พระราชบัญญัติจะไม่สามารถดำเนินคดีได้ </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: left\"><span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>๘. จากการประชุมร่วมกัน เพื่อจัดทำร่างบันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงาน มีแนวโน้มว่า เพื่อป้องกันการสับสนของประชาชน จะให้ประชาชนแจ้งความตามสถานีตำรวจต่าง ๆ ทั่วประเทศเช่นเดียวกับคดีอาญาทั่วไป โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจอาจร้องขอผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตาม พระราชบัญญัตินี้ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการทำงานได้ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่มีความพร้อมก็สามารถดำเนินการรับแจ้งความ ตลอดจนสอบสวนดำเนินคดีเองได้ </div>\n<div style=\"text-align: left\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><img src=\"/files/u19610/crime1.jpg\" height=\"289\" width=\"460\" /> </div>\n<div style=\"text-align: center\"><i><br />♦ อ้างอิงรูปภาพ :: </i><a href=\"http://theoldspeakjournal.files.wordpress.com/2010/09/misc22.jpg\">http://theoldspeakjournal.files.wordpress.com/2010/09/misc22.jpg</a></div>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n<p><a href=\"/node/92306\" style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; text-decoration: none; color: #69951d\"><span style=\"font-style: normal\" class=\"Apple-style-span\"><img src=\"/files/u19610/ref.jpg\" style=\"border-style: initial; border-color: initial; border-width: 0px\" align=\"right\" width=\"210\" height=\"53\" /></span></a></p>\n<p>&nbsp;</p>\n<p>&nbsp;</p>\n<div style=\"text-align: center\"> </div>\n', created = 1718574845, expire = 1718661245, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2bd07fcc738bb306aebd5e4a94d98a92' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รู้ไว้ก่อนใช้ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ :: พ.ร.บ. ฉบับอ่านง่าย

 ขณะนี้คุณอยู่ที่ :: หน้าแรก > พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ฉบับอ่านง่าย

 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งมีผลประกาศใช้ในวันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ดังนั้นลองมาทำความเข้าใจกันแบบสั้นๆดีกว่าครับ ว่าทำอะไรผิดบ้างถึงจะถูกกฎหมายนี้ลงโทษ ทุกท่านจะได้ระมัดระวัง ไม่เผลอให้เกิดช่องโหว่ทางความผิดครับ
 
๑. ร่างกฎหมายเดิม จำกัดอำนาจของเจ้าหน้าที่ตำรวจเอาไว้ กล่าวคือ จะดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดได้ ก็ต่อเมื่อได้รับการร้องขอจากเจ้าพนักงานตาม พระราชบัญญัตินี้เท่านั้น แต่ พระราชบัญญัติที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษามิได้ระบุข้อความดังกล่าวเอาไว้แล้ว แสดงว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ได้แต่ไม่สามารถใช้อำนาจของเจ้าพนักงานตาม มาตรา๑๘ ได้ ต้องใช้อำนาจตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เพื่อดำเนินการที่เกี่ยวข้องแทน 
  
๒. ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ส่วนใหญ่เป็นการอุดช่องว่างของกฎหมายเดิม ในลักษณะความผิดที่ไม่สามารถนำประมวลกฎหมายอาญา มาปรับใช้ได้
 
  • บุกรุกเข้าไปยังระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ( มาตรา ๕ โทษจำคุกไม่เกิน หกเดือน หรือ ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • นำมาตรการป้องกันเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นไปเผยแพร่โดยมิชอบ ( มาตรา ๖ โทษจำคุกไม่เกิน หนึ่งปี / ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • เข้าถึงข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยมิชอบ ( มาตรา ๗ โทษจำคุกไม่เกิน สองปี / ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • ดักรับข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งโดยมิชอบ ได้แก่ การติดตั้งโปรแกรม Sniffer เพื่อดักขโมยข้อมูลของผู้อื่น ( มาตรา ๘ โทษจำคุกไม่เกิน สามปี / ปรับไม่เกินหกหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • ทำให้เสียหาย ทำลาย แก้ไข เปลี่ยนแปลง หรือเพิ่มเติม ทั้งหมด หรือบางส่วน ของผู้อื่น โดยมิชอบ ได้แก่การเปลี่ยนหน้าเว็บเพจของผู้อื่น ( มาตรา ๙ โทษจำคุกไม่เกิน ห้าปี / ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • กระทำโดยมิชอบเพื่อให้ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถูกระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือ รบกวนจนไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อันได้แก่ การทำ DDoS Attack (Distributed Denial of Service) ( มาตรา ๑๐ โทษจำคุกไม่เกิน ห้าปี / ปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • ส่ง Spam Mail หรือ ส่งอีเมล์รบกวนในลักษณะปิดบังตนเอง ( มาตรา ๑๑ ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท) 
  • กระทำความผิดตาม มาตรา ๙ และ มาตรา ๑๐ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชน หรือ ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ อันได้แก่ การติดตั้ง BotNet ลงในระบบแม่ข่ายเป้าหมาย และทำให้เกิดการแพร่กระจายไวรัส ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ต้องรับโทษหนักขึ้น ตามมาตรา ๑๒ 
  • จำหน่าย หรือเผยแพร่ชุดคำสั่งเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิดตาม มาตรา ๕ - ๑๑ ( มาตรา ๑๓ จำคุกไม่เกินหนึ่งปี / ปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
  • นำเข้าข้อมูลคอมพิวเตอร์ปลอม ( เช่น การทำ Phishing ) อันเป็นเท็จ (เช่น ส่งเมล์หลอกลวงผู้อื่นให้หลงเชื่อว่าถูกรางวัลให้โอนค่าธรรมเนียมมาให้) อันเป็นความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง หรือที่มีลักษณะลามก ( มาตรา ๑๔ จำคุกไม่เกินห้าปี / ปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท / ทั้งจำทั้งปรับ) 
นอกจากนี้ ยังมีการกำหนดโทษสำหรับความผิดหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณาตัดต่อภาพ ซึ่งเป็นความผิดอันยอมความได้เพียงมาตราเดียว ของพระราชบัญญัติฉบับนี้
 
ข้อสังเกต ความผิดในการเผยแพร่ภาพลามก และหมิ่นประมาทด้วยการโฆษณาตัดต่อภาพ มีความซ้ำซ้อนกับประมวลกฎหมายอาญาที่มีอยู่แล้ว แต่ไม่มีการกำหนดโทษสำหรับฐานความผิดการครอบครองภาพลามกเด็กเอาไว้ 
 
๓. เจ้าพนักงานมีอำนาจขอข้อมูลจากผู้ให้บริการได้ ตาม มาตรา ๑๘ (๑)-(๓) โดยไม่ต้องขอหมายศาล ส่วนการทำสำเนาข้อมูล สั่งให้ส่งมอบอุปกรณ์ เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น ถอดรหัสข้อมูล การยึดอายัด ตาม มาตรา ๑๘ (๔)-(๘) แต่ต้องขอหมายศาล 
 
๔. มาตรา ๒๑ ห้ามมิให้เจ้าพนักงานเปิดเผยข้อมูลที่ได้ตาม มาตรา 18 ยกเว้นเพื่อประโยชน์ในการดำเนินคดีตาม พระราชบัญญัตินี้เท่านั้น หากฝ่าฝืน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ กรณีที่กระทำโดยประมาท จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ส่วนผู้ที่ล่วงรู้ข้อมูลที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้มาตาม มาตรา 18 และเปิดเผยข้อมูลนั้นต่อผู้หนึ่งผู้ใด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ 
 
ดังนั้นในคดีที่เกี่ยวพันกับคดีอาญาทั่วไป เช่น จำหน่ายยาเสพติด, การพนัน, จ้างวานฆ่า เป็นต้น แม้ว่าตรวจสอบพบก็ไม่สามารถเปิดเผยเพื่อขยายผลได้ หากจำเป็น ต้องร้องขอต่อศาลให้อนุญาตก่อนเท่านั้น 
 
๕. พระราชบัญญัตินี้กำหนดให้ผู้ให้บริการจะต้องเก็บรักษาข้อมูลของผู้ใช้บริการเท่าที่จำเป็นเพื่อให้สามารถระบุตัวผู้ใช้บริการได้ไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน ซึ่งผู้ให้บริการตามพระราช บัญญัตินี้ครอบคลุมถึงผู้ให้บริการในการเข้าสู่อินเทอร์เน็ต หรือ ให้สามารถติดต่อถึงกันโดยประการอื่น โดยผ่านระบบคอมพิวเตอร์ จึงมีความหมายกว้างขวาง ซึ่งรวมถึงผู้ให้บริการโทรศัพท์ธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่ โทรศัพท์แบบเติมเงิน ร้านอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ ตลอดจนการให้บริการ อินเทอร์เน็ตไร้สายในลักษณะ Hot Spot ตามห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานศึกษา รวมถึงสถานที่ราชการด้วยเช่นกัน 
หากไม่จัดเก็บ หรือจัดเก็บในลักษณะที่ไม่สามารถตรวจสอบยืนยันตัวบุคคลได้ (เฉพาะในส่วนที่ตนรับผิดชอบ) มีโทษปรับไม่เกิน ห้าแสนบาท 
 
๗. ผู้ให้บริการที่ไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของศาลหรือ พนักงานเจ้าหน้าที่ ตาม มาตรา ๑๘ , มาตรา ๒๐ , มาตรา ๒๑ ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองแสนบาทและปรับรายวันอีกไม่เกินวันละห้าพันบาทจนกว่าจะปฏิบัติให้ถูกต้อง 
 
๗. การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแต่งตั้งจากผู้มีความรู้และความชำนาญเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และมีคุณสมบัติตามที่รัฐมนตรีกำหนด ซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำประกาศคุณสมบัติพนักงานเจ้าหน้าที่ 
พนักงานเจ้าหน้าที่ จะมีอำนาจเช่นเดียวกับพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจชั้นผู้ใหญ่ตาม ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มีอำนาจในการรับคำร้องทุกข์ ตลอดจนมีอำนาจในการสืบสวนสอบสวนเฉพาะความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ 
ส่วนการจับ ควบคุม ค้น การทำสำนวน ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ประสานงานกับพนักงานสอบสวนผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ต่อไป ดังนั้น คดีที่เกี่ยวพันกับคดีอาญาทั่วไป พนักงานเจ้าที่ตาม พระราชบัญญัติจะไม่สามารถดำเนินคดีได้ 
 
๘. จากการประชุมร่วมกัน เพื่อจัดทำร่างบันทึกข้อตกลงระหว่างหน่วยงาน มีแนวโน้มว่า เพื่อป้องกันการสับสนของประชาชน จะให้ประชาชนแจ้งความตามสถานีตำรวจต่าง ๆ ทั่วประเทศเช่นเดียวกับคดีอาญาทั่วไป โดยเจ้าหน้าที่ตำรวจอาจร้องขอผู้เชี่ยวชาญซึ่งเป็นเจ้าพนักงานตาม พระราชบัญญัตินี้ เพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการทำงานได้ เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่มีความพร้อมก็สามารถดำเนินการรับแจ้งความ ตลอดจนสอบสวนดำเนินคดีเองได้ 
 
 
 

♦ อ้างอิงรูปภาพ :: 
http://theoldspeakjournal.files.wordpress.com/2010/09/misc22.jpg
 

 

 

 
สร้างโดย: 
ครูฉิมพลี วิมลธรรม และ นายณัฐ เจนกิติวรพงศ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 539 คน กำลังออนไลน์