• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:752bdd06bed95b2f799da1432e0ea1fd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; background-color: #ffffff; margin-top: 0px; margin-right: auto; margin-bottom: 0px; margin-left: auto; padding: 0px\">\n<div style=\"text-align: center\">\n<p style=\"text-align: center; font-size: 12px; color: #2b3220\" class=\"MsoNormal\" align=\"center\"><img src=\"/files/u19610/head_origin.jpg\" width=\"500\" height=\"100\" /></p>\n<p style=\"text-align: left; font-size: 12px; color: #2b3220\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span><img src=\"/files/u19610/icon_home.png\" align=\"absmiddle\" height=\"32\" width=\"32\" /> <b>ขณะนี้คุณอยู่ที่ </b>:: <a href=\"/node/84625\">หน้าแรก</a> &gt; ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐</p>\n<div style=\"text-align: left\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>  <img src=\"/files/u19610/arrow.jpg\" width=\"50\" height=\"26\" align=\"absmiddle\" />  <b>ทำความรู้จักกับ &quot;พระราชบัญญัติ&quot;</b></div>\n</div>\n<p><img src=\"/files/u19610/logo_law.jpg\" align=\"right\" height=\"110\" width=\"110\" hspace=\"2\" />\n</p><p><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span><b>พระราชบัญญัติ</b> (พ.ร.บ.)(Act of Parliament) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ตามปกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์รองจากกฎหมายรัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นเป็นกฎหมายบังคับใช้แก่ประชาชน โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนและวุฒิสภา พระราชบัญญัติจะมีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์ และเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการใช้อำนาจ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ซึ่งเนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญทั่วไป เรียกว่า ประเพณีการปกครองของประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นอกจากนี้ เนื้อหาของพระราชบัญญัติยังมีลักษณะกำหนดกฎเกณฑ์เป็นการทั่วไปในการก่อตั้ง เปลี่ยนแปลงกำหนดขอบเขตแห่งสิทธิและหน้าที่ของบุคคล ตลอดจนจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลได้ตามที่รัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้</p>\n<p>\n<table style=\"background-image: url(\'/files/u19610/bar_pen_0.jpg\'); font-size: 12px; color: #2b3220; height: 38px; border-width: 1px !important; border-color: #bbbbbb !important; border-style: dashed !important\" width=\"600\" border=\"0\" cellpadding=\"0\" cellspacing=\"0\">\n<tbody>\n<tr>\n<td style=\"border-width: 1px !important; border-color: #bbbbbb !important; border-style: dashed !important\">\n<p> <b style=\"font-family: Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>    ศึกษา &quot;พระราชบัญญัติ&quot; </b><b style=\"font-family: Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">เพิ่มเติม</b><b style=\"font-family: Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px\">ที่</b> :: <a href=\"http://bit.ly/eq4JB9\">http://bit.ly/eq4JB9</a> และ <a href=\"http://bit.ly/i8NZpk\">http://bit.ly/i8NZpk</a>  </p>\n</td>\n</tr>\n</tbody>\n</table>\n</p>\n</div>\n<div style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; background-color: #ffffff; margin-top: 0px; margin-right: auto; margin-bottom: 0px; margin-left: auto; padding: 0px\"></div>\n<div style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; background-color: #ffffff; margin-top: 0px; margin-right: auto; margin-bottom: 0px; margin-left: auto; padding: 0px\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>  <img src=\"/files/u19610/arrow.jpg\" width=\"50\" height=\"26\" align=\"absmiddle\" />  <b>ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐</b></div>\n<div style=\"background-color: #ffffff; margin-top: 0px; margin-right: auto; margin-bottom: 0px; margin-left: auto; padding: 0px\">\n<p style=\"text-align: left; font-size: 12px; color: #2b3220; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\" lang=\"TH\">คณะรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๙ เมื่อวันพุธที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ โดยมีหลักการคือ </span><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><b>“<span lang=\"TH\">ให้มีกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์</span>”</b><span> </span></span></p>\n<p><img src=\"/files/u19610/p1.jpg\" alt=\"http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg\" border=\"1\" hspace=\"5\" vspace=\"5\" width=\"275\" height=\"181\" align=\"right\" /><br />\n</p><p style=\"text-align: left; font-size: 12px; color: #2b3220; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"MsoNormal\"><span lang=\"TH\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span>เหตุผลคือ</span>“<span lang=\"TH\">เนื่องจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนสำคัญของการประกอบกิจการและการดำรงชีวิตของมนุษย์หากมีผู้กระทำด้วยประการใดๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดไว้หรือทำให้การทำงานผิดพลาดไปจากคำสั่งที่กำหนดไว้หรือใช้วิธีการใดๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือทำลายข้อมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบหรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจารย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐรวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทำดังกล่าวจึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้</span>”</p>\n<p style=\"text-align: left; font-size: 12px; color: #2b3220; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 9pt; font-family: Tahoma, sans-serif\"><span lang=\"TH\"><span style=\"white-space: pre\" class=\"Apple-tab-span\"> </span></span></span>ที่ประชุมสภานิติบัญญัติที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ลงมติรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไว้พิจารณาและตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติและผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับวิชาการคอมพิวเตอร์และกฎหมายเพื่อพิจารณาคณะกรรมาธิการได้ประชุมพิจารณารวมทั้งสิ้น ๒๗ ครั้ง และได้เสนอต่อสภานิติบัญญัติเพื่อพิจารณาในวาระ ๒ และวาระ ๓ เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๐ และได้มีมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้เพื่อให้มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมายต่อไปซึ่งต่อมาได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอน ๒๗ก.<span>  </span>ลงวันที่ ๑๘<span> </span>มิถุนายน ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติฉบับนี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๘มิถุนายน๒๕๕๐ ดังนั้นจึงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ เป็นต้นไป</p>\n<p style=\"text-align: right; font-size: 12px; color: #2b3220; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"MsoNormal\"><i>♦ อ้างอิงรูปภาพ :: <a href=\"http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg\">http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg</a></i></p>\n<p style=\"text-align: right; font-size: 12px; color: #2b3220; font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif\" class=\"MsoNormal\"><i><a href=\"http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg\"></a></i><a href=\"/node/92306\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-style: normal\"><img src=\"/files/u19610/ref.jpg\" width=\"210\" height=\"53\" /></span> </a></p>\n<p style=\"margin-bottom: 0.0001pt; line-height: normal\" class=\"MsoNormal\"><span style=\"font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span></p>\n</div>\n', created = 1718569677, expire = 1718656077, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:752bdd06bed95b2f799da1432e0ea1fd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

รู้ไว้ก่อนใช้ผิด พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ :: ที่มาของพ.ร.บ.

 ขณะนี้คุณอยู่ที่ :: หน้าแรก > ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

    ทำความรู้จักกับ "พระราชบัญญัติ"

พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.)(Act of Parliament) คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ตามปกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นกฎหมายที่มีลำดับศักดิ์รองจากกฎหมายรัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นเป็นกฎหมายบังคับใช้แก่ประชาชน โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา ซึ่งประกอบด้วยสภาผู้แทนและวุฒิสภา พระราชบัญญัติจะมีผลบังคับใช้อย่างสมบูรณ์ และเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารในการใช้อำนาจ จะต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ซึ่งเนื้อหาของพระราชบัญญัตินั้นจะต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือหลักกฎหมายรัฐธรรมนูญทั่วไป เรียกว่า ประเพณีการปกครองของประเทศไทยในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นอกจากนี้ เนื้อหาของพระราชบัญญัติยังมีลักษณะกำหนดกฎเกณฑ์เป็นการทั่วไปในการก่อตั้ง เปลี่ยนแปลงกำหนดขอบเขตแห่งสิทธิและหน้าที่ของบุคคล ตลอดจนจำกัดสิทธิเสรีภาพของบุคคลได้ตามที่รัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้

    ศึกษา "พระราชบัญญัติ" เพิ่มเติมที่ :: http://bit.ly/eq4JB9 และ http://bit.ly/i8NZpk 

    ที่มาของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐

คณะรัฐมนตรีได้เสนอร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.๒๕๕๐ ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติในการประชุมครั้งที่ ๖/๒๕๔๙ เมื่อวันพุธที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ โดยมีหลักการคือ ให้มีกฎหมายว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 

http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg

เหตุผลคือเนื่องจากในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ได้เป็นส่วนสำคัญของการประกอบกิจการและการดำรงชีวิตของมนุษย์หากมีผู้กระทำด้วยประการใดๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำงานตามคำสั่งที่กำหนดไว้หรือทำให้การทำงานผิดพลาดไปจากคำสั่งที่กำหนดไว้หรือใช้วิธีการใดๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือทำลายข้อมูลของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบหรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจารย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐรวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน สมควรกำหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระทำดังกล่าวจึงจำเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้

ที่ประชุมสภานิติบัญญัติที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติได้ลงมติรับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวไว้พิจารณาและตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งประกอบด้วยสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติแห่งชาติและผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับวิชาการคอมพิวเตอร์และกฎหมายเพื่อพิจารณาคณะกรรมาธิการได้ประชุมพิจารณารวมทั้งสิ้น ๒๗ ครั้ง และได้เสนอต่อสภานิติบัญญัติเพื่อพิจารณาในวาระ ๒ และวาระ ๓ เมื่อวันที่ ๙ พฤษภาคม ๒๕๕๐ และได้มีมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้เพื่อให้มีผลบังคับใช้เป็นกฎหมายต่อไปซึ่งต่อมาได้มีการประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๘ ตอน ๒๗ก.  ลงวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๕๐ พระราชบัญญัติฉบับนี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๑๘มิถุนายน๒๕๕๐ ดังนั้นจึงมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

♦ อ้างอิงรูปภาพ :: http://www.2poto.com/cfwebboard/upload/006330.jpg

 

สร้างโดย: 
ครูฉิมพลี วิมลธรรม และ นายณัฐ เจนกิติวรพงศ์ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 493 คน กำลังออนไลน์