• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ไม่พบหน้าที่เรียก | Page not found', 'node/207', '', '18.222.197.128', 0, '4d19ef05eb588765ce10578d74d2c9b1', 93, 1716228092) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1fcdd2162e4a2b8b24d2c03e9a87e268' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #cc99ff\"><span style=\"color: #ff99cc\"><strong>หลักการสำคัญ </strong></span> </span><span style=\"color: #cc99ff\"></span></p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\">     รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งมีบทบัญญัติทั้งสิ้นถึง 223 มาตรา มีสาระสำคัญ ดังนี้</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 1) ในกรณีที่ราชบัลลังก์ว่าง และเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งรัชทายาท คณะองคมนตรีอาจจะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ (มาตรา 21)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 2) การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 3) ประธานวุฒิสภาเป็นประธานรัฐสภา ต่อมามีการแก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา (มาตรา 157) แก้ไขเพิ่มเติม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2535</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 4) รัฐสภา มี 2 สภา คือ วุฒิสภา มาจากการแต่งตั้ง จำนวน 270 คน มีวาระ 6 ปี แต่ต่อมา จึงมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนวุฒิสมาชิกให้เป็น 2 ใน 3 ของจำนวน ส.ส. และแก้ไขวาระดำรงตำแหน่งลงเหลือ 4 ปี (ฉบับที่ 5) และ สภาผู้แทนราษฎร มาจากการเลือกตั้งโดยตรง วิธีการเลือกตั้งแบบผสม เขตละไม่เกิน 3 คน มีวาระ 4 ปี</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 5) กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไว้แน่นอนตายตัว คือ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 360 คน (มาตรา 99)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 6) พรรคการเมืองที่สมาชิกจะเป็นผู้ที่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งได้ จะต้องเป็นพรรคการเมืองที่ส่งสมาชิกเข้าสมัครเลือกตั้งรวมกันไม่น้อยกว่า 120 คน</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 7) บุคคลผู้มีคุณสมบัติเป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง จะต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้น หรือ เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของจังหวัดนั้น หรือ เป็นบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดนั้น หรือ เคยศึกษาเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 2 ปีการศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น (มาตรา 105)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 8) บุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ ห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (มาตรา 107)<br />\n      (ก) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือ ให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือ ถือว่าทุจริตต่อหน้าที่<br />\n      (ข) เคยต้องคำพิพากษา หรือ คำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติ หรือ มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ<br />\n      (ค) เคยถูกวุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพ<br />\n      (ง) เคยถูก หรือ ถูกคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยให้พ้นจากสมาชิกภาพ เพราะมีกรณี ปรากฎหลักฐานน่าเชื่อได้ว่าเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยใช้อามิสสินจ้างไม่ว่าโดยวิธีใดๆ เพื่อให้ตนได้รับเลือกตั้ง<br />\n 9) เอกสิทธิ์ในที่ประชุมวุฒิสภาก็ดี ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร หรือ ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาก็ดี ไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียง หรือ วิทยุโทรทัศน์ (มาตรา 125)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 10) สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป แต่วุฒิสภาจะลงมติในปัญหาที่อภิปรายมิได้ (มาตรา 151) ต่อมาจึงถูกยกเลิกโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2535</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 11) ถ้าสมาชิกวุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 เห็นว่าข้อบังคับแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิกหรือข้อบังคับของรัฐสภาเรื่องใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญให้เสนอความเห็นต่อตุลาการรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา (มาตรา 155)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 12) ไม่บังคับให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่อมาถูกแก้ไขโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2535</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 13) คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 48 คน ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งรัฐมนตรี<br />\nคุณสมบัติของรัฐมนตรี (มาตรา 151)<br />\n      (ก) มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์<br />\n      (ข) ต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ<br />\n      (ค) ไม่มีลักษณะต้องห้ามอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญ</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 14) สมาชิกรัฐสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 มีสิทธิเข้าชื่อเสนอความเห็นว่า พระราชกำหนดเป็นไปตามมาตรา 172 วรรคหนึ่ง หรือไม่ โดยให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัย (มาตรา 173)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 15) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรี รัฐสภา วุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีมติว่า กรณีมีปัญหาที่จะต้องตีความรัฐธรรมนูญ ให้นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา หรือ ประธานสภาผู้แทนราษฎรแล้วแต่กรณี ส่งเรื่องให้ตุลาการรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย (มาตรา 207)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 16) สมาชิกวุฒิสภาอาจเสนอญัตติขอแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ โดยเข้าชื่อร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 211)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\"> 17) กำหนดให้บรรดาประกาศหรือคำสั่งของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่ออกใช้บังคับก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ รวมทั้งคำสั่งของนายกรัฐมนตรี หรือ ประธานสภารักษาความมั่นคงแห่งชาติที่ออกโดยอาศัยอำนาจพิเศษตามมาตรา 27 ของธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีการบัญญัติเช่นนี้ ทั้งนี้เพราะผู้ร่างรัฐธรรมนูญประสงค์จะให้ประกาศหรือคำสั่งของคณะรัฐประหารไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของหลักการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ นั่นเอง<br />\nบทเฉพาะกาล รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ได้สร้างบทเฉพาะกาลโดยให้สมาชิกวุฒิสภามีบทบาทในการควบคุมฝ่ายบริหาร โดยให้มีผลบังคับใช้ในระยะเวลา 4 ปี นับแต่วันประกาศใช้ และมีผลทำให้วุฒิสภา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าราชการประจำเข้ามามีบทบาทในการควบคุมรัฐบาล ดังที่ได้กำหนดบทเฉพาะกาลในเรื่องต่อไปนี้เอาไว้</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\">   1) ในวาระเริ่มแรก พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งบุคคลผู้มีลักษณะตามที่บัญญัติไว้เป็นสมาชิกวุฒิสภาในวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และให้ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งวุฒิสภา (มาตรา 217)</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #ff99cc\">   2) ในวาระเริ่มแรก เมื่อใช้รัฐธรรมนูญนี้แล้ว การดำเนินการดังต่อไปนี้ ให้กระทำในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาด้วย (มาตรา 219)<br />\n          (ก) การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา 150<br />\n          (ข) การพิจารณาพระราชกำหนดตามมาตรา 172 มาตรา 173 และมาตรา 174<br />\n   3) เมื่อครบกำหนด 4 ปี นับแต่วันแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 217 แล้วให้บทบัญญัติแห่งมาตรา 217 และมาตรา 219 เป็นอันยกเลิกไป</span> </strong>\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/84777\"></a></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"82\" width=\"150\" src=\"/files/u31262/icon_home.jpg\" alt=\"หน้าแรก\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<br />\n<strong> <br />\n</strong>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1716228112, expire = 1716314512, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1fcdd2162e4a2b8b24d2c03e9a87e268' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฉบับที่15

หลักการสำคัญ 

     รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ซึ่งมีบทบัญญัติทั้งสิ้นถึง 223 มาตรา มีสาระสำคัญ ดังนี้

 1) ในกรณีที่ราชบัลลังก์ว่าง และเป็นกรณีที่พระมหากษัตริย์มิได้ทรงแต่งตั้งรัชทายาท คณะองคมนตรีอาจจะเสนอพระนามพระราชธิดาก็ได้ (มาตรา 21)

 2) การแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ พระพุทธศักราช 2467 เป็นพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ

 3) ประธานวุฒิสภาเป็นประธานรัฐสภา ต่อมามีการแก้ไขให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นประธานรัฐสภา (มาตรา 157) แก้ไขเพิ่มเติม โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่ 1) พุทธศักราช 2535

 4) รัฐสภา มี 2 สภา คือ วุฒิสภา มาจากการแต่งตั้ง จำนวน 270 คน มีวาระ 6 ปี แต่ต่อมา จึงมีการเปลี่ยนแปลงจำนวนวุฒิสมาชิกให้เป็น 2 ใน 3 ของจำนวน ส.ส. และแก้ไขวาระดำรงตำแหน่งลงเหลือ 4 ปี (ฉบับที่ 5) และ สภาผู้แทนราษฎร มาจากการเลือกตั้งโดยตรง วิธีการเลือกตั้งแบบผสม เขตละไม่เกิน 3 คน มีวาระ 4 ปี

 5) กำหนดจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไว้แน่นอนตายตัว คือ ประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 360 คน (มาตรา 99)

 6) พรรคการเมืองที่สมาชิกจะเป็นผู้ที่มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งได้ จะต้องเป็นพรรคการเมืองที่ส่งสมาชิกเข้าสมัครเลือกตั้งรวมกันไม่น้อยกว่า 120 คน

 7) บุคคลผู้มีคุณสมบัติเป็นผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง จะต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในจังหวัดนั้น หรือ เคยเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของจังหวัดนั้น หรือ เป็นบุคคลซึ่งเกิดในจังหวัดนั้น หรือ เคยศึกษาเป็นเวลาติดต่อกันไม่น้อยกว่า 2 ปีการศึกษาในสถานศึกษาที่ตั้งอยู่ในจังหวัดนั้น (มาตรา 105)

 8) บุคคลผู้มีลักษณะต้องห้ามดังต่อไปนี้ ห้ามมิให้ใช้สิทธิสมัครรับเลือกตั้ง (มาตรา 107)
      (ก) เคยถูกไล่ออก ปลดออก หรือ ให้ออกจากราชการ หน่วยงานของรัฐวิสาหกิจ เพราะทุจริตต่อหน้าที่ หรือ ถือว่าทุจริตต่อหน้าที่
      (ข) เคยต้องคำพิพากษา หรือ คำสั่งของศาลให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดิน เพราะร่ำรวยผิดปกติ หรือ มีทรัพย์สินเพิ่มขึ้นผิดปกติ
      (ค) เคยถูกวุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีมติให้พ้นจากสมาชิกภาพ
      (ง) เคยถูก หรือ ถูกคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยให้พ้นจากสมาชิกภาพ เพราะมีกรณี ปรากฎหลักฐานน่าเชื่อได้ว่าเป็นผู้ที่ได้รับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดยใช้อามิสสินจ้างไม่ว่าโดยวิธีใดๆ เพื่อให้ตนได้รับเลือกตั้ง
 9) เอกสิทธิ์ในที่ประชุมวุฒิสภาก็ดี ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร หรือ ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาก็ดี ไม่คุ้มครองสมาชิกผู้กล่าวถ้อยคำในการประชุมที่มีการถ่ายทอดทางวิทยุกระจายเสียง หรือ วิทยุโทรทัศน์ (มาตรา 125)

 10) สมาชิกวุฒิสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 มีสิทธิเข้าชื่อเสนอญัตติขอเปิดอภิปรายทั่วไป แต่วุฒิสภาจะลงมติในปัญหาที่อภิปรายมิได้ (มาตรา 151) ต่อมาจึงถูกยกเลิกโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2535

 11) ถ้าสมาชิกวุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 เห็นว่าข้อบังคับแห่งสภาที่ตนเป็นสมาชิกหรือข้อบังคับของรัฐสภาเรื่องใด ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญให้เสนอความเห็นต่อตุลาการรัฐธรรมนูญเพื่อพิจารณา (มาตรา 155)

 12) ไม่บังคับให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่อมาถูกแก้ไขโดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2535

 13) คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี 1 คน และรัฐมนตรีอื่นอีกไม่เกิน 48 คน ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งรัฐมนตรี
คุณสมบัติของรัฐมนตรี (มาตรา 151)
      (ก) มีอายุไม่ต่ำกว่า 30 ปีบริบูรณ์
      (ข) ต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ
      (ค) ไม่มีลักษณะต้องห้ามอื่นๆ ตามรัฐธรรมนูญ

 14) สมาชิกรัฐสภาจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 มีสิทธิเข้าชื่อเสนอความเห็นว่า พระราชกำหนดเป็นไปตามมาตรา 172 วรรคหนึ่ง หรือไม่ โดยให้คณะตุลาการรัฐธรรมนูญวินิจฉัย (มาตรา 173)

 15) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรี รัฐสภา วุฒิสภา หรือ สภาผู้แทนราษฎรมีมติว่า กรณีมีปัญหาที่จะต้องตีความรัฐธรรมนูญ ให้นายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา หรือ ประธานสภาผู้แทนราษฎรแล้วแต่กรณี ส่งเรื่องให้ตุลาการรัฐธรรมนูญเพื่อวินิจฉัย (มาตรา 207)

 16) สมาชิกวุฒิสภาอาจเสนอญัตติขอแก้ไขรัฐธรรมนูญได้ โดยเข้าชื่อร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 211)

 17) กำหนดให้บรรดาประกาศหรือคำสั่งของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ที่ออกใช้บังคับก่อนวันประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ รวมทั้งคำสั่งของนายกรัฐมนตรี หรือ ประธานสภารักษาความมั่นคงแห่งชาติที่ออกโดยอาศัยอำนาจพิเศษตามมาตรา 27 ของธรรมนูญการปกครองราชอาณาจักร พ.ศ. 2534 ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีการบัญญัติเช่นนี้ ทั้งนี้เพราะผู้ร่างรัฐธรรมนูญประสงค์จะให้ประกาศหรือคำสั่งของคณะรัฐประหารไม่ตกอยู่ภายใต้บังคับของหลักการควบคุมกฎหมายมิให้ขัดรัฐธรรมนูญ นั่นเอง
บทเฉพาะกาล รัฐธรรมนูญฉบับนี้ ได้สร้างบทเฉพาะกาลโดยให้สมาชิกวุฒิสภามีบทบาทในการควบคุมฝ่ายบริหาร โดยให้มีผลบังคับใช้ในระยะเวลา 4 ปี นับแต่วันประกาศใช้ และมีผลทำให้วุฒิสภา ซึ่งส่วนใหญ่เป็นข้าราชการประจำเข้ามามีบทบาทในการควบคุมรัฐบาล ดังที่ได้กำหนดบทเฉพาะกาลในเรื่องต่อไปนี้เอาไว้

   1) ในวาระเริ่มแรก พระมหากษัตริย์จะทรงแต่งตั้งบุคคลผู้มีลักษณะตามที่บัญญัติไว้เป็นสมาชิกวุฒิสภาในวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และให้ประธานสภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งวุฒิสภา (มาตรา 217)

   2) ในวาระเริ่มแรก เมื่อใช้รัฐธรรมนูญนี้แล้ว การดำเนินการดังต่อไปนี้ ให้กระทำในที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภาด้วย (มาตรา 219)
          (ก) การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา 150
          (ข) การพิจารณาพระราชกำหนดตามมาตรา 172 มาตรา 173 และมาตรา 174
   3) เมื่อครบกำหนด 4 ปี นับแต่วันแต่งตั้งสมาชิกวุฒิสภาตามมาตรา 217 แล้วให้บทบัญญัติแห่งมาตรา 217 และมาตรา 219 เป็นอันยกเลิกไป

หน้าแรก


 

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวภาชินี ผลงามเนตรอรุณ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 302 คน กำลังออนไลน์