• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f27d919568ab540ebde394af65a15f28' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>  </p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-size: large\"><b>อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส – ยูเฟรทีส</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nอารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูเฟรทีสหรือ เมโสโปเตเมีย เป็นอู่อารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกสมัยโบราณ โดยตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>สาย คือแม่น้ำไทกรีส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Tigris) </span>และแม่น้ำยูเฟรตีส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Euphrates) </span>ซึ่งปัจจุบันนี้ อยู่ในเขตแดนของประเทศอิรักซึ่งมีกรุงแบกแดด เป็นเมืองหลวง แม่น้ำทั้ง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>สายมีต้นน้ำอยู่ในอาร์มีเนีย และเอเซียไมเนอร์ไหลลงสู่ทะเลที่อ่าวเปอร์เซีย บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส และยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Babylonia) </span>เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย อาณาเขตติดต่อดังนี้</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nทิศเหนือ ติดต่อกับ ทะเลดำ และทะสาบแคสเปียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับ คาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง และมหาสมุทรอินเดีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nทิศตะวันตก ติดต่อกับ ที่ราบซีเรีย และปาเลสไตน์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nทิศตะวันออก ติดต่อกับ ที่ราบสูงอิหร่าน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nบริเวณแม่น้ำ ไทกริส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูเฟรติส หรือบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน ในอดีตเป็นดินแดนที่มีร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน จนกลายเป็นอู่อารยธรรมของโลก ดินแดนแห่งนี้เป็นเขตที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>สายมาบรรจบกัน จึงเหมาะต่อการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ จึงมีชื่ออีกอย่างว่าหนึ่ง ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(The Fertile Crescent) </span>หรือวงโค้วแห่งความอุดมสมบูรณ์ หรือที่รู้จักกัน คือ ดินแดนเมโสโปเตเมีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-size: large\"><b>อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>กำเนิดเมโสโปเตเมีย</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมโสโปเตเมีย เป็นคำภาษากรีก แปลว่า ที่ระหว่างแม่น้ำ ดินแดนที่ชาวกรีกเรียกว่า เมโสโปเตเมียนี้ตั้งอยู่ในลุ่มน้ำไทกรีสและ ยูเฟรตีสเป็นส่วนหนึ่งของ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>ดินแดนรูป พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอ่าวเปอร์เซีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้ำจากแม่น้ำที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย น้ำจะพัดพา เอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทำให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้ำอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทำความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทำมาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกำลังของผู้คนที่อาศัยอยู่ทำให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ซึ่งเมื่ออยู่ไปนานๆเข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือและตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้ำ และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Babylonia) </span>เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Shina) </span>เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้ำพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยังบริเวณปากน้ำทำให้พื้นดินตรงปากแม่น้ำงอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ประมาณปีละ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">29 </span>นิ้วครึ่ง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>ปัจจัยที่เอื้ออำนวยที่ทำให้เกิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1. </span>ความคิดสร้างสรรค์รักษา ปรับปรุงและสืบทอดในอารยธรรมของกลุ่มชน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">6 </span>กลุ่มคือ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.1 </span>สุเมเรียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sumerians)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.2 </span>อัคคาเดียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Akkadians)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.3 </span>อะมอไรท์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Amorites)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.4 </span>คัสไซท์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Kassites)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.5 </span>อัสซีเรียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Assyrians)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.6 </span>แคลเดียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Chaldeans) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2. </span>แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ทำให้เมโสโปเตเมียชุ่มชื้นเกิดการรวมตัวของกลุ่มชนและกำเนิดอารยธรรมเฉพาะขึ้น\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3. </span>พรมแดนธรรมชาติซึ่งมีส่วนช่วยเป็นกำแพงป้องกันศัตรูภายนอกแม้ไม่ดีเท่าแถบลุ่มน้ำไนล์ก็ตาม แต่ก็เอื้ออำนวยให้กลุ่มชนซึ่งผลัดกันขึ้นมีบทบาทในเมโสโปเตเมียสามารถใช้ประโยชน์ของพรมแดนธรรมชาตินี้กำเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น กล่าวคือทิศเหนือจรดเทือกเขาอเมเนียทิศใต้จรดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจรดแนวเทือกเขายาว ทิศตะวันตกจรดทะเลทรายอารเบียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-size: large\"><b>กลุ่มคนที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><span style=\"text-decoration: none\"><b></b></span></span><u><b>ชาวสุเมเรียน </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>(Sumeriam)</b><span style=\"text-decoration: none\"><b> </b></span></span></u>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมื่อประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4,000 </span>ปีก่อนคริสต์ศักราชชาวสุเมเรียนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยม <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Delta) </span>ปากแม่น้ำไทกรีส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูเฟรตีส ซึ่งเรียกกัน ในเวลาต่อมาว่าดินแดนซูเมอร์ ในระยะแรกชุมชนชาวสุเมเรียนเป็นหมู่บ้านยุคหินใหม่ หมู่บ้านเหล่านี้ได้ขยายตัวขึ้นเป็นชุมชนวัด และในเวลาต่อมา ชุมชนวัดแต่ละแห่งได้พัฒนาขึ้นเป็นเมือง ที่สำคัญ ได้แก่เมืองเออร์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Ur) </span>เมืองอิเรค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Ereck) </span>เมืองอิริดู <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Eridu) </span>เมืองลากาซ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Lagash) </span>และเมืองนิปเปอร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Nippur) </span>แต่ละเมืองมีชุมชนเล็กๆ ที่รายรอบอยู่เป็นบริวาร ทำให้มีลักษณะเป็นรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่านครรัฐ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(City State) </span>นครรัฐเหล่านี้ต่างปกครองเป็นอิสระแก่กัน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nในขณะที่ชาวสุเมเรียน สถาปนานครรัฐขึ้นทางตอนล่างของลุ่มแม่น้ำไทกรีส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">- </span>ยูเฟรตีส หลายนครรัฐชนกลุ่มอื่นๆ ก็ได้สถาปนานครรัฐของตน ในบริเวณตอนเหนือขึ้นไปอีกหลายแห่งแต่มีความเจริญทางอารยธรรมด้อยกว่านครรัฐของชาวสุเมเรียนในดินแดนซูเมอร์ก็ตามแต่ภาษาที่ใช้สืบมาจากรากเดียวกันคือภาษาอินโด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูโรเปียนอันเป็นต้นกำเนิดจากภาษาลาติน กรีก เปอร์เซีย สันสกฤต รวมทั้งภาษาเยอรมันและภาษาโรมานซ์ในปัจจุบัน มองจากแง่ของภาษาอนารยชนกลุ่มใหม่เหล่านี้ก็คือบรรพบุรุษของเรานั่นเอง การบุกรุกทางใต้ของชนเหล่านี้มีผลทำให้ชนเผ่าอื่นถูกแย่งที่ไปอย่างรุนแรงในช่วงประมาณปี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1750 </span>ถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1550 </span>ก่อนคริสตกาล พวกอนารยชนดังกล่าวตลอดจนพวกอื่นๆ ที่ดำเนินรอยตามได้ทำลายความต่อเนื่องทางการเมืองและวัฒนธรรมของดินแดนตะวันออกใกล้สมัยโบราณ ประมาณปี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1595 </span>ผู้รุกรานเผ่าอินโด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูโรเปียน ก็ทำให้ราชวงศ์ของพระเจ้าฮัมบูราบีในนครบาบิโลนต้องสิ้นสุดลงซึ่งฉุดให้เมโสโปเตเมียเข้าสู่ช่วงเวลาอันยาวนานของความเสื่อมของทางวัฒนธรรมและความไม่สงบทางการเมือง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nคนกลุ่มแรกที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนสร้างขึ้นเป็นพื้นฐานสำคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยกรรม ตัวอักษร วรรณกรรม ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียนได้ดำรงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้ำทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>ระยะเวลาที่ชนชาติต่างๆเข้ามาอาศัยในดินแดนเมโสโปเตเมีย</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเจริโค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Jericho) </span>อาศัยอยู่ระหว่างหุบเขาริมฝั่งแม่น้ำจอร์แดน ประเทศอีรักราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">8000 B.C. </span>ถือว่าเป็นชนชาติแรกทีเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปเตเมียซาทาล ฮือยึค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Catal Huyuk) </span>อาศัยอยู่บริเวณอนาโตเลีย สร้างอารยธรรมเก่าแก่สมัยราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">7000-5000 B.C. </span>ก่อนประวัติศาสตร์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nสุเมเรียนและอัคคาเดียน สุเมเรียนอาศัยอยู่ตอนล่างของเมโสโปเตเมีย สร้างอารยธรรม<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sumerian and Akkadian) </span>ขึ้นโดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษร ทำให้เมโสโปเตเมียเข้า <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3000-1600 B.C. </span>สู่สมัยประวัติศาสตร์ และได้ให้แนวทางแก่พวกอัคคาเดียนซึ่งอยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปของเมโสโปเตเมีย เข้ามาครอบครองและเจริญขึ้นแทนสุเมเรียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nอะมอไรท์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Amorite) </span>พวกอะมอไรท์อพยพมาจากทะเลทรายซีเรียน เข้าครอบ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1900-1600 B.C. </span>ครองเมโสโปเตเมีย สร้างอาณาจักรบาบิโลเนียขึ้นภายใต้การปกครองของพระเจ้าฮัมมูราบี สมัยนี้กรุงบาบิโลเนียเป็น เมืองหลวงอาณาจักรบาบิโลเนียทางทิศตะวันออกจรด อ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nฮิตไตท์และแคสไซท์ พวกฮิตไตท์ อยู่ในเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายอาณาจักรออก <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Hittite and Kassite) </span>เป็นจักรวรรดิใหญ่ รุกรานเข้ามาในเมโสโปเตเมีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1600-1150 B.C. </span>ได้ยึดครองปล่อยให้พวกแคสไซท์ซึ่งอยู่ทางเทือกเขาด้าน ตะวันออกของแม่น้ำไทกรีสเข้ายึดครองกรุงบาบิโลน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nแอสสิเรียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Assyrian) </span>อยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมีย ค่อยเจริญขึ้นแทนตอน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">750-612 B.C. </span>ล่างของเมโสโปเตเมีย และกลายเป็นจักรวรรดิ ครั้งแรก เมื่อเข้ายึดครองกรุงบาบิโลนได้\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nแคลเดียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Chaldeam) </span>พวกแคลเดียนอยู่บริเวณทะเลทรายตอนใต้ของบาบิโลเนีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">612-538 B.C. </span>ได้แยกตัวออกจากการปกครองของแอสสิเรียได้สำเร็จ และ มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยพระเจ้าเนบูชาเนซซาร์ อาณาจักรแคลเดียนสิ้นสุดลงเมื่อถูกเปอร์เซียเข้ายึดครองอินโด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยูโรเปียน พวกอินโดยูโรเปียน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Indo-European) </span>อยู่ทางตอนเหนือ เข้ามามีอำนาจใน เมโสโปเตเมีย ตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">550 B.C. </span>โดยปราบพวกที่มีอำนาจอยู่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">550-332 B.C. </span>ก่อนได้สำเร็จจึงสร้างอาณาจักรเปอร์เซียขึ้นขยายอำนาจปกครองในดินแดนเมโสโปเตเมียทั้งหมดรวมทั้งอียิปต์และหัวเมืองกรีกในเอเซีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nไมเนอร์ เมื่อทำสงครามกับกรีก ก็ตกอยู่ ใต้การปกครองของกรีกในปี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">332 B.C. </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nวัฒนธรรมเมโสโปเตเมีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>พัฒนาการวัฒนธรรมสุเมเรียน </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>2 </b></span><b>ระยะ คือ</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.</span>ระยะวัฒนธรรมอูเบด <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Ubaid) </span>ประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4250-3750 B.C. </span>เป็นสมัยเริ่มอารยธรรมคนเมือง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Urban life) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2.</span>ระยะวัฒนธรรมอูรุค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Uruk) </span>ประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3750-3000 B.C. </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nก<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>การประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม หรืออักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียว\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nส่วนใหญ่ใช้ของมีคนกรีดลงบนหิน แต่เนื่องจากหินหายากและไม่มีกระดาษพะไพรัสจึงต้องเขียนลงบนดินเหนียวแล้วนำไปผึ่งแดด หรือเผาไฟให้แห้งแข็ง เครื่องมือที่ใช้คือ ไม้ หรือกก หรือเหล็กแหลม กดเป็นรูปลิ่มอักษร จึงถูกเรียกชื่อว่า “คูนิฟอร์ม” หรือตัวอัหษรรูปลิ่ม\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nข<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>การสร้างผลงานสถาปัตยกรรมเรียกว่า “ซิกกูแรท”\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายพิรามิดสร้างบนฐานที่ยกระดับจากพื้นดินข้างบนทำเป็นวิหารเทพเจ้ามีบันไดทอดยอดขึ้นไป\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>การก่อสร้างด้วยอิฐและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ชาวสุเมเรียนได้สร้างผลงานก่อสร้างอื่นๆและทำปฏิทินจันทรคติ กำหนดเดือนหนึ่งมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">366 ? </span>วัน ปีหนึ่งมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">12 </span>เดือน ปีของสุเมเรียนจึงมีเพียง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">354 </span>วัน ขณะที่ปีทางสุริยคติมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">366 ? </span>วัน เดือนของชาวสุเมเรียนแบ่งออกเป็น <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4 </span>สัปดาห์ๆ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">7-8 </span>วัน วันหนึ่งแบ่งเป็นกลางวัน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">6 </span>ชั่วโมง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>เท่ากับ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>ชั่วโมงในปัจจุบัน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>กลางคืน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">6 </span>ชั่วโมง การนับคือ หน่วย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">60 </span>ซึ่งตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่นการนับ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>ชั่วโมงมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">60 </span>นาที <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>นาทีมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">60 </span>วินาที วงกลมมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">360 </span>องศา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(60 </span>หกครั้ง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b></b></span><b>ประมวลกฏหมายฮัมบูราบี</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nประมวลกฎหมายฮัมบูราบี เป็นบทบัญญัติที่รวบรวมกฎหมายต่าง ๆ และพระราชกฤษฎีกาของกษัตริย์ฮัมมูราบี ราชาแห่งบาบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ ที่สุด ประมวลกฎหมายนี้ถูกคัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบนหินบะซอลต์สีดำสูง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2.25 </span>เมตร ซึ่งต่อมาทีมนักโบราณคดีฝรั่งเศสขุดพบที่ ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนาวปี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1901 </span>ถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1902 </span>หินสลักนี้แตกเป็น <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3 </span>ชิ้น และได้รับการบูรณะ ปัจจุบัน ประมวล\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nกฎหมายฮัมมูราบีอยู่ในพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nกฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา โดยยึดหลักที่ปัจจุบันเรียกว่า <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>ตาต่อตา ฟันต่อฟัน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>อันหมายถึงทำผิดอย่างไรได้โทษอย่างนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตามกฎหมายฮัมมูราบีจะดูว่าโหดเหี้ยมตามความคิดของคนสมัยใหม่ แต่การทำกฎหมายให้เป็นลายลักษณ์อักษรและพยายามใช้บังคับอย่างเป็นระบบกับทุกคน และการ “ถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ก่อนจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าผิด” นับเป็นหลักการสำคัญที่นับเป็นวิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nทฤษฎีใหม่บางอันถือว่าการนับกฎหมายฮัมมูราบีให้สถานะอย่างประมวลกฎหมายอย่างปัจจุบันนั้นไม่ถูกต้องนัก ความจริงน่าจะนับได้เพียงการเป็นอนุสรณ์ยกย่องว่ากษัตริย์ฮัมมูราบีเป็น “ตัวอย่างกษัตริย์ที่ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม” ได้เท่านั้นเพราะในชีวิตของคนย่อมมีความผิดอย่างอื่นที่ไม่ใช่การลักขโมย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>ซิกกูแรต</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>(Ziggurat)</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nซิกกูแรต <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Ziggurat) </span>เป็นสิ่งก่อสร้างของอารยธรรมสุเมเรียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sumerians) </span>ในบริเวณเมโสโปเตเมีย มีลักษณะคล้ายพีระมิดแบบขั้นบันไดแต่ไม่ก่อสร้างสูงจนเป็นยอดแหลม ด้านบนของซิกกูแรตซึ่งเป็นพื้นที่ราบกว้างจะสร้างเป็นวิหาร ในระยะแรกการสร้างซิกูแรตมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา แต่ต่อมาซิกกูแรตนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังกษัตริย์ เช่น ซิกกูแรตที่เมืองอูร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Ur) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nซิกกูแรตสร้างขึ้นด้วยวัสดุจำพวกอิฐและไม้ ความแข็งแรงคงทนจึงสู้งานสถาปัตยกรรมยุคต่อมา เช่น พีระมิดอียิปต์ไม่ได้ เพราะงานของอียิปต์สร้างด้วยวัสดุจำพวกหิน ซิกกูแรตเก่าแก่ที่สุดเท่าที่ค้นพบมีชื่อว่า “<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">The White Temple” </span>พบที่เมืองอูรุค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Uruk) </span>หรือวาร์กา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Warka) </span>บริเวณพื้นที่ประเทศอิรักในปัจจุบัน มีอายุประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3,500 – 3,000 </span>ปี ก่อนคริสตกาล ซึ่งเก่าแก่กว่าพีระมิดของอียิปต์หลายร้อยปี\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>มหากาพย์กิลกาเมช </b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nมหากาพย์กิลกาเมช <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>อังกฤษ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">: Gilgamesh) </span>เป็นตำนานน้ำท่วมโลกที่เก่าแก่ของบาบิโลน เล่าเรื่องกษัตริย์กิลกาเมชกับเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ปรากฏในจารึก <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">12 </span>แท่งด้วยกัน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>นักโบราณคดีส่วนมากเชื่อว่าจารึกแท่งที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">12 </span>นี้ถูกแต่งเพิ่มขึ้นในภายหลัง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>ซึ่งสอดคล้องกับตำนานของชาวซูเมอร์ มหากาพย์เรื่องนี้จารึกไว้ในแผ่นดินเหนียวในหอเก็บจารึกของกษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราว ศตวรรษที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">7 </span>ก่อนคริสตกาล\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>สวนลอยแห่งบาบิโลน </b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nตำนานกล่าวไว้ว่า สวนลอยแห่งบาบิโลนสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">9 </span>ก่อน คริสตกาล โดยคำ บัญชาของกษัตริย์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>เนบูคัสเนซซาร์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>เพื่อเป็นของขวัญแก่นางอามิธีส ราชินีชาวเปอร์เซียของพระองค์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nสวนแห่งนี้สร้างขึ้นในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้างซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>ดิโอโดโรส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและน้ำมันดินเป็นส่วน ประกอบสำคัญในการก่อสร้างและเพื่อให้กันน้ำได้ดีนั้น ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อหรือกกผสม น้ำมันดินปูพื้นชั้นแรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน ก่อนจะวางตะกั่วทับลงไปบนชั้นบนสุด หลังจากนั้นจึงลงดินที่มีปริมาณมากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น น้ำที่ใช้เลี้ยงต้นไม้ในสวนลอยสูบขึ้นมาจากแม่น้ำยูเฟรติสเบื้องล่างมาตามท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทำให้ต้นไม้ที่ปลูกที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ที่แล้งที่สุดกลางฤดูร้อนในทะเลทราย\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\nมังกรในตำนานของชาวสุเมเรียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nมังกรในตำนานของชนสุเม<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>เรียนแห่งนครบาบิโลน ซึ่งก่อตั้งขึ้นราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2,000 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>โดยตำนานเล่าว่า หลังกำเนิดของพิภพ มีมังกรเพศเมียนามว่า ติอาแม็ท <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(TIAMAT) </span>เป็นเทพีแห่งทะเลนํ้าเค็ม เมื่อนํ้าเค็มของติอาแม็ทผสมผสานกับนํ้าจืดของเทพ อัพสุ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(APSU) </span>ก็เกิดการปฏิสนธิของเทพองค์อื่นๆ อีกมากมาย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nต่อมาอัพสุต้องการชิงอำนาจจากจอมเทพ อีอา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(EA) </span>จึงเกิดเทวสงครามขึ้น แรกๆ ทัพของอัพสุกับติอาแม็ททำท่าว่าจะมีชัย แต่แล้วก็เกิดมีวีรเทพซึ่งเป็นโอรสของอีอาพระนามว่า มาร์ดุค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(MARDUK) </span>เข้ามาขัดขวางติอาแม็ทอ้าโอษฐ์ เพื่อกลืนกินมาร์ดุค แต่วีรเทพได้สาดมหาพายุเข้าไปในโอษฐ์ของเธอจนหุบไม่ลง แล้วมาร์ดุคก็ใช้แหจับติอาแม็ทไว้ได้ เอาศรเสียบร่างแล้วเอาดาบ ผ่ากายของเธอออกเป็นสองซีก ซีกหนึ่งบังเกิดเป็นหลังคาสวรรค์ อีกซีก หนึ่งเป็นท้องมหาสมุทร นอกจากนี้ มาร์ดุค ยังเอาดาบเสียบลูกตาของติอาแม็ท โลหิตที่หลั่งไหลออกมากลายเป็นแม่นํ้าสองสาย คือ ไทกริส กับ ยูเฟรติส แห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>ศิลปะแห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมโสโปเตเมียเป็นชื่อดินแดนที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ริมแม่นํ้า อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและแร่ธาตุต่างๆ จึงเป็นที่ตั้งของชนเผ่าต่างๆ หลายชนเผ่า ชนเผ่าเหล่านี้มีความเป็นอยู่คล้ายคลึงกัน เช่น การนับถือบูชาเทพเจ้าประจําสถานที่ต่างๆ เช่น เทพเจ้าแห่งพายุ เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า เนื่องจากเชื่อว่า สิ่งทั้งหลายในธรรมชาติล้วนเป็นไปตามความพอใจของเทพเจ้าผู้เข้าถึงสัจธรรมแห่งเทพเจ้าได้ก็คือ นักบวชหรือพระ ดังนั้น พระจึงมีบทบาทสําคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ และเปรียบเสมือนตัวแทนของเทพเจ้า วัดจึงกลายเป็นสถานที่สถิตย์ของเทพเจ้า เป็นที่ประกอบพิธีกรรม เป็นศูนย์กลางของการปกครอง และเป็นแหล่งผลิตงานศิลปะที่มีคุณค่ายิ่ง จึงนับว่าการสร้างสรรค์ศิลปะสมัยนี้มีแรงผลักดันมาจากความเลื่อมใสในศาสนาและการเอาใจเทพเจ้า งานศิลปะที่สําคัญส่วนใหญ่เป็นผลงานของเผ่าซูเมอร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sumer) </span>และบาบิโลเนีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Babilonia) </span>เผ่าแอสซิเรีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Assyria) </span>และเผ่าเปอร์เซีย<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Persia) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-size: large\"><b>อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ชาวอียิปต์เป็นหนึ่งในกลุ่มชนโบราณพวกแรกๆที่ประสบความสำเร็จในการสร้างและพัฒนาอารยธรรมของตนเนื่องจากมีปราการธรรมชาติอย่าง ทะเลทรายซาฮาราทำให้อียิปต์ปราศจากการคุกคามจากศัตรูทางบกและความสมบูรณ์ของแม่น้ำไนล์ก็ทำให้ปัญหาความอดอยากแทบไม่ปรากฏด้วย เหตุนี้พวกเขาจึงสามารถ พัฒนาอารยธรรมได้โดยปราศจากอุปสรรคใดๆ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><u><b>นักวัติประศาสตร์แบ่งช่วงเวลาสามพันปีของอียิปต์ออกเป็นช่วงต่างๆ โดยเริ่มจาก</b></u>\n</p>\n<ul style=\"margin-left: 0.64cm\">\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ปลายยุคก่อนราชวงศ์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(3100 </span>ปี ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>เป็นยุคที่ยังไม่ได้ตั้งเป็นอาณาจักร\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ยุคอาณาจักรเก่า เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2950 - 2150 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่หนึ่งถึงราชวงศ์ที่แปด\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ยุครอยต่อของอาณาจักร <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(2125 - 1975 </span>ปี ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่เก้าถึงสิบเอ็ด\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ยุคอาณาจักรกลาง เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1975 - 1520 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบสองถึงสิบเจ็ด\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ยุคอาณาจักรใหม่ เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1539 - 1075 </span>ปี ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบแปดถึงยี่สิบ\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ยุคปลายของอาณาจักร เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1075 - 332</span>ปี ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ดถึงสามสิบเอ็ด ยุคนี้อียิปต์ถูกปกครองโดยชาวต่างชาติ ตั้งแต่พวกลิเบีย นูเบีย และพวกเปอร์เซีย ปีที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">332 </span>ก่อนคริสตกาล อียิปต์ถูกปกครองโดยราชวงศ์ปโตเลมี อดีตขุนศึกของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช จนมาถึงความพ่ายแพ้ของพระนางคลีโอพัตราที่แอคติอุม <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Actium) </span>ในราว ก่อน คริสตกาล อียิปต์ก็สิ้นสุดความเป็นอาณาจักรโดยสิ้นเชิง\n </p>\n</li>\n<li>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n ปลายยุคก่อนราชวงศ์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(3100 </span>ปี ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>เป็นยุคที่ยังไม่ได้ตั้งเป็นอาณาจักร\n </p>\n</li>\n</ul>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>เริ่มแรกย้อนไปเมื่อราว หนึ่งหมื่นปีก่อน ทะเลทรายซาฮารายังเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยสัตว์ป่าและพืชพรรณนานาชนิด ในท้องทุ่งอุดมไปด้วยสัตว์ป่าอย่างช้างและแอนทีโลป มนุษย์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ในช่วงแรกดำรงชีวิตโดยการล่าสัตว์ และทำปศุสัตว์จวบจนกระทั่งเมื่อราวเจ็ดพันปีก่อนการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ทำให้ซาฮารา ค่อยๆแห้งแล้ง และกลายเป็นทะเลทรายในท้ายที่สุดก็เหลือแต่เพียงพื้นที่ริมสองฝั่งแม่น้ำไนล์เท่านั้นที่ยังคงความสมบูรณ์อยู่ และเนื่องจากทุกปีแม่น้ำไนล์จะพัดเอา ตะกอนหน้าดินมาถมฝั่ง ทำให้พื้นดินแห่งนี้มีความอุดม สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ผู้คนเริ่มอพยพจากพื้นที่รอบนอกเข้ามาจับจองพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำและเริ่มมีการเพาะปลูกขึ้น เผ่าชนเหล่านี้มาอาศัย รวมกันตามริมฝั่งแม่น้ำไนล์และแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เรียกว่าโนมส์\n</p>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ในแต่ละโนมส์จะปกครองโดยกลุ่มนักบวชซึ่งพัฒนามาจากหมอผีในสมัยหินใหม่ ต่อมาความจำเป็นในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ทำให้ต้องมีการจัดระบบชลประทานขึ้น หัวหน้ากรรมกรผู้ควบคุมการ ชลประทานเหล่านี้ได้ถูกยกย่องให้เป็นหัวหน้านักรบของโนมส์ เมื่อขนาดของชุมชนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆก็มีการพัฒนาเป็นนครรัฐขนาดเล็กกระจัดกระจายตาม ริมฝั่งแม่น้ำดินแดนของแม่น้ำไนล์ถูกแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง\n</p>\n<p align=\"justify\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\nดินแดนของแม่น้ำไนล์ถูกแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง เนื่องจากแม่น้ำไนล์ไหลจากทางใต้ขึ้นสู่ทางเหนือ ดังนั้นอียิปต์บนจะตั้งอยู่ทางตอนใต้ของแม่น้ำไนล์อันเป็นทิศที่แม่น้ำไหลมาพื้นที่ส่วนนี้มี ทุ่งหญ้าและเขตป่าละเมาะที่เหมาะแก่การล่าสัตว์และทำปศุสัตว์ ส่วนอียิปต์ล่างจะตั้งบริเวณทิศเหนือซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำไหลลงทะเลและมีพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ที่สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกในช่วงเวลานั้นอียิปต์ล่างมีเมืองการค้าและศูนย์กลางที่สำคัญชื่อว่า บูโท ส่วนทางอียิปต์บนพลเมืองจะอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณเมืองนากาดา และเฮียราคอนโพลิส ในราวสี่พันปีก่อนคริสตกาลชาวอียิปต์เริ่มพัฒนารูปแบบอักษรจากรูปภาพ และกลายเป็นอักษรเฮียโรกลิฟฟิคในเวลาต่อมา\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>กำเนิดแห่งอาณาจักร ในราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3200</span>ปีก่อนคริสตกาล ราชาแมงป่อง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Scorpion king) </span>ผู้ครองนครธีส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(This) </span>อันตั้งอยู่บริเวณตอนกลางแห่งลุ่มน้ำไนล์ได้กรีฑาทัพ เข้ายึดครองนครรัฐต่างๆในอียิปต์บนและตั้งตนเป็นฟาโรห์แห่งอาณาจักรบน ราชาแมงป่องปรารถนาจะรวมอียิปต์เข้าด้วยกันแต่พระองค์สิ้นพระชนม์เสียก่อน โอรสของพระองค์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ข้อนี้นักประวัติศาสตร์ยังไม่แน่ใจนักแต่จากหลักฐานที่มีแสดงว่าทั้งสองพระองค์น่าจะเกี่ยวดองกัน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">)</span>นามว่า นาเมอร์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Namer)</span>ได้สานต่อนโยบายและกรีฑาทัพเข้าโจมตีอียิปต์ล่าง จนกระทั่งมาถึงสมัยของ ฟาโรห์เมเนส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Menese)</span>พระองค์สามารถผนวกทั้งสองอาณาจักรเข้าด้วยกันได้สำเร็จและ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปต์โดยตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Memphis) </span>ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้ำไนล์ ฟาโรห์เมเนสเป็นฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่หนึ่งของอียิปต์โบราณ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ยุคอาณาจักรเก่า เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2950 - 2150 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่หนึ่งถึงราชวงศ์ที่แปด ยุคนี้เมืองหลวงของอียิปต์คือ นครเมมฟิส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Memphis) </span>โดยมีพระเจ้าเมเนส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Menes) </span>เป็นฟาโรห์พระองค์แรกที่ปกครองอียิปต์ทั้งหมด ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า องค์ฟาโรห์คือร่างประทับของสุริยเทพ ที่ลงมาปกครองมนุษย์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>การเมืองการปกครอง</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>:</b> </span>ในสังคมอียิปต์มีการแบ่งออกเป็นสามชนชั้น คือ ชนชั้นสูงได้แก่ เชื้อพระวงศ์ นักบวช ขุนนาง ชนชั้นกลางได้แก่ พ่อค้า เสมียน ช่างฝีมือ และชนชั้นล่างคือพวกชาวนาและผู้ใช้แรงงาน นอกจากฟาโรห์แล้ว บุคคลที่มีอำนาจมากที่สุดคือหัวหน้านักบวชของสุริยเทพ รา ซึ่งเป็นจอมเทพสูงสุด ในการบริหารงาน ฟาโรห์จะมีคณะเสนาบดีที่นำโดย วิเซียร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Vizier) </span>ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางสำคัญ เป็นผู้ช่วย และส่งข้าหลวง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Nomarch) </span>ไปทำหน้าที่ปกครองหัวเมืองต่างๆ โดยขึ้นตรงต่อองค์กษัตริย์ ในยุคอาณาจักรเก่านี้ อียิปต์ไม่มีกองทหารประจำการ แต่จะเกณฑ์พลเมืองเข้ากองทัพเมื่อเกิดสงคราม\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>ความเชื่อ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">: </span>เดิมทีก่อนการรวมแผ่นดิน หัวเมืองต่างๆทั้งในอียิปต์บน และ ล่าง ต่างนับถือเทพต่างๆกันต่อมาเมื่อรวมแผ่นดินแล้วก็ยังคงความเชื่อแบบพหุเทวนิยม อยู่ โดยมี รา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(RA) </span>เป็นเทพสูงสุด ชาวอียิปต์เชื่อว่าพระองค์เป็นผู้สร้างโลกและสวรรค์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตทั้งปวง นอกจาก รา แล้ว เทพที่ชาวอียิปต์นับถือกันมากได้แก่ โอซิริส เทพแห่งยมโลกผู้มีหน้าที่ตัดสินดวงวิญญาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">, </span>เทพีไอซิสเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">,</span>เซ็ท เทพแห่งสงคราม <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">,</span>ฮาธอร์เทพีแห่งความรัก และฮอรัส เทพผู้เป็นตัวแทนของฟาโรห์ทุกพระองค์ นอกจากนี้ยังมีเทพอื่นๆที่ถือเป็นเทพเจ้าประจำแต่ละเมือง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>วิถีชีวิต</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">:</span>ชาวอียิปต์โบราณดำรงชีวิตด้วยการกสิกรรม โดยเฉพาะในเขตที่ราบน้ำท่วมถึงหรือที่เรียกว่าเขตดินสีดำที่ชื่อว่า เคเมต เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ การเพาะปลูกได้ผลดี พืชผลที่ได้จะถือเป็นสมบัติของฟาโรห์และจะมีการแจกจ่ายแก่ประชาชนอย่างเหมาะสม พืชที่นิยมปลูกกันคือข้าวสาลีและข้าวบาเล่ย์ โดยพวกเขาจะใช้ข้าวสาลีทำขนมปังและทำเบียร์จากข้าวบาเล่ย์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้เป็นอาหารหลัก ของชาวอียิปต์โบราณ และพืชผลเหล่านี้ยังใช้เป็นสินค้าส่งออกไปยังดินแดนอื่นๆอีกด้วยนอกจากการเพาะปลูกแล้วชาวอียิปต์ยังทำการจับปลา ล่านกน้ำและฮิปโปโปเตมัสในแม่น้ำไนล์โดยใช้เรือที่ผูกจากต้นกก ส่วนในเขตดินสีแดงที่เรียกว่า เชเครต ซึ่ง อยู่ในเขตอียิปต์บนพวกเขาจะทำการล่าสัตว์ป่าอย่าง แอนทีโลป และแพะป่า ซึ่งมีอยู่มากมาย บ้านเรือนของชาวอียิปต์สร้างจากอิฐตากแห้งและใช้ไม้ทำส่วนประกอบอย่างกรอบประตูเนื่องจากในอียิปต์ไม้ค่อนข้างหายาก บ้านแต่ละหลังจะมีบันไดขึ้นดาดฟ้าเนื่องจากชาวอียิปต์จะใช้ดาดฟ้าเป็นที่ทำงานต่างๆเช่นการทำขนมปัง หรือแม้แต่เป็นที่พักผ่อนนั่งคุย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>อักษรอียิปต์</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>:</b> </span>ชาวอียิปต์ใช้อักษรภาพที่เรียก ว่าเฮียโรกลิฟฟิค <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Hieroglyphic) </span>ซึ่งมีทั้งแบบที่เป็นรูปภาพและแบบที่เป็นสัญลักษณ์ประกอบเป็นคำ โดยจะบันทึกลงในแผ่นหินและม้วนกระดาษปาปิรัสซึ่งทำจากต้นกก ตัวอักษรอียิปต์มีประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1000 </span>ตัว ในสมัยก่อน ผู้ที่สามารถอ่านเขียนอักษรเฮียโรกลิฟฟิคได้คล่องแคล่วจะมีโอกาสได้ทำงานเป็นอาลักษณ์ ซึ่งจะทำให้มีโอกาสที่จะเลื่อนขึ้นเป็นขุนนาง หรือนักบวชสำคัญได้ สำหรับอักษรของอียิปต์นั้น นับแต่อารยธรรมล่มสลายลงไปก็ไม่มีใครสามารถตีความได้ จนกระทั่งได้มีการค้นพบ ศิลาจารึก โรเซทต้า <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(ROSETTA) </span>ในปี ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. 1799 </span>ที่มีจารึกอักษรเฮียโรกลิฟฟิคกับอักษรกรีกโบราณเอาไว้ ฟรองซัวส์ ชองโพลียอง ใช้วิธีการค้นคว้าโดยอ่านเทียบกับอักษรกรีกโบราณ และสามารถตีความได้สำเร็จในปี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1822 </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>การทำมัมมี่</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>:</b></span>ถูกทำขึ้นในสมัยราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4</span>และมีเรื่อยมาจนถึงค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.641 </span>ชาวอียิปต์เชื่อว่าหลังจากที่มนุษย์ ตายไปแล้วดวงวิญญาณจะกลับมาเกิดใหม่ในร่างเดิมจึงต้องเก็บร่างเอาไว้เพื่อรอรับการเกิดใหม่ในยุค อาณาจักรเก่าเชื่อว่ามีเพียงฟาโรห์เท่านั้นที่จะกลับมาคืน ร่างเดิมแต่ในสมัยต่อมาการทำมัมมี่ได้แพร่หลายสู่ขุนนางและสามัญชนแม้กระทั่งสัตว์ที่เป็นสัญลักณ์ ของเทพเจ้าในการทำมัมมี่ชาวอียิปต์จะนำสมองและอวัยวะภายในออกจากศพและนำศพไปชำระล้างใน แม่น้ำไนล์จากนั้นจะนำไปแช่ในน้ำยานาตรอน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Natron)</span>ซึ่งเป็นสารพวก<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">sodium Carbonate </span>โดยเปลี่ยนน้ำยาทุกสามวันและแช่ประมาณหกสิบวันจนศพแห้งและนำมาพันด้วยผ้าลินิน ส่วนอวัยวะภายในและสมองจะนำไปผสมกับเครื่องหอมและทำให้แห้งด้วยสมุนไพรจากนั้น จึงนำไปดองในน้ำยานาตรอนประมาณหนึ่งสัปดาห์ก่อนจะนำมาเก็บในโถคาโนปิก <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Canopic) </span>สี่ใบและนำไปเก็บรวมกับหีบศพในสุสานพร้อมข้าวของเครื่องใช้และสมบัติเพื่อรอการกลับมาของวิญญาณ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>พีระมิดยักษ์</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">: </span>เป็นสิ่งก่อสร้างที่มหัศจรรย์ที่สุด เดิมทีฟาโรห์จะสร้างห้องเก็บพระศพขนาดใหญ่เป็น สุสาน ต่อมาในสมัยของฟาโรห์โซเซอร์ แห่งราชวงศ์ที่สาม <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(2650</span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>อิมโฮเทปที่ปรึกษาของฟาโรห์ ซึ่งเป็นนักปราชญ์และสถาปนิกที่มีความสามารถ ได้ทำการออกแบบ พีระมิดขั้นบันไดที่เรียกว่า มาสตาบา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Mastaba) </span>ที่เมืองซักคาราขึ้น นอกจากเป็นผู้ออกแบบพีระมิดแล้ว อิมโฮเทปยังมีผลงานประพันธ์ต่างๆมากมายทั้งวรรณคดีและตำราเภสัชศาสตร์ ชาวอียิปต์รุ่นหลังนับถือเขาในฐานะเทพแห่งความรู้ หลังจากยุคของฟาโรห์โซเซอร์ ก็ได้มีการสร้างพีระมิดขั้นบันไดต่อมาและค่อยๆพัฒนากลายเป็นแบบสามเหลี่ยม โดยพีระมิดที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ พีระมิดยักษ์ของฟาโรห์คูฟูที่เมืองกีซา ซึ่งมีความสูงถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">147 </span>เมตรและได้ชื่อว่า เป็นพีระมิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b></b></span><b>การต่างประเทศ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>:</b></span>ในยุคอาณาจักรเก่าอียิปต์มีการค้าขายกับเพื่อนบ้านทั้งในเมโสโปเตเมีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>อยู่ในตะวันออกกลาง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">)</span>และอาณาจักรนูเบียทางภาคใต้<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ปัจจุบันคือซูดาน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">)</span>ในยุคนี้ไม่มีการใช้เงิน การค้าจะทำในแบบของแลกของ โดยสินค้าออกสำคัญของอียิปต์คือพืชผลทางการเกษตร แลกกับสินค้าพวกไม้หอม งาช้าง เครื่องแกะสลัก เป็นต้น แทบไม่มีหลักฐานของการสงครามขนาดใหญ่ในยุคนี้นอกจากหลักฐานการรบกับพวกเรร่อนเบดูอิน ในพรมแดนปาเลสไตน์สมัยฟาโรห์เปปิที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>แห่งราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">6 </span>กล่าวได้ว่าสงครามใหญ่เพียงครั้งเดียวของยุคนี้คือสงครามรวมชาติตอนต้นราชวงศ์ที่หนึ่งเท่านั้น\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ยุครอยต่อของอาณาจักร <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(2125 - 1975 </span>ปี ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่เก้าถึงสิบเอ็ด\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nนับแต่ก่อตั้งอาณาจักร ดินแดนอียิปต์มีแต่ความสงบสุขและรุ่งเรือง ปราศจากจากสงครามและการคุกคามจากชนต่างชาติ แม่น้ำไนล์พัดพาความอุดมสมบูรณ์มาพร้อมกับดินตะกอนสีดำ ความสงบสุขดำเนินมาจนถึงปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2200</span>ก่อนคริสตกาล อันเป็นปีเริ่มต้นของยุคแห่งความวุ่นวายและการนองเลือด สาเหตุของความวุ่นวายในดินแดนไอยคุปต์มีที่มาจากประเพณีของฟาโรห์ใน การพระราชทานรางวัลแก่ขุนนางที่มีความชอบเนื่องจากในยุคนั้นไม่มีการ ใช้เงินตราและสิ่งที่มีค่าที่สุดก็คือ ที่ดิน กล่าวคือฟาโรห์จะพระราชทานที่ดินให้แก่ขุนนางที่ทำความดีความชอบ โดยที่ดินดังกล่าวจะต้องกลับคืนเป็นของราชสำนักอีกครั้ง เมื่อขุนนางสิ้นชีวิตลงแต่ทว่าเมื่อเวลาผ่านไปนานเข้า ขุนนางเริ่มท้าทายอำนาจฟาโรห์ โดยการแอบโอนถ่ายที่ดินให้แก่ลูกหลาน จนในที่สุดก็กลายเป็นธรรมเนียมว่า ขุนนางสามารถโอนถ่ายที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์สู่ลูกหลานได้ และนำไปสู่การสร้างเขตอิทธิพลของแต่ละตระกูลเหล่าขุนนางต่างสะสมที่ดินและกำลังคนมากขึ้น อำนาจของฟาโรห์ถูกกัดกร่อนลงเรื่อยๆและกลุ่มอิทธิพลที่ทรงอำนาจมากที่สุดก็คือเหล่าหัวหน้านักบวชในอาราม สุริยเทพ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>รา ปีที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2180 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>อำนาจรัฐของฟาโรห์ที่เมมฟิส สิ้นสุดลง บรรดานครรัฐต่างตั้งตนเป็นอิสระและทำสงครามรบพุ่งกันเอง ดินแดนแม่น้ำไนล์ที่เคยอุดมสมบูรณ์เกิดภัยแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ฟาโรห์อ่อนแอเกินกว่าที่จะสร้างระบบชลประทานขึ้นมา แก้ปัญหาได้ความอดอยากและภัยสงครามแพร่กระจายทั่วแผ่นดินในที่สุดอิยิปต์ถูกแบ่งเป็นสองเขต คืออิยิปต์ต่ำ ซึ่งอยู่ทางเหนือของเมมฟิสถูกปกครองโดยตระกูลหนึ่งจากเมืองเฮรักลีโอโพลิส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Herakleopolis) </span>ส่วนอีกเขตหนึ่งคืออียิปต์สูงที่อยู่ทางใต้ของเมมฟิสถูกปกครองโดยตระกูลจากเมืองธีบีส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Thebes) </span>และแล้วในปีที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1975</span>ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>เจ้าชายนักรบจากธีบีสได้ทำสงครามผนวกอียิปต์ทั้งหมด และ ขึ้นครองราชย์เป็นฟาโรห์ ทรงพระนามว่า มอนตูโฮเทปที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 (Montuhotep) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ยุคอาณาจักรกลาง เริ่มตั้งแต่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1975 - 1520 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบสองถึงสิบเจ็ด\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nพระเจ้ามอนตูโฮเทป ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>ได้สร้างเมืองหลวงใหม่ที่ ธีบีส ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงสร้างโบสถ์ใหญ่อันสวยงามที่ เดียร์ เอล<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>บาฮารี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Deir el-Bahari) </span>โบสถ์นี้ยังเป็นที่ฝังพระศพของพระองค์อีกด้วย ต่อมาในสมัยของมอนตูโฮเทปที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4 </span>พระองค์ถูกแย่งชิงราชสมบัติ โดยขุนศึกนาม อาเมเนมฮัท<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Amenamhat) </span>ซึ่งได้ตั้งราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">12 </span>ขึ้น ราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">12</span>นี้ได้นำความมั่งคั่งและเจริญรุ่งเรืองกลับมา สู่อียิปต์อีกครั้ง มีการทำเหมืองแร่และอู่ต่อเรือ นอกจากนี้มีการสร้างพีระมิดขนาดใหญ่ขึ้น หลายแห่งการเพาะปลูกอุดมสมบูรณ์ ชาวอียิปต์ได้ฟื้นฟูเส้นทางการค้าต่างประเทศขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่หยุดชะงักไปมีการส่งกองเรือสินค้า ไปค้าขายกับชาวต่างชาติเช่น ครีทและเลบานอน ในยุคนี้ อียิปต์ยังทำศึกกับพวกนูเบียทางใต้<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ปัจจุบันคือ ซูดาน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">)</span>และแผ่อิทธิพลไปทางภาคตะวันตกเพื่อป้องกันเส้นทางการค้า นอกจากนี้เครื่องบรรณาการเช่นทองคำและทาสเชลย ที่ชาวอียิปต์ได้จากการทำสงคราม ก็ทำเศรษฐกิจของอียิปต์เจริญรุ่งเรืองขึ้น อำนาจของฟาโรห์กลับมายิ่งใหญ่และมั่งคั่งอีกครั้งหนึ่ง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>นักรบนูเบีย</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">: </span>พวกนูเบียนเป็นกลุ่มชนผิวดำ ดินแดนนูเบียนั้น ตั้งอยู่ดินแดนทางตอนเหนือของแม่น้ำไนล์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ทางใต้ของอียิปต์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>แต่เดิมทีอียิปต์ ทางอียิปต์ได้ส่งคณะเดินทางไปยังนูเบีย เพื่อนำงาช้าง หินสำหรับก่อสร้างและสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ กลับมาอียิปต์ ในสายตาของชาวอียิปต์นั้นถือว่าพวกนูเบียเป็นชนป่าเถื่อนที่มีอารยธรรมด้อยกว่าตน ในช่วงยุคมืด พวกนูเบียคุกคามพรมแดนด้านใต้ของอียิปต์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ต่อมาในยุคอาณาจักรกลางและได้เกณเชลยศึกชาวนูเบียเข้ามาเป็นทหารในกองทัพ นอกจากนี้ยังมีนักรบนูเบียบางที่มีความสามารถ ได้รับตำแหน่งนายพลของกองทัพอียิปต์ด้วย ชาวนูเบียนรับอารยธรรมต่างๆของอียิปต์มาใช้ รวมทั้งความเชื่อทางศาสนาและการสร้างพีระมิดด้วย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<b>การรุกรานของชนต่างชาติ </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>{The invasion from Asia}</b> 1630 - 1520 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ในช่วงเวลานี้ได้เกิดเหตุการณ์ใหญ่เกิดขึ้น นั่นคือการรุกรานของพวก ฮิกโซส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Hyksos) </span>ซึ่งในภาษาอียิปต์แปลว่า <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>กษัตริย์ต่างชาติ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>ชนเผ่านี้อพยพมาจากทุ่งหญ้าในเอเชียและทำสงครามโค่นล้มราชวงศ์อียิปต์ พวกฮิกโซสมีชัยชนะเหนืออียิปต์ได้ด้วย รถศึกและม้า ซึ่งชาวอียิปต์ไม่เคยรู้จักมาก่อน รถศึกเป็นการผสมผสานระหว่างความเร็วกับอานุภาพการยิง โดยมือธนูจะอยู่บนรถศึกและยิงทำลายแนวรบของศัตรู ทหารอียิปต์ที่มีเพียงพลเดินเท้าเป็นหลักไม่อาจต้านทานอานุภาพของ รถศึกได้ ในที่สุดพวกฮิกโซสจึงสามารถก่อตั้งราชวงศ์ปกคริงอียิปต์ได้สำเร็จ โดยตั้งเมืองหลวงชื่อ อวารีส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Avaris) </span>ขึ้นที่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ และครอบครองดินแดนส่วนเหนือของประเทศ พวกฮิกโซสนำอียิปต์สู่โลกภายนอกและนำวิทยาการใหม่ๆมาสู่อียิปต์ พวกฮิกโซสได้ปรับวัฒนธรรมและศาสนาของชาวอียิปต์เข้าด้วยกัน แม้จะใช้วัฒนธรรมอียิปต์ แต่ในสายตาชาวอียิปต์ พวกฮิกโซสก็ยังเป็นผู้รุกรานที่น่ารังเกียจ ในเวลาที่พวกฮิกโซสตั้งราชวงศ์นั้น พวกอียิปต์ก็ได้ตั้งราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">17 </span>อยู่ที่ธีบีส โดยยอมอ่อนข้อให้พวกฮิกโซสในตอนแรกแต่หลังจากนั้น<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><br />\n</span>ธีบีสก็ลุกขึ้นทำสงครามกับฮิกโซสในการสงครามฟาโรห์สอง พระองค์ของธีบีสคือฟาโรห์เซเกนองแร<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sequenenre) </span>และฟาโรห์กาโมส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Kamose) </span>สิ้นพระชนม์ในสนามรบและในที่สุดฟาโรห์อาห์โมซิส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Amosis) </span>ก็สามารถขับไล่พวกฮิกโซสออกไปได้สำเร็จ และก่อตั้งราชวงศ์ที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">18</span>ขึ้น\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ยุคอาณาจักรใหม่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(New kingdom) 1539 - 1075 </span>ปีก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nนักประวัติศาสตร์ต่างยอมรับกันว่ายุคนี้เป็นยุคที่อียิปต์รุ่งเรืองที่สุด โดยหลังจากพวกฮิกโซสถูกขับไล่ไปแล้ว อำนาจของฟาโรห์ เหนือนครต่างๆในลุ่มน้ำไนล์กลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ ในยุคของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 (Thutmosis) </span>แห่งราชวงศ์ที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">18 </span>ในยุคนี้เมืองหลวงของอียิปต์คือนครธีบส์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Thebes) </span>และฝั่งตรงข้ามของเมืองหลวงคือ หุบเขาแห่งกษัตริย์อันเป็นสถานที่ฝังพระศพฟาโรห์ ในยุคอาณาจักร ใหม่นี้ ทั้งนี้ชาวอียิปต์ได้ยกเลิกประเพณีการสร้างพีระมิดไปตั้งแต่ตอนปลาย ของอาณาจักรเก่าเนื่องจากสิ้น เปลืองวัตถุดิบและหันมาใช้วิธีเจาะหน้าผาเป็นสุสานแทน นอกจากธีบส์แล้วทุตโมซิสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>ยังได้สร้างนครอบีดอส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Abidos)</span>ให้เป็นเมืองสำคัญในสมัยของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1 </span>นี้เมืองหลวงคือ กรุงธีบส์เจริญรุ่งเรืองมากมีการสร้างวิหารขนาดใหญ่เพื่อบูชาแด่เทพเจ้า ซึ่งก็รวมทั้งมหาวิหารคาร์นัค นอกจากนี้ อียิปต์ยังได้เริ่มการแผ่อำนาจเข้าไปในดินแดนเอเชียตะวันออกใกล้และนูเบีย อีกด้วย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>การเสื่อมและการล่มสลายของอียิปต์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1075 - 332 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nหลังการสวรรคตของรามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>และโอรสของพระองค์มเนปตาห์ ขึ้นครองราชย์ จักรวรรดิอียิปต์เริ่มส่อเค้าวุ่นวาย บรรดาเมืองขึ้นต่างๆ เช่นนูเบียและลิเบียได้ก่อกบฎขึ้นแต่โชคดีที่ทางอียิปต์สามารถปราบปรามลงได้ ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เองทางฝ่ายฮิตไตท์ประสบภาวะ แห้งแล้งขาดแคลนอาหารทำให้ทางอียิปต์ต้องส่งอาหารไปช่วยตามข้อตกลงที่มีในสมัยรามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>หลังการสิ้นพระชนม์ของฟาโรห์มเนปตาห์อียิปต์ต้องพบกับปํญหาการเมืองภายในฟาโรห์แต่ละองค์ครองราชย์เพียงช่วงสั้นๆ จนมาถึงปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1186</span>ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ฟาโรห์รามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3</span>ขึ้นครองราชย์พระองค์ทรงได้รับการยอมรับจากทุกกลุ่ม ทำให้ปัญหาการเมืองภายในหมดไป แต่ในช่วงที่อียิปต์เริ่มจะฟื้นตัวนั้นเหตุการณ์สำคัญก็ได้เกิดขึ้น\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>การมาถึงของชนทะเล <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Sea people)</span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nหลังการครองราชย์ของรามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3 </span>ทางด้านเมดิเตอเรเนียนได้เกิดความวุ่นวาย เนื่องจากภาวะแห้งแล้ง ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการรุกรานและการอพยพจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้ประชาชนจากเมดิเตอเรเนียนต้องอพยพออกจากถิ่นฐานเดิม กลุ่มชนเหล่านี้ถูกเรียกว่าชาวทะเล<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(sea people) </span>นักรบชาวทะเลเหล่านี้ประกอบด้วยคนเชื้อชาติต่างๆ เช่นไมซีเน่ อีเจียน ฟิลิสทีนแม้กระทั่งชาวซีเรียโดยพวกเขาได้เข้ารุกรานและทำลายบ้านเมืองต่างๆเรื่อยมา\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nสิ่งที่พวกนี้ต้องการ คือดินแดนใหม่ที่ อุดมสมบูรณ์ซึ่งพวกเขาจะตั้งถิ่นฐานได้ นอกจากนี้ชาวทะเลเหล่านี้ยังได้เข้าโจมตีและทำลายนครฮัตตูซัสเมืองหลวงของจักรวรรดิฮิตไตท์จน ราบคาบจากนั้นชาวทะเลจึงมุ่งหน้ามายังอียิปต์ดินแดนอู่ข้าวอู่น้ำของโลกโบราณ และในปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1179 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>สงครามระหว่างชาวทะเลกับอียิปต์ก็เกิดขึ้น\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nฟาโรห์รามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3 </span>สามารถพิชิตกองทัพชาวทะเลได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ทำให้สามารถปกป้องจักรวรรดิได้สำเร็จชื่อเสียงของพระองค์เลื่องระบือ หลังสงครามพระองค์ยังปราบปรามพวกลิเบียที่ก่อกบฎลงได้ ทำให้จักรวรรดิเริ่มฟื้นตัวอีกครั้งแต่ทว่าสงครามที่ยาวนานทำให้อียิปต์สูญเสียกำลัง คนไปมากการค้าก็หดหายไปทำให้อียิปต์ขาดรายได้และท่ามกลาง ปัญหานี้เองรามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3 </span>ก็สวรรคตลง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>บทสุดท้าย แห่งอาณาจักร</b>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b></b></span><b>วาระแห่งความเสื่อมสูญ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>:</b></span>หลังการสวรรคตของรามเสสที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3 </span>อียิปต์กลับสู่ความวุ่นวายอีกครั้ง ทั้งจากปัญหาการเมืองและความอดอยาก ในที่สุดอียิปต์ก็แตกแยกกลายเป็นก๊กเป็นเหล่า บรรดาเมืองต่างๆตั้งตนเป็นอิสระ ชาวลิเบียซึ่งเป็นนักโทษสงครามของรามเสส ถือโอกาสตั้งตนเป็นอิสระผู้นำของพวกเขานามว่าโชชอง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Chochong) </span>ได้เป็นฟาโรห์และรวบรวมแผ่นดินได้สำเร็จ แต่ก็เป็นเพียงช่วงสั้นๆและบ้านเมืองก็เข้าสู่สภาพแตกแยกอีกครั้ง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nจนกระทั่งในปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">663 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>กษัตริย์อัสซูบานิปาลแห่ง อัสสิเรีย ได้ยกกองทัพเข้ารุกรานอียิปต์ เมืองต่างๆถูกทำลาย ทรัพย์สมบัติถูกปล้นชิง และอียิปต์ก็ไม่อาจฟื้นตัวได้อีกต่อมาในปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">525 </span>ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>อียิปต์ก็ถูกปกครองโดยชาวเปอร์เซียและเมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซีโดเนีย ซึ่งเป็นชนเชื้อชาติกรีกพิชิตเปอร์เซียลง อียิปต์ก็ตกเป็นของมาซีโดเนียในปีที่<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">335 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>หลังการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์จักรวรรดิมาซิโดเนียของพระองค์ล่มสลายลง เหล่าขุนศึกมาซีโดเนียต่างตั้งตนเป็นใหญ่ในดินแดนต่างๆที่พระองค์พิชิตมา นายพลปโตเลมีขุนศึกของพระองค์ก็ตั้งตนเป็นฟาโรห์และ ตั้งราชวงศ์ปโตเลมีซึ่งถือเป็นราชวงศ์สุดท้าย ขึ้นปกครองอียิปต์โดยมีเมืองหลวงที่อเล็กซานเดรีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nจนกระทั่งมาถึงปีที่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">36 </span>ก่อน ค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>พระนางคลีโอพัตราแห่งราชวงศ์ปโตเลมีพ่ายแพ้กองทัพโรมันที่แอคติอุม<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Actium) </span>และได้ปลิดชีวิตตนเองลงจากนั้นจักรวรรดิโรมันจึงผนวกอียิปต์เข้าเป็นส่วน หนึ่งของโรมและ นั่นคือการล่มสลายลงโดยสิ้นเชิงจากนั้นมา อียิปต์กลายเป็นเพียงมณฑลหนึ่งของโรมและกลายเป็นของจักรวรรดิไบเซนไทน์ในเวลาต่อมา และได้ถูกพวกมุสลิมเข้ายึดครองในภายหลัง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-size: large\"><b>อารยธรรมกรีกโบราณ</b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ในเขตทะเลเอเจียนมีอารยธรรมมาแล้วเมื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>แต่มียุคที่มีอารยธรรม รุ่งเรืองที่สุด เห็นจะเป็นตั้งแต่เมื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>เป็นต้นมา ขณะที่พวก อินโด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ยุโรเปี้ยนเข้าไปในเยอรมัน โกล <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Gaule, </span>ฝรั่งเศส<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>อังกฤษ ยุโรปกลาง อิตาลี มีเหตุการณ์เช่นเดียวกัน คือ มีผู้คนอพยพมาจากบอลข่านมาอยู่แถวเฮลลาดโดย ผ่านมาทางอิลลีรี และเอปีร์ นับเป็นการปรากฏตัวครั้งแรกของพวกเฮลเลนในทะเล เมดิเตอร์เรเนียน พวกนี้เป็นนักรบ รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ร่างกายแข็งแรงมี กล้ามเนื้อเป็นมัด เราเรียกพวกนี้ว่า เอเชียน มาขับไล่ชนพื้นเมืองเดิมคือ พวก เปลาจออกไปและยังเข้าไปในกรีกภาคกลางและเปโลโปนิซุส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Peloponesus) </span>พวกเอเชียนมิ ใช่คนป่า เขาได้นำภาษาใหม่มาใช้คือภาษากรีกโบราณและเกาะไซปรัส ได้ใช้ภาษานี้ต่อ มาอีกนาน เขานำการสร้างห้องโถงใหญ่ การสร้างหลังคาแบบลาดลงมาสองด้านเหมือน หลังคาบ้านไทย ซึ่งแตกต่างจากหลังคาแบบอารยธรรมเมดิเตอร์เรเนียนเดิมที่เป็นเท อเรซ พวกเอเชียน รักษาลักษณะเดิมของพวกเขา คือการใช้อาวุธอย่างดี การมีเทคนิคใน การขี่ม้าและใช้รถม้าในการรบ อารยธรรมครีตเข้ามาในดินแดนเฮลลาด โดยพวกเอเชียน อารยธรรมครีตนั้นเราเรียกว่า อารยธรรมมิโนเอน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(minoaenenne) </span>หรือมิโนส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(minos) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1. </span>อารยธรรมมิโนส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Minos) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2. </span>อารยธรรมไมเซเนียน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Micaenean) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3. </span>อารยธรรมโฮเมอร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Homer) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span><b>อารยธรรมมิโนส </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>(Minos: 1700-1400 </b></span><b>ก่อนค</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.</b></span><b>ศ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.) </b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>มิโนส เป็นกษัตริย์ของเกาะครีต เป็นลูกของพระเจ้าเซอุส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Zeus) </span>และพระนางยุโรป <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Europe) </span>มีสัญลักษณ์ประจำพระองค์เป็นรูปวัว ตามตำนานเล่าว่าพระองค์เป็น กษัตริย์ที่รักศิลปะ ในรัชสมัยของพระองค์มีศิลปินหลายคนที่สำคัญ คือ เดดาล <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Dedale) </span>ผู้แต่งเรื่อง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>ทางปริศนา<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; (Labyrinthe) </span>และเรื่อง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>วัวสัมริด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>อักษรที่ใช้จากที่พบในแผ่นดินเหนียว พบว่าเป็นตัวอักษรแบบที่ เรียก ว่า <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">lineaire A </span>ประกอบด้วยอักษรประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">90 </span>ตัว ไม่ทราบที่มาเช่นเดียวกับตราดิน เหนียวทรงกลมมีรูปและอักษรสลักอยู่\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>อารยธรรมมิโนส รุ่งเรืองที่สุดที่เมืองคนอสโซส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Knossos) </span>ผู้ครองเมืองดำรงฐานะ เป็นพระ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>กษัตริย์ มีการสร้าง พระราชวังแบบใหม่ ขนาดใหญ่และซับซ้อนคล้ายทาง ปริศนา ที่คนอสโซส ไฟโตส และอักเฮียเทรียดามีระบบบริหารทางการเมืองและเศรษฐกิจ เป็นแบบรวมอำนาจอยู่ที่ส่วนกลางดังเช่นในอียิปต์ ฐานะของสตรีสำคัญมากในสังคม ประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1600 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>เกิดแผ่นดินไหว ทำลายพระราชวังที่คนอสโซสลงถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>ครั้ง เเละเมื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1500 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>พวกเอเชียนมาจากฝั่งทวีปเข้ามาตั้งรกรากบนเกาะครีต <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">( </span>เกิดราชวงศ์เอเจียน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>นำตัวอักษร <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">lineaire B </span>มาใช้ด้วย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>อักษรกรีกปัจจุบัน<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>การจัดระเบียบทางสังคม เป็นแบบกลุ่ม พรรคพวก พี่น้อง หรือ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">genos </span>มีหัวหน้าครอบ ครัวเป็นผู้นำอาศัยอยู่เป็นหมู่บ้านหรืออยู่ในบ้านใหญ่รวมกัน เมื่อสมาชิก ใน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">genos </span>เสียชีวิตก็จะฝังในที่ฝังศพแบบครึ่งวงกลมร่วมกันพร้อมกับอาวุธ แจกัน เครื่องประดับ แม้ว่าภายหลังจะแยกหลุมศพเป็นของแต่ละคนแบบในปัจจุบัน แต่ก็ยังมี โอ่งใหญ่ใช้เป็นที่เก็บศพเด็กๆ ฝังรวมกันอยู่ หลังสุดจึงเกิดสุสานขึ้นที่เมืองซาเฟอร์<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">-</span>ปาปูรา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Zafer-papoura)</span>ทางด้านการเมือง ราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>เป็นแบบ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot;</span>สังคมวัง<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">&quot; </span>กล่าวคือ รอบพระราชวัง เป็นเมืองเล็กบ้างใหญ่บ้างของเจ้าของที่ดินหรือพ่อค้าที่ร่ำรวย มีลักษณะการ สร้างที่แปลกกว่าที่อื่น บ้านเหล่านี้สร้างติดกับรั้วพระราชวังเลย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nบางเมืองไม่มีพระราชวังอยู่ในบริเวณ เช่นตามเมืองเล็กๆ ที่ประกอบการอุตสาหกรรม เช่นเมืองกูร์เนีย ที่อยู่อาศัยของคนจะเป็นลักษณะแคบ ปลูกติดๆ กันตามริมฝั่งถนนที่ปูด้วย แผ่นหิน หรือริมถนนแคบๆ ที่มีบันไดเป็นระยะไป ลักษณะพิเศษอีกอย่างของอารยธรรม ครีต คือ ทั้งพระราชวังและเมืองจะปราศจากกำแพงเมือง ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับ เมือง สมัยอารยธรรมไมเซเนียนและเมืองทางเอเชีย อาจเป็นว่าคนในแถบนี้มุ่งมั่นทำ แต่การค้าระหว่างกัน ไม่ปรากฏว่ามีการรบพุ่งกัน และครีตเองก็มีอำนาจทางทะเลมาก ความร่ำรวยของครีตบ่งถึงอารยธรรมมิโนเอียน คือ รสนิยมในเรื่องความสุขสบายและ ความสวยงาม ความหรูหรา การชอบงานรื่นเริง และการมีชีวิตอยู่ที่ดี เมื่อราชวงศ์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเอเชียนเริ่มขึ้นที่ครีต จึงมีการรวมอำนาจมาไว้ที่ส่วนกลาง รวมทั้งด้านการเงิน และผลิตผลต้องมารวมอยู่ในพระราชวัง ที่คนอสโซสจะมีกลุ่มคนที่ช่วยพระราชาบริหาร ประเทศ มีพวก สคริป <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Scribes) </span>ทำหน้าที่ทางด้านการจดบันทึก และทำบัญชี ผลิตผล ของพระราชวัง โดยจดลงบนแผ่นดินเหนียว ภายในพระราชฐานจะมีอาคารสำหรับเก็บผลิตผล สร้างเป็นอาคารใหญ่มีทางเดินอยู่กลางยาว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">60 </span>เมตร สองข้างเป็นช่องหินสำหรับใส่ โลหะมีค่า ของมีค่า บางแห่งวางโถใหญ่ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Pithoi) </span>บรรจุเมล็ดพืช เช่น ถั่ว ผลไม้ ตากแห้ง น้ามันมะกอกและเหล้าองุ่น ของพวกนี้ใช้สำหรับเลี้ยงดูข้าราชสำนัก และ ใช้จ่ายแทนเงินในพิธีทางศาสนา จ่ายเป็นเงินเดือนข้าราชการ คนงานและช่างฝีมือ ของจากวังที่ทำด้วยเซรามิค กระเบื้อง เครื่องเงินทอง หินมีค่า ผลิตภัณฑ์ของช่าง เหล่านี้จะถูกประทับตราพระราชวงศ์ และส่งออกขายยังประเทศเพื่อนบ้าน กองทัพครีต มีพระราชาเป็นผู้นำทัพ และใช้ทหารจ้างผิวดำมาเป็นทหาร สังเกตได้ว่ามีการบริหาร บ้านเมืองแบบอียิปต์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางด้านศาสนา เกี่ยวกับพระราชวงศ์อีก ลักษณะพิเศษของครีตอีกอย่างก็คือ บนเกาะ ครีตไม่มีวัด เวลามีพิธีทางศาสนาจะทำ กันตามถ้ำในภูเขาสูงหรือในห้องพิธีทาง ศาสนาของราชวัง ที่เป็นห้องขนาดย่อม พระราชาผู้เป็นทั้งพระและกษัตริย์ก็จะเสด็จ มาทำพิธี ดังที่กล่าวมาข้างต้นว่าชาวทะเลเอเจียนนับถือรูปปั้นผู้หญิงมาแต่ดั้ง เดิม ครีตก็เช่นกัน แต่สมัยนั้นเป็นรูปปั้นผู้หญิงคนเดียว เรียกกันว่า เจ้าแม่ เช่นเดียวกันประเทศในเอเชียตะวันออก\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nสมัยโบราณ ส่วนมากรูปปั้นเจ้าแม่จะอยู่ใน ลักษณะเปลือย คาดว่าคงเป็นธรรมเนียมทางศาสนา เพราะคนธรรมดาแต่งตัวอย่างสง่างาม ด้วยเสื้อที่ปกปิดมิดชิด การที่คนนับถือเจ้าแม่ทำให้สังคมยกย่องสตรี ครีต เสรีภาพสตรีในการที่จะไปไหนมาไหนได้ตามต้องการ มีบทบาทสำคัญ ในพิธีทางศาสนา ต่อ มาผู้ชายสร้างพระเจ้าขึ้นมา แต่ก็ยังเป็นรองเจ้าแม่ เพราะจะออกมาในฐานะเป็นลูก ชายของเจ้าแม่และมีวัวกระทิงเป็นสัญลักษณ์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางด้านศิลปะและอารยธรรม มีการสร้างพระราชวังให้ใหญ่โตขึ้น และตกแต่งสวยงาม ขึ้น พร้อมกับมีระบบส่งน้ำที่สมบูรณ์แบบเพื่อรับน้ำฝน และมีที่กรองน้ำเสีย อีก ทั้งยังมีห้องน้ำห้องส้วมและท่อน้ำเสีย ซึ่งแม้แต่ที่พระราชวังแวร์ซายยังไม่มี จิตรกรรมฝาผนังเป็นที่นิยมกันมาก ภาพที่วาดเป็นภาพสัตว์บกและสัตว์น้ำ ส่วนห้อง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nต่างๆ ในพระราชวังที่คนอสโซส เป็น ภาพชีวิตในวัง สมัย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1600 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>งานศิลปะ มีลักษณะเป็นงานเป็นการขึ้น เช่นมีรูปขบวนนักบวช สตรี นักดนตรี และคนถือของถวาย พระ สมัยนี้มีการปั้นแบบนูนต่ำระบายสี ส่วนมากมักเป็นรูปหัววัวกระทิงและเจ้าชาย กับดอกไม้ ภายหลังประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1500 </span>ปี ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ภาพจิตกรรมฝาผนังมีลวดลายค่อนข้าง แข็ง ในเรื่องของเซรามิค มีแจกันที่นิยมทำแบบมีสามหูอยู่ใกล้คอแจกัน สีที่ใช้ คือสีน้ำตาลหรือดำบนพื้นอ่อน ภาพที่วาดบนแจกันเป็นภาพจากธรรมชาติและภาพเกี่ยว กับทะเล เช่น หอย ประการัง ฯลฯ ความงดงามและละเอียดอ่อนทางด้านศิลปะที่ชาวครีต สมัยจักรวรรดิมิโนสผลิตขึ้นมา รวมทั้งการใช้วัตถุที่มีค่าในการทำเครื่องประดับ สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ และจินตนาการของพลเมืองครีต ทางด้านวรรณคดี ไม่ปรากฏว่ามีเอกสาร ที่พบมีแต่การจดบันทึกในราชการ ดูลักษณะการเขียนแล้วพบว่า ชาวครีตเจริญกว่าชาวเกาะเพื่อนบ้าน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nต้นกำเนิดของอารยธรรมครีตมาจากไหน อารยธรรมครีตมากับชาวเอเซียที่เข้ามาอยู่บน เกาะครีตเมื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">3000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>มาแล้ว โดยพวกนี้ นำการใช้ทองแดงมาเป็นอย่างแรก ต่อจากนั้นเป็น เทคนิคการทำแจกันด้วยหินและการทากระเบื้องลวดลายต่างๆ เช่น แมว ลิง ต้นหญ้า ปาปิรุส การใช้สีแดงสำหรับผู้ชาย สีขาวสำหรับผู้หญิง ศิลปะในการ หล่อโลหะ การทหารและการปกครองมาจากอียิปต์ แต่อิทธิพลจากเอเซียตะวันออกมี มากกว่าและ สำคัญกว่าโดยเฉพาะด้านศาสนา เช่นการนับถือเจ้าแม่ สัญลักษณ์ที่เป็น รูปนก ขวานสองคม แก้ว รูปสัตว์พิธีบวงสรวงวัวกระทิง การละเล่นต่างๆ การกีฬา ต่อสู้กับสัตว์ และรูปเจ้าแม่ที่มีสัตว์ป่าขนาบทั้งสองข้าง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>สถาปัตยกรรมครีตได้รับอิทธิพลมาจากพระราชวังของพระเจ้าซาร์กอน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>บาบิโลเนีย<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>และ ของพวกฮิตไทแห่งเมโสโปเตเมีย เครื่อง ประดับมีค่าระบุอิทธิพลมาจากเอเซียโดย เฉพาะเทคนิคการล้อมจี้ห้อยคอด้วยผึ้ง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>ตัวของมาลเลีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Mallia) </span>ลายผ้าเป็นแนว และการปีกผ้าเป็นของตะวันออก ภาพการแต่งตัว ของสตรีด้วยอาภรณ์อันสวยงาม ปรากฏ ว่าเป็นการแต่งตัวของคนเมืองกิช <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Kish) </span>ในเมโสโปเตเมีย การสลักหินอ่อน การบูชา ดวงอาทิตย์มาจากเอเซียตะวันออก ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าหลายสิ่งหลายอย่างจะถูก นำมาจากที่ต่างๆ แต่เมื่อมาผสมผสานกันแล้วก็กลายเป็นมีลักษณะเฉพาะของครีต โดย เฉพาะทางด้านศิลปะและศาสนา\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>2. </b></span><b>อารยธรรมไมเซเนียน </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>(Micaenean : 1400-1200 </b></span><b>ปีก่อนค</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.</b></span><b>ศ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.) </b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมื่อตอนที่พวกเอเชียนเข้ามาอยู่ในกรีกราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>นั้น พวกเขาไม่รู้ เรื่องเกี่ยวกับทะเลเลย แต่ได้เรียนรู้ในภายหลังเมื่อ สมัยเข้าไปตั้งราชวงศ์ อยู่ที่ครีตแล้ว และก็ได้มีเส้นทางเดินเรือเปิดความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับไม\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nซีเนีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Mycenae) </span>บนเกาะเปโลโปนิซุส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Peloponnesus) </span>เมื่อคนอสโซสถูกทำลายลง ราว <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1400 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ทิ้งไว้แต่ร่องรอยของอารยธรรมมิโนส งานศิลปะ เสื่อมลงทีละ น้อย ชาวครีตอพยพไปอยู่เกาะไซปรัสและทางเอเชียตะวันออก บางพวกไปอยู่อียิปต์ เมื่อพวกเอเชียนเข้ามาแทนที่ทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากบนเกาะครีต เพราะ เอเชียนซึ่งมีเชื้อสายนักรบ มักชอบอะไรที่แข็งแรงเพื่อให้เป็นเครื่องหมายของ ความเป็นใหญ่ จึงสร้างป้อมปราการใหม่ให้ดูใหญ่โตน่าเกรงขาม ผนังห้องมีภาพ จิตรกรรมฝาผนังภาพ ผู้หญิงแต่งตัวด้วยเครื่องประดับมากมาย ภาพการล่าสัตว์และ ภาพการออกรบ เหล่านี้เข้ามาแทนที่ภาพทิวทัศน์ที่เน้นดอกไม้ ความอ่อนโยนในศิลปะ\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nแบบครีตหายไป ความแข็งของลายเข้ามาแทนที่ลวดลายบนแจกัน จะนิยมลายเรขาคณิต เกิด ลายสัตว์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4 </span>เท้า นก รูปนักรบไว้เครา แต่เส้นลายก็ยังแข็งเป็นลักษณะเฉพาะของสมัย นี้ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(1200-1100 </span>ก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.) </span>ส่วนศิลปะในการสลักหินอ่อน การทำเครื่องเงินเครื่องทอง กลับทำอย่างประณีตบรรจง ยังคงเป็นงานที่ใช้เน้นเงินเน้นทองลงบนเหล็กตามวิธี\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nของครีตที่มีมา อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้วศิลปะไมเซเนียนก็เป็นศิลปะที่แพร่ หลายอยู่ทั่วไป ค่อนข้างเป็นอุตสาหกรรมด้วยซ้ำ โรงผลิตงานศิลปะมีอยู่หลายแห่งใน เมืองต่างๆ และรอบพระราชวัง เส้นทางคมนาคมมีทั่วกรีก การติดต่อทางทะเลมีมาก ขึ้น มีการผลิตและ ส่งแบบจำนวนมาก เพราะมีลูกค้าต้องการมาก คุณภาพทางศิลปะจึงลด ลง อีกอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นลักษณะของนักรบ และการปกครองแบบเพศชายเป็นผู้นำ ของอารยธรรมพวกเอเชียน คือ ผู้หญิงจะไม่ออกจากฮาเร็มเลย เทพเจ้าเป็นเพศชายและ มักเป็นนักเดินเรือ เจ้าแม่ลดความสำคัญลงไป เรื่องเล่าเกี่ยวกับวีรบุรุษที่ชนะ สงครามตามที่ต่างๆ ขณะเดียวกับที่ด้านการศาสนาดั้งเดิมของเกาะครีตยังคงทิ้งร่อง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nรอยไว้ให้เห็นกันในสมัยต่อมา ไม่ว่าจะเป็นพิธีทางศาสนาที่เกี่ยวกับสตรี และ เรื่องเร้นลับของชาวครีต แต่สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิตอย่างรื่นรมย์ของ ชาวครีต สมัยอารยธรรมมิโนส ได้อันตรธานไปและการเขียนหนังสือก็ได้หายไปอย่างสิ้น เชิง หลังจากที่ชนะได้ครองกรีกและเกาะใกล้เคียงแล้ว พวกเอเชียนที่อยู่ในถิ่น กันดารของเฮลลาด ก็เริ่มออกแสวงหาถิ่นทำกินที่ดีกว่าตามริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน พวกนี้ไม่ได้ทำการค้าขายอย่างเดียวเหมือนพวกครีต พวกเขาพยายามตั้งหลัก แหล่งทำการค้าและมีอำนาจทางการเมืองด้วย โดยเฉพาะมีอำนาจเหนือเกาะต่างๆ และมี อำนาจในเอเชีย พวกเอเชียนเริ่มด้วยการครองเกาะโรด เข้าไปสร้างเมือง ต่อไปเป็น เกาะไซปรัส ซึ่งเคยถูกพวกครีตครองอยู่บางส่วนแล้ว ที่นี่พวกเอเชียนนำภาษาของตน เข้ามาผสมกับภาษาอียิปต์และภาษาในซีเรีย มีการแลกเปลี่ยนทางการค้า มีผู้พบแจกัน ไมเซเนียนถึงนูเบียและคานาน ตลอดชายฝั่งซีเรียซึ่งเมื่อก่อนก็ได้รับอารยธรรม\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nครีตอยู่แล้ว ตั้งแต่นั้นมา ศูนย์กลางการค้าขายเกิดขึ้นเต็มไปหมด เมืองอูการ์ ทกลายเป็นอาณานิคมไมเซเนียน แต่ที่พวกเอเชียนชอบมาก คือ ที่ริมฝั่งทะเลของอนาโต เลีย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(</span>ตุรกี<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">) </span>พวกเขามาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่นี่ ทำตัวเป็นโจรสลัดในทะเลเอเจียน แต่เป็นมิตรดีกับพลเมืองในผืนแผ่นดิน โดยเฉพาะกับพวกฮิตไท เราจึงพบร่องรอยทาง วัตถุ เช่น ตราประทับสฟิงซ์ ที่ฮักเฮียเทรียดา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Haghia Triada) </span>แผ่นจารึกที่พบ บอกเราว่า รัฐของพวกเอเชียนนั้นยิ่งใหญ่เท่ากับอียิปต์ และยังกล่าวว่ากษัตริย์ ของพวกเขาชื่อ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">Attarassias </span>มีอำนาจทางทะเลมาก มีเรืออยู่ในครอบครองถึงหนึ่งร้อย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nลำ เป็นที่น่าแปลกที่พวกไมเซเนียนไม่สนใจที่จะไปแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวัน ตก ดังเช่นชาวครีตเคยทำมา แต่กลับมีร่องรอยทางวัตถุของไมเซเนียนอยู่ตามเกาะ ตะวันตก คือ ตราประทับแบบเอเจียนที่เกาะซาร์ดิเนีย ที่หมู่เกาะบาเลอาร์มีพิธี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางศาสนาที่เกี่ยวกับวัวกระทิง มีขวานสองคมและเขาสัตว์ที่ใช้บูชาสิ่งเหล่านี้ อาจผ่านตัวกลาง เช่น พ่อค้าต่างๆ อย่างไรก็ตามก็แสดงถึงอิทธิพลเอเชียนในถิ่น นี้ และบอกให้เราทราบว่าพวกกรีก สมัย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1000 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ลืมเส้นทางเดินเรือและการ ค้าแถบนี้จนกระทั่งถึงประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">630 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>3. </b></span><b>อารยธรรมโฮเมอร์ </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>(Homer: </b></span><b>ประมาณ </b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>900 </b></span><b>ปีก่อนค</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.</b></span><b>ศ</b><span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"><b>.) </b></span>\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nพวกดอเรียนเข้ามารุกรานจนถึงดินแดนกรีกโบราณประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">800 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>เป็นสมัยที่ เราไม่ค่อยมีหลักฐาน เกี่ยวกับกรีกเป็นเวลานานถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">4 </span>ศตวรรษ นอกจากบทประพันธ์ของ โฮเมอร์ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Homer) </span>ซึ่งมี <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>เล่ม คือเอเลียดและโอดิสซี พูดถึง เรื่องราวและบุคคล ต่างๆในสมัยไมเซเนียนปะปนไปกับเรื่องราวของสงครามเมืองทรอย และอารยธรรมของ ไอโอเนียน และเอโอลิค สมัย <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">900 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ซึ่งนับเป็นหลักฐานทางประวัติศาตร์ ที่สำคัญแต่ต้องใช้อย่างระมัดระวัง โดยทั่วๆไป เรายอมรับว่าอารยธรรมนี้ อยู่ ประมาณ <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">900 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>ภาษาที่เขียนในบทประพันธ์โฮเมอร์คล้ายภาษาเอโอเลียน มี ศัพท์บางตัวมาจากภาษาไอโอเนียน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และเป็นไปในลักษณะลึกซึ้งมีขึ้นเมื่อพวกดอเรียน นักรบ ผู้ชำนาญในการใช้ม้าและอาวุธเหล็ก เข้ามารุกรานพวกเอเชียน พวกดอเรียนมีศิลปะใน การรบเหนือกว่าพวกเอเชียนทั้งๆ ที่ดั้งเดิมมาจากเชื้อสายเดียวกัน คือ ชาวอินโด<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">- </span>ยูโรเปี้ยน แต่พวกเอเชียนมาได้รับอารยธรรมเอเจียนก่อนหลายศตวรรษ เครื่องนุ่งห่ม ของพวกดอเรียนทอด้วยขนสัตว์ เรียกว่า ชไลนา หรือ เปโปล มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม ผืนผ้าธรรมดา จับจีบติดด้วยเข็มกลัด นับว่าแตกต่างจากเครื่องนุ่งห่มของพวกที่ ได้รับ อารยธรรมเอเจียนที่มีเสื้อผ้าหรูหรา เน้นรูปทรงที่เอว แม้แต่ทาง สถาปัตยกรรมตกแต่งอันสวยงามแบบเอเจียนที่มีอยู่ต่อจากนี้ไป ก็ไม่มีใครสนใจ วัดกับวังจะแยกจากกันไม่อยู่ในบริเวณเดียวกันเหมือนแต่ก่อน การสร้างวังก็ไม่พิถี พิถัน สร้างแบบง่ายๆ เป็นห้องโถง ธรรมดาและมีห้องติดต่อกันอีก <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2-3 </span>ห้อง ผังของ ห้องโถงเป็นลักษณะห้องยาวมีทางเดินเข้า ใช้เป็นห้องประดิษฐานเทพเจ้าต่างๆ ผัง\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\nเมืองสร้างคล้ายตาหมากรุก มีถนน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">2 </span>สายตัดกันเป็นมุมฉาก ตรงทางแยกเป็นศูนย์กลาง ของเมืองทั้งทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางศาสนา\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางด้านศาสนา มีการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ เทพเจ้าของทางผืนแผ่นดินเข้ามา แทนที่เทพเจ้าทางทะเลของพวกเอเชียน และเทพเจ้าแห่งท้องฟ้ามาแทนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของแผ่นดิน เทพเจ้าของกรีกตั้งแต่สมัยนี้เป็นต้นไปจะต้องหนุ่มและรูปร่างงาม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และเทพเจ้าเป็นไปในทางสังเวยและอธิษฐาน ความเร้นลับ น่ากลัวที่ได้รับมาจากตะวันออกและปนมากับศาสนา สมัยนี้การเผาศพเปลี่ยนไปเป็นฝัง คนตายแทน ไม่มีประเพณีระลึกถึงคนตาย ไม่มีของบูชาให้คนตาย และไม่มีการทำหลุมศพ ขนาดใหญ่ การละเล่นยังคงเหมือนเดิมจากที่รับถ่ายทอดมา แต่จุดประสงค์มุ่งเพื่อคน ที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่มีการเชื่อเรื่องเบื้องบน ศาสนาของชาวกรีกกลายเป็นศาสนา ที่นับถือเทพเจ้าหลายองค์ และเป็นแบบเทพนิยาย เป็นการดึงคนให้ออกมาจากความเชื่อ ในสิ่งที่เกินธรรมชาติแบบโบราณ และจากความหวาดกลัวกับเรื่องที่ว่าตายแล้วไป ไหน\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางด้านศิลปะ ของอารยธรรมโฮเมอร์ เรารู้ไม่มากนัก แรกเริ่มเข้าใจว่าเป็นแบบไมเซเนียน จนกระทั่ง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">800 </span>ปีก่อนค<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">.</span>ศ<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">. </span>จึงเกิดรูปปั้นศักดิ์สิทธิ์ ที่เรียกกันว่า ซัวนา <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Xoana) </span>ที่ทำขึ้นมาอย่างหยาบๆ ด้วยดินเหนียวบ้าง สัมริดบ้าง งาช้าง หรือ ตะกั่วบ้าง ล้วนรับอิทธิพลมาจากตะวันออก ในเรื่องของเซรามิค ก่อนหน้าที่จะมี แจกันลายเรขาคณิตไม่ปรากฏว่ามีแจกันอย่างอื่น แจกันที่งามที่ ปัจจุบันถือว่ามี ค่าที่สุด เป็นแจกันของดีไพลอน <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Dipylon) </span>ได้มาจากหลุมศพที่เอเธนส์ แจกันนี้สูง ถึง <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">1.75 </span>เมตร มีลายดำบนพื้นสีอ่อน เป็นลายซิกแซก ลายหมากรุกหรือลายคดเคี้ยว ลายขบวนแห่งานศพ ลายรถลากด้วยม้าเรียงกันเป็นแถว ลายการต่อสู้ทางทะเล ทุกลายมี การวางภาพได้อย่างสวยงาม นับเป็นลักษณะเด่นของศิลปะโฮเมอร์\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n<span style=\"font-family: Times New Roman, serif\"></span>ทางด้านการปกครอง มีการจัดระบบการปกครองใหม่ด้วยการยุบการปกครองแบบกลุ่มมาเป็น นครรัฐ หรือที่เรียกว่า โปลิส <span style=\"font-family: Times New Roman, serif\">(Polis) </span>โดยสร้างตรงที่เป็นพระราชวัง เดิมของพวก ไมเซเนียน ล้มเลิกสังคมที่มีกษัตริย์และนักรบ มาเป็นสังคมที่มีชนชั้นขุนนาง เจ้าที่ดิน ระบบกษัตริย์ให้มีแต่ในเขตชายแดน เช่น เอปีร์ และมาซีโดเนีย\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"margin-bottom: 0cm\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715343719, expire = 1715430119, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f27d919568ab540ebde394af65a15f28' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อารยธรรมโลก

 

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส – ยูเฟรทีส

ลักษณะที่ตั้งทางภูมิศาสตร์

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรทีสหรือ เมโสโปเตเมีย เป็นอู่อารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกสมัยโบราณ โดยตั้งอยู่ระหว่างแม่น้ำ 2 สาย คือแม่น้ำไทกรีส (Tigris) และแม่น้ำยูเฟรตีส (Euphrates) ซึ่งปัจจุบันนี้ อยู่ในเขตแดนของประเทศอิรักซึ่งมีกรุงแบกแดด เป็นเมืองหลวง แม่น้ำทั้ง 2 สายมีต้นน้ำอยู่ในอาร์มีเนีย และเอเซียไมเนอร์ไหลลงสู่ทะเลที่อ่าวเปอร์เซีย บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส และยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย

 

อาณาบริเวณที่เรียกว่าเมโสโปเตเมีย อาณาเขตติดต่อดังนี้

 

ทิศเหนือ ติดต่อกับ ทะเลดำ และทะสาบแคสเปียน

ทิศตะวันตกเฉียงใต้ ติดต่อกับ คาบสมุทรอาระเบีย ซึ่งล้อมรอบด้วยทะเลแดง และมหาสมุทรอินเดีย

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ที่ราบซีเรีย และปาเลสไตน์

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ที่ราบสูงอิหร่าน

 

บริเวณแม่น้ำ ไทกริส-ยูเฟรติส หรือบริเวณประเทศอิรักในปัจจุบัน ในอดีตเป็นดินแดนที่มีร่องรอยความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน จนกลายเป็นอู่อารยธรรมของโลก ดินแดนแห่งนี้เป็นเขตที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจากมีแม่น้ำ 2 สายมาบรรจบกัน จึงเหมาะต่อการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ จึงมีชื่ออีกอย่างว่าหนึ่ง ดินแดนพระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์ (The Fertile Crescent) หรือวงโค้วแห่งความอุดมสมบูรณ์ หรือที่รู้จักกัน คือ ดินแดนเมโสโปเตเมีย

 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

กำเนิดเมโสโปเตเมีย

 

เมโสโปเตเมีย เป็นคำภาษากรีก แปลว่า ที่ระหว่างแม่น้ำ ดินแดนที่ชาวกรีกเรียกว่า เมโสโปเตเมียนี้ตั้งอยู่ในลุ่มน้ำไทกรีสและ ยูเฟรตีสเป็นส่วนหนึ่งของ "ดินแดนรูป พระจันทร์เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์" ซึ่งเป็นดินแดนรูปครึ่งวงกลมผืนใหญ่ ที่ทอดโค้งขึ้นไปจากฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและอ่าวเปอร์เซีย

 

เมโสโปเตเมีย เป็นดินแดนที่อากาศร้อนและกันดารฝน น้ำที่ได้รับส่วนใหญ่เป็น น้ำจากแม่น้ำที่มาจากหิมะละลายในภาคฤดูร้อนบนเทือกเขาในอาร์มิเนีย น้ำจะพัดพา เอาโคลนตมมาทับถมชายฝั่งทั้งสอง ทำให้พื้นดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก การเอ่อล้นของน้ำอันเกิดจากหิมะละลายไม่มีกำหนดเวลาที่แน่นอนและบางครั้งทำความเสียหายแก่บ้านเมือง ไร่นา ทรัพย์สินและชีวิตผู้คน การกสิกรรมที่จะได้ผลดีในสภาพแวดล้อมเช่นนี้ต้องอาศัยระบบการชลประทานที่มีประสิทธิภาพ

ความอุดมสมบูรณ์ของลุ่มแม่น้ำเป็นเครื่องดึงดูดให้ผู้คนเข้ามาทำมาหากินในบริเวณนี้ แต่ความร้อนของอากาศก็เป็นเครื่องบั่นทอนกำลังของผู้คนที่อาศัยอยู่ทำให้คนเหล่านั้นขาดความกระตือรือร้น เมื่อมีพวกอื่นเข้ารุกรานจึงต้องหลีกทางให้ผู้ที่เข้ามาใหม่ซึ่งเมื่ออยู่ไปนานๆเข้าก็ประสบภาวะเดียวกันต้องหลีกให้ผู้อื่นต่อไป พวกที่เข้ามารุกรานส่วนใหญ่มักจะมาจากบริเวณหุบเขาที่ราบสูงทางภาคเหนือและตะวันออกซึ่งส่วนใหญ่เป็นเขาหินปูนไม่อุดมสมบูรณ์เท่าเขตลุ่มแม่น้ำ และยังมีพวกที่มาจากทะเลทรายซีเรียและอารเบีย เรื่องราวของดินแดนแห่งนี้จึงเป็นเรื่องราวที่เกี่ยวกับอารยธรรมของคนกลุ่มต่างๆ หลายกลุ่มมิได้เป็นเรื่องราวของอารยธรรมที่สืบต่อกันเป็นเวลายาวนานดังเช่นอารยธรรมอียิปต์

บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ตอนล่างเรียกว่าบาบิโลเนีย (Babylonia) เป็นเขตซึ่งอยู่ติดกับอ่าวเปอร์เซีย มีชื่อเรียกในสมัยหนึ่งว่าชินาร์ (Shina) เกิดจากการทับถมของดินที่แม่น้ำพัดพามากล่าวคือในฤดูร้อนหิมะบนภูเขาในอาร์มีเนียละลายไหลบ่าลงมาทางใต้พัดพาเอาโคลนตมมาทับถมไว้ยังบริเวณปากน้ำทำให้พื้นดินตรงปากแม่น้ำงอกออกทุกปี โดยเฉลี่ยแล้วประมาณ 1 ไมล์ครึ่ง ทุกๆ ศตวรรษ (ประมาณปีละ 29 นิ้วครึ่ง)

ปัจจัยที่เอื้ออำนวยที่ทำให้เกิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย

1. ความคิดสร้างสรรค์รักษา ปรับปรุงและสืบทอดในอารยธรรมของกลุ่มชน 6 กลุ่มคือ

1.1 สุเมเรียน (Sumerians)

1.2 อัคคาเดียน (Akkadians)

1.3 อะมอไรท์ (Amorites)

1.4 คัสไซท์ (Kassites)

1.5 อัสซีเรียน (Assyrians)

1.6 แคลเดียน (Chaldeans)

2. แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีส ทำให้เมโสโปเตเมียชุ่มชื้นเกิดการรวมตัวของกลุ่มชนและกำเนิดอารยธรรมเฉพาะขึ้น

3. พรมแดนธรรมชาติซึ่งมีส่วนช่วยเป็นกำแพงป้องกันศัตรูภายนอกแม้ไม่ดีเท่าแถบลุ่มน้ำไนล์ก็ตาม แต่ก็เอื้ออำนวยให้กลุ่มชนซึ่งผลัดกันขึ้นมีบทบาทในเมโสโปเตเมียสามารถใช้ประโยชน์ของพรมแดนธรรมชาตินี้กำเนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้น กล่าวคือทิศเหนือจรดเทือกเขาอเมเนียทิศใต้จรดอ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันออกจรดแนวเทือกเขายาว ทิศตะวันตกจรดทะเลทรายอารเบียน

 

กลุ่มคนที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

ชาวสุเมเรียน (Sumeriam)

เมื่อประมาณ 4,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชชาวสุเมเรียนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณดินดอนสามเหลี่ยม (Delta) ปากแม่น้ำไทกรีส-ยูเฟรตีส ซึ่งเรียกกัน ในเวลาต่อมาว่าดินแดนซูเมอร์ ในระยะแรกชุมชนชาวสุเมเรียนเป็นหมู่บ้านยุคหินใหม่ หมู่บ้านเหล่านี้ได้ขยายตัวขึ้นเป็นชุมชนวัด และในเวลาต่อมา ชุมชนวัดแต่ละแห่งได้พัฒนาขึ้นเป็นเมือง ที่สำคัญ ได้แก่เมืองเออร์(Ur) เมืองอิเรค (Ereck) เมืองอิริดู (Eridu) เมืองลากาซ (Lagash) และเมืองนิปเปอร์ (Nippur) แต่ละเมืองมีชุมชนเล็กๆ ที่รายรอบอยู่เป็นบริวาร ทำให้มีลักษณะเป็นรัฐขนาดเล็กที่เรียกว่านครรัฐ (City State) นครรัฐเหล่านี้ต่างปกครองเป็นอิสระแก่กัน

 

ในขณะที่ชาวสุเมเรียน สถาปนานครรัฐขึ้นทางตอนล่างของลุ่มแม่น้ำไทกรีส- ยูเฟรตีส หลายนครรัฐชนกลุ่มอื่นๆ ก็ได้สถาปนานครรัฐของตน ในบริเวณตอนเหนือขึ้นไปอีกหลายแห่งแต่มีความเจริญทางอารยธรรมด้อยกว่านครรัฐของชาวสุเมเรียนในดินแดนซูเมอร์ก็ตามแต่ภาษาที่ใช้สืบมาจากรากเดียวกันคือภาษาอินโด-ยูโรเปียนอันเป็นต้นกำเนิดจากภาษาลาติน กรีก เปอร์เซีย สันสกฤต รวมทั้งภาษาเยอรมันและภาษาโรมานซ์ในปัจจุบัน มองจากแง่ของภาษาอนารยชนกลุ่มใหม่เหล่านี้ก็คือบรรพบุรุษของเรานั่นเอง การบุกรุกทางใต้ของชนเหล่านี้มีผลทำให้ชนเผ่าอื่นถูกแย่งที่ไปอย่างรุนแรงในช่วงประมาณปี 1750 ถึง 1550 ก่อนคริสตกาล พวกอนารยชนดังกล่าวตลอดจนพวกอื่นๆ ที่ดำเนินรอยตามได้ทำลายความต่อเนื่องทางการเมืองและวัฒนธรรมของดินแดนตะวันออกใกล้สมัยโบราณ ประมาณปี 1595 ผู้รุกรานเผ่าอินโด-ยูโรเปียน ก็ทำให้ราชวงศ์ของพระเจ้าฮัมบูราบีในนครบาบิโลนต้องสิ้นสุดลงซึ่งฉุดให้เมโสโปเตเมียเข้าสู่ช่วงเวลาอันยาวนานของความเสื่อมของทางวัฒนธรรมและความไม่สงบทางการเมือง

คนกลุ่มแรกที่สร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมียขึ้นคือชาวสุเมเรียน ผู้คิดประดิษฐ์ตัวอักษรขึ้นเป็นครั้งแรกในโลก อารยธรรมที่ชาวสุเมเรียนสร้างขึ้นเป็นพื้นฐานสำคัญของอารยธรรมเมโสโปเตเมีย สถาปัตยกรรม ตัวอักษร วรรณกรรม ศิลปกรรมอื่นๆ ตลอดจนทัศนคติต่อชีวิตและเทพเจ้าของชาวสุเมเรียนได้ดำรงอยู่และมีอิทธิพลอยู่ในลุ่มแม่น้ำทั้งสองตลอดช่วงสมัยโบราณ

ระยะเวลาที่ชนชาติต่างๆเข้ามาอาศัยในดินแดนเมโสโปเตเมีย

เจริโค (Jericho) อาศัยอยู่ระหว่างหุบเขาริมฝั่งแม่น้ำจอร์แดน ประเทศอีรักราว 8000 B.C. ถือว่าเป็นชนชาติแรกทีเก่าแก่ที่สุดในเมโสโปเตเมียซาทาล ฮือยึค (Catal Huyuk) อาศัยอยู่บริเวณอนาโตเลีย สร้างอารยธรรมเก่าแก่สมัยราว 7000-5000 B.C. ก่อนประวัติศาสตร์

สุเมเรียนและอัคคาเดียน สุเมเรียนอาศัยอยู่ตอนล่างของเมโสโปเตเมีย สร้างอารยธรรม(Sumerian and Akkadian) ขึ้นโดยเฉพาะการประดิษฐ์ตัวอักษร ทำให้เมโสโปเตเมียเข้า 3000-1600 B.C. สู่สมัยประวัติศาสตร์ และได้ให้แนวทางแก่พวกอัคคาเดียนซึ่งอยู่ทางตอนเหนือขึ้นไปของเมโสโปเตเมีย เข้ามาครอบครองและเจริญขึ้นแทนสุเมเรียน

อะมอไรท์ (Amorite) พวกอะมอไรท์อพยพมาจากทะเลทรายซีเรียน เข้าครอบ

1900-1600 B.C. ครองเมโสโปเตเมีย สร้างอาณาจักรบาบิโลเนียขึ้นภายใต้การปกครองของพระเจ้าฮัมมูราบี สมัยนี้กรุงบาบิโลเนียเป็น เมืองหลวงอาณาจักรบาบิโลเนียทางทิศตะวันออกจรด อ่าวเปอร์เซีย ทิศตะวันตกจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

ฮิตไตท์และแคสไซท์ พวกฮิตไตท์ อยู่ในเอเชียไมเนอร์ ได้ขยายอาณาจักรออก (Hittite and Kassite) เป็นจักรวรรดิใหญ่ รุกรานเข้ามาในเมโสโปเตเมีย

1600-1150 B.C. ได้ยึดครองปล่อยให้พวกแคสไซท์ซึ่งอยู่ทางเทือกเขาด้าน ตะวันออกของแม่น้ำไทกรีสเข้ายึดครองกรุงบาบิโลน

แอสสิเรียน (Assyrian) อยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมีย ค่อยเจริญขึ้นแทนตอน 750-612 B.C. ล่างของเมโสโปเตเมีย และกลายเป็นจักรวรรดิ ครั้งแรก เมื่อเข้ายึดครองกรุงบาบิโลนได้

แคลเดียน (Chaldeam) พวกแคลเดียนอยู่บริเวณทะเลทรายตอนใต้ของบาบิโลเนีย 612-538 B.C. ได้แยกตัวออกจากการปกครองของแอสสิเรียได้สำเร็จ และ มีความเจริญรุ่งเรืองมากในสมัยพระเจ้าเนบูชาเนซซาร์ อาณาจักรแคลเดียนสิ้นสุดลงเมื่อถูกเปอร์เซียเข้ายึดครองอินโด-ยูโรเปียน พวกอินโดยูโรเปียน(Indo-European) อยู่ทางตอนเหนือ เข้ามามีอำนาจใน เมโสโปเตเมีย ตั้งแต่ 550 B.C. โดยปราบพวกที่มีอำนาจอยู่550-332 B.C. ก่อนได้สำเร็จจึงสร้างอาณาจักรเปอร์เซียขึ้นขยายอำนาจปกครองในดินแดนเมโสโปเตเมียทั้งหมดรวมทั้งอียิปต์และหัวเมืองกรีกในเอเซีย

ไมเนอร์ เมื่อทำสงครามกับกรีก ก็ตกอยู่ ใต้การปกครองของกรีกในปี 332 B.C.

วัฒนธรรมเมโสโปเตเมีย

พัฒนาการวัฒนธรรมสุเมเรียน 2 ระยะ คือ

1.ระยะวัฒนธรรมอูเบด (Ubaid) ประมาณ 4250-3750 B.C. เป็นสมัยเริ่มอารยธรรมคนเมือง (Urban life)

2.ระยะวัฒนธรรมอูรุค (Uruk) ประมาณ 3750-3000 B.C.

. การประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม หรืออักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียว

 

ส่วนใหญ่ใช้ของมีคนกรีดลงบนหิน แต่เนื่องจากหินหายากและไม่มีกระดาษพะไพรัสจึงต้องเขียนลงบนดินเหนียวแล้วนำไปผึ่งแดด หรือเผาไฟให้แห้งแข็ง เครื่องมือที่ใช้คือ ไม้ หรือกก หรือเหล็กแหลม กดเป็นรูปลิ่มอักษร จึงถูกเรียกชื่อว่า “คูนิฟอร์ม” หรือตัวอัหษรรูปลิ่ม

. การสร้างผลงานสถาปัตยกรรมเรียกว่า “ซิกกูแรท”

 

ซึ่งเป็นสิ่งก่อสร้างลักษณะคล้ายพิรามิดสร้างบนฐานที่ยกระดับจากพื้นดินข้างบนทำเป็นวิหารเทพเจ้ามีบันไดทอดยอดขึ้นไป

. การก่อสร้างด้วยอิฐและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ชาวสุเมเรียนได้สร้างผลงานก่อสร้างอื่นๆและทำปฏิทินจันทรคติ กำหนดเดือนหนึ่งมี 366 ? วัน ปีหนึ่งมี 12 เดือน ปีของสุเมเรียนจึงมีเพียง 354 วัน ขณะที่ปีทางสุริยคติมี 366 ? วัน เดือนของชาวสุเมเรียนแบ่งออกเป็น 4 สัปดาห์ๆ 7-8 วัน วันหนึ่งแบ่งเป็นกลางวัน 6 ชั่วโมง (เท่ากับ 2 ชั่วโมงในปัจจุบัน) กลางคืน 6 ชั่วโมง การนับคือ หน่วย 60 ซึ่งตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน เช่นการนับ 1 ชั่วโมงมี 60 นาที 1 นาทีมี 60 วินาที วงกลมมี 360 องศา (60 หกครั้ง)

ประมวลกฏหมายฮัมบูราบี

ประมวลกฎหมายฮัมบูราบี เป็นบทบัญญัติที่รวบรวมกฎหมายต่าง ๆ และพระราชกฤษฎีกาของกษัตริย์ฮัมมูราบี ราชาแห่งบาบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ ที่สุด ประมวลกฎหมายนี้ถูกคัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบนหินบะซอลต์สีดำสูง 2.25 เมตร ซึ่งต่อมาทีมนักโบราณคดีฝรั่งเศสขุดพบที่ ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนาวปี 1901 ถึง 1902 หินสลักนี้แตกเป็น 3 ชิ้น และได้รับการบูรณะ ปัจจุบัน ประมวล

กฎหมายฮัมมูราบีอยู่ในพิพิธภัณฑ์ลูฟร์ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา โดยยึดหลักที่ปัจจุบันเรียกว่า "ตาต่อตา ฟันต่อฟัน" อันหมายถึงทำผิดอย่างไรได้โทษอย่างนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตามกฎหมายฮัมมูราบีจะดูว่าโหดเหี้ยมตามความคิดของคนสมัยใหม่ แต่การทำกฎหมายให้เป็นลายลักษณ์อักษรและพยายามใช้บังคับอย่างเป็นระบบกับทุกคน และการ “ถือว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ไว้ก่อนจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าผิด” นับเป็นหลักการสำคัญที่นับเป็นวิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์

ทฤษฎีใหม่บางอันถือว่าการนับกฎหมายฮัมมูราบีให้สถานะอย่างประมวลกฎหมายอย่างปัจจุบันนั้นไม่ถูกต้องนัก ความจริงน่าจะนับได้เพียงการเป็นอนุสรณ์ยกย่องว่ากษัตริย์ฮัมมูราบีเป็น “ตัวอย่างกษัตริย์ที่ทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม” ได้เท่านั้นเพราะในชีวิตของคนย่อมมีความผิดอย่างอื่นที่ไม่ใช่การลักขโมย

ซิกกูแรต(Ziggurat)

ซิกกูแรต (Ziggurat) เป็นสิ่งก่อสร้างของอารยธรรมสุเมเรียน (Sumerians) ในบริเวณเมโสโปเตเมีย มีลักษณะคล้ายพีระมิดแบบขั้นบันไดแต่ไม่ก่อสร้างสูงจนเป็นยอดแหลม ด้านบนของซิกกูแรตซึ่งเป็นพื้นที่ราบกว้างจะสร้างเป็นวิหาร ในระยะแรกการสร้างซิกูแรตมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา แต่ต่อมาซิกกูแรตนี้ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของพระราชวังกษัตริย์ เช่น ซิกกูแรตที่เมืองอูร์ (Ur)

ซิกกูแรตสร้างขึ้นด้วยวัสดุจำพวกอิฐและไม้ ความแข็งแรงคงทนจึงสู้งานสถาปัตยกรรมยุคต่อมา เช่น พีระมิดอียิปต์ไม่ได้ เพราะงานของอียิปต์สร้างด้วยวัสดุจำพวกหิน ซิกกูแรตเก่าแก่ที่สุดเท่าที่ค้นพบมีชื่อว่า “The White Temple” พบที่เมืองอูรุค (Uruk) หรือวาร์กา (Warka) บริเวณพื้นที่ประเทศอิรักในปัจจุบัน มีอายุประมาณ 3,500 – 3,000 ปี ก่อนคริสตกาล ซึ่งเก่าแก่กว่าพีระมิดของอียิปต์หลายร้อยปี

มหากาพย์กิลกาเมช

 

มหากาพย์กิลกาเมช (อังกฤษ: Gilgamesh) เป็นตำนานน้ำท่วมโลกที่เก่าแก่ของบาบิโลน เล่าเรื่องกษัตริย์กิลกาเมชกับเหตุการณ์น้ำท่วมโลก ปรากฏในจารึก 12 แท่งด้วยกัน (นักโบราณคดีส่วนมากเชื่อว่าจารึกแท่งที่ 12 นี้ถูกแต่งเพิ่มขึ้นในภายหลัง) ซึ่งสอดคล้องกับตำนานของชาวซูเมอร์ มหากาพย์เรื่องนี้จารึกไว้ในแผ่นดินเหนียวในหอเก็บจารึกของกษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราว ศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล

สวนลอยแห่งบาบิโลน

 

ตำนานกล่าวไว้ว่า สวนลอยแห่งบาบิโลนสร้างขึ้นประมาณศตวรรษที่9 ก่อน คริสตกาล โดยคำ บัญชาของกษัตริย์"เนบูคัสเนซซาร์"เพื่อเป็นของขวัญแก่นางอามิธีส ราชินีชาวเปอร์เซียของพระองค์

สวนแห่งนี้สร้างขึ้นในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้างซ้อนกันขึ้นไปเป็นชั้นๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ "ดิโอโดโรส" กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและน้ำมันดินเป็นส่วน ประกอบสำคัญในการก่อสร้างและเพื่อให้กันน้ำได้ดีนั้น ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อหรือกกผสม น้ำมันดินปูพื้นชั้นแรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน ก่อนจะวางตะกั่วทับลงไปบนชั้นบนสุด หลังจากนั้นจึงลงดินที่มีปริมาณมากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น น้ำที่ใช้เลี้ยงต้นไม้ในสวนลอยสูบขึ้นมาจากแม่น้ำยูเฟรติสเบื้องล่างมาตามท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทำให้ต้นไม้ที่ปลูกที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ที่แล้งที่สุดกลางฤดูร้อนในทะเลทราย

มังกรในตำนานของชาวสุเมเรียน

 

มังกรในตำนานของชนสุเม-เรียนแห่งนครบาบิโลน ซึ่งก่อตั้งขึ้นราว 2,000 ปีก่อน ค.. โดยตำนานเล่าว่า หลังกำเนิดของพิภพ มีมังกรเพศเมียนามว่า ติอาแม็ท (TIAMAT) เป็นเทพีแห่งทะเลนํ้าเค็ม เมื่อนํ้าเค็มของติอาแม็ทผสมผสานกับนํ้าจืดของเทพ อัพสุ (APSU) ก็เกิดการปฏิสนธิของเทพองค์อื่นๆ อีกมากมาย

ต่อมาอัพสุต้องการชิงอำนาจจากจอมเทพ อีอา (EA) จึงเกิดเทวสงครามขึ้น แรกๆ ทัพของอัพสุกับติอาแม็ททำท่าว่าจะมีชัย แต่แล้วก็เกิดมีวีรเทพซึ่งเป็นโอรสของอีอาพระนามว่า มาร์ดุค (MARDUK) เข้ามาขัดขวางติอาแม็ทอ้าโอษฐ์ เพื่อกลืนกินมาร์ดุค แต่วีรเทพได้สาดมหาพายุเข้าไปในโอษฐ์ของเธอจนหุบไม่ลง แล้วมาร์ดุคก็ใช้แหจับติอาแม็ทไว้ได้ เอาศรเสียบร่างแล้วเอาดาบ ผ่ากายของเธอออกเป็นสองซีก ซีกหนึ่งบังเกิดเป็นหลังคาสวรรค์ อีกซีก หนึ่งเป็นท้องมหาสมุทร นอกจากนี้ มาร์ดุค ยังเอาดาบเสียบลูกตาของติอาแม็ท โลหิตที่หลั่งไหลออกมากลายเป็นแม่นํ้าสองสาย คือ ไทกริส กับ ยูเฟรติส แห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย

 

ศิลปะแห่งดินแดนเมโสโปเตเมีย

เมโสโปเตเมียเป็นชื่อดินแดนที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ริมแม่นํ้า อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารและแร่ธาตุต่างๆ จึงเป็นที่ตั้งของชนเผ่าต่างๆ หลายชนเผ่า ชนเผ่าเหล่านี้มีความเป็นอยู่คล้ายคลึงกัน เช่น การนับถือบูชาเทพเจ้าประจําสถานที่ต่างๆ เช่น เทพเจ้าแห่งพายุ เทพเจ้าแห่งท้องฟ้า เนื่องจากเชื่อว่า สิ่งทั้งหลายในธรรมชาติล้วนเป็นไปตามความพอใจของเทพเจ้าผู้เข้าถึงสัจธรรมแห่งเทพเจ้าได้ก็คือ นักบวชหรือพระ ดังนั้น พระจึงมีบทบาทสําคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ และเปรียบเสมือนตัวแทนของเทพเจ้า วัดจึงกลายเป็นสถานที่สถิตย์ของเทพเจ้า เป็นที่ประกอบพิธีกรรม เป็นศูนย์กลางของการปกครอง และเป็นแหล่งผลิตงานศิลปะที่มีคุณค่ายิ่ง จึงนับว่าการสร้างสรรค์ศิลปะสมัยนี้มีแรงผลักดันมาจากความเลื่อมใสในศาสนาและการเอาใจเทพเจ้า งานศิลปะที่สําคัญส่วนใหญ่เป็นผลงานของเผ่าซูเมอร์ (Sumer) และบาบิโลเนีย (Babilonia) เผ่าแอสซิเรีย (Assyria) และเผ่าเปอร์เซีย(Persia)

 

อารยธรรมลุ่มแม่น้ำไนล์

ชาวอียิปต์เป็นหนึ่งในกลุ่มชนโบราณพวกแรกๆที่ประสบความสำเร็จในการสร้างและพัฒนาอารยธรรมของตนเนื่องจากมีปราการธรรมชาติอย่าง ทะเลทรายซาฮาราทำให้อียิปต์ปราศจากการคุกคามจากศัตรูทางบกและความสมบูรณ์ของแม่น้ำไนล์ก็ทำให้ปัญหาความอดอยากแทบไม่ปรากฏด้วย เหตุนี้พวกเขาจึงสามารถ พัฒนาอารยธรรมได้โดยปราศจากอุปสรรคใดๆ

นักวัติประศาสตร์แบ่งช่วงเวลาสามพันปีของอียิปต์ออกเป็นช่วงต่างๆ โดยเริ่มจาก

  • ปลายยุคก่อนราชวงศ์ (3100 ปี ก่อนค..) เป็นยุคที่ยังไม่ได้ตั้งเป็นอาณาจักร

  • ยุคอาณาจักรเก่า เริ่มตั้งแต่ 2950 - 2150 ปีก่อน ค.. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่หนึ่งถึงราชวงศ์ที่แปด

  • ยุครอยต่อของอาณาจักร (2125 - 1975 ปี ก่อน ค..) ประกอบด้วยราชวงศ์ที่เก้าถึงสิบเอ็ด

  • ยุคอาณาจักรกลาง เริ่มตั้งแต่ 1975 - 1520 ปีก่อน ค.. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบสองถึงสิบเจ็ด

  • ยุคอาณาจักรใหม่ เริ่มตั้งแต่ 1539 - 1075 ปี ก่อน ค.. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบแปดถึงยี่สิบ

  • ยุคปลายของอาณาจักร เริ่มตั้งแต่ 1075 - 332ปี ก่อน ค.. ราชวงศ์ที่ยี่สิบเอ็ดถึงสามสิบเอ็ด ยุคนี้อียิปต์ถูกปกครองโดยชาวต่างชาติ ตั้งแต่พวกลิเบีย นูเบีย และพวกเปอร์เซีย ปีที่ 332 ก่อนคริสตกาล อียิปต์ถูกปกครองโดยราชวงศ์ปโตเลมี อดีตขุนศึกของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช จนมาถึงความพ่ายแพ้ของพระนางคลีโอพัตราที่แอคติอุม (Actium) ในราว ก่อน คริสตกาล อียิปต์ก็สิ้นสุดความเป็นอาณาจักรโดยสิ้นเชิง

  • ปลายยุคก่อนราชวงศ์ (3100 ปี ก่อนค..) เป็นยุคที่ยังไม่ได้ตั้งเป็นอาณาจักร

เริ่มแรกย้อนไปเมื่อราว หนึ่งหมื่นปีก่อน ทะเลทรายซาฮารายังเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ เต็มไปด้วยสัตว์ป่าและพืชพรรณนานาชนิด ในท้องทุ่งอุดมไปด้วยสัตว์ป่าอย่างช้างและแอนทีโลป มนุษย์ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่ที่นี่ในช่วงแรกดำรงชีวิตโดยการล่าสัตว์ และทำปศุสัตว์จวบจนกระทั่งเมื่อราวเจ็ดพันปีก่อนการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ ทำให้ซาฮารา ค่อยๆแห้งแล้ง และกลายเป็นทะเลทรายในท้ายที่สุดก็เหลือแต่เพียงพื้นที่ริมสองฝั่งแม่น้ำไนล์เท่านั้นที่ยังคงความสมบูรณ์อยู่ และเนื่องจากทุกปีแม่น้ำไนล์จะพัดเอา ตะกอนหน้าดินมาถมฝั่ง ทำให้พื้นดินแห่งนี้มีความอุดม สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ผู้คนเริ่มอพยพจากพื้นที่รอบนอกเข้ามาจับจองพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำและเริ่มมีการเพาะปลูกขึ้น เผ่าชนเหล่านี้มาอาศัย รวมกันตามริมฝั่งแม่น้ำไนล์และแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เรียกว่าโนมส์

ในแต่ละโนมส์จะปกครองโดยกลุ่มนักบวชซึ่งพัฒนามาจากหมอผีในสมัยหินใหม่ ต่อมาความจำเป็นในการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ทำให้ต้องมีการจัดระบบชลประทานขึ้น หัวหน้ากรรมกรผู้ควบคุมการ ชลประทานเหล่านี้ได้ถูกยกย่องให้เป็นหัวหน้านักรบของโนมส์ เมื่อขนาดของชุมชนใหญ่ขึ้นเรื่อยๆก็มีการพัฒนาเป็นนครรัฐขนาดเล็กกระจัดกระจายตาม ริมฝั่งแม่น้ำดินแดนของแม่น้ำไนล์ถูกแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง

ดินแดนของแม่น้ำไนล์ถูกแบ่งตามสภาพภูมิศาสตร์เป็น อียิปต์บนและอียิปต์ล่าง เนื่องจากแม่น้ำไนล์ไหลจากทางใต้ขึ้นสู่ทางเหนือ ดังนั้นอียิปต์บนจะตั้งอยู่ทางตอนใต้ของแม่น้ำไนล์อันเป็นทิศที่แม่น้ำไหลมาพื้นที่ส่วนนี้มี ทุ่งหญ้าและเขตป่าละเมาะที่เหมาะแก่การล่าสัตว์และทำปศุสัตว์ ส่วนอียิปต์ล่างจะตั้งบริเวณทิศเหนือซึ่งเป็นจุดที่แม่น้ำไหลลงทะเลและมีพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ที่สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูกในช่วงเวลานั้นอียิปต์ล่างมีเมืองการค้าและศูนย์กลางที่สำคัญชื่อว่า บูโท ส่วนทางอียิปต์บนพลเมืองจะอาศัยอยู่หนาแน่นบริเวณเมืองนากาดา และเฮียราคอนโพลิส ในราวสี่พันปีก่อนคริสตกาลชาวอียิปต์เริ่มพัฒนารูปแบบอักษรจากรูปภาพ และกลายเป็นอักษรเฮียโรกลิฟฟิคในเวลาต่อมา

กำเนิดแห่งอาณาจักร ในราว 3200ปีก่อนคริสตกาล ราชาแมงป่อง (Scorpion king) ผู้ครองนครธีส (This) อันตั้งอยู่บริเวณตอนกลางแห่งลุ่มน้ำไนล์ได้กรีฑาทัพ เข้ายึดครองนครรัฐต่างๆในอียิปต์บนและตั้งตนเป็นฟาโรห์แห่งอาณาจักรบน ราชาแมงป่องปรารถนาจะรวมอียิปต์เข้าด้วยกันแต่พระองค์สิ้นพระชนม์เสียก่อน โอรสของพระองค์(ข้อนี้นักประวัติศาสตร์ยังไม่แน่ใจนักแต่จากหลักฐานที่มีแสดงว่าทั้งสองพระองค์น่าจะเกี่ยวดองกัน)นามว่า นาเมอร์(Namer)ได้สานต่อนโยบายและกรีฑาทัพเข้าโจมตีอียิปต์ล่าง จนกระทั่งมาถึงสมัยของ ฟาโรห์เมเนส(Menese)พระองค์สามารถผนวกทั้งสองอาณาจักรเข้าด้วยกันได้สำเร็จและ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นฟาโรห์พระองค์แรกของอียิปต์โดยตั้งเมืองหลวงที่ เมมฟิส (Memphis) ซึ่งอยู่ตอนกลางของลุ่มน้ำไนล์ ฟาโรห์เมเนสเป็นฟาโรห์องค์แรกแห่งราชวงศ์ที่หนึ่งของอียิปต์โบราณ

ยุคอาณาจักรเก่า เริ่มตั้งแต่ 2950 - 2150 ปีก่อน ค.. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่หนึ่งถึงราชวงศ์ที่แปด ยุคนี้เมืองหลวงของอียิปต์คือ นครเมมฟิส (Memphis) โดยมีพระเจ้าเมเนส (Menes) เป็นฟาโรห์พระองค์แรกที่ปกครองอียิปต์ทั้งหมด ชาวอียิปต์โบราณเชื่อว่า องค์ฟาโรห์คือร่างประทับของสุริยเทพ ที่ลงมาปกครองมนุษย์

การเมืองการปกครอง: ในสังคมอียิปต์มีการแบ่งออกเป็นสามชนชั้น คือ ชนชั้นสูงได้แก่ เชื้อพระวงศ์ นักบวช ขุนนาง ชนชั้นกลางได้แก่ พ่อค้า เสมียน ช่างฝีมือ และชนชั้นล่างคือพวกชาวนาและผู้ใช้แรงงาน นอกจากฟาโรห์แล้ว บุคคลที่มีอำนาจมากที่สุดคือหัวหน้านักบวชของสุริยเทพ รา ซึ่งเป็นจอมเทพสูงสุด ในการบริหารงาน ฟาโรห์จะมีคณะเสนาบดีที่นำโดย วิเซียร์ (Vizier) ซึ่งเป็นตำแหน่งขุนนางสำคัญ เป็นผู้ช่วย และส่งข้าหลวง (Nomarch) ไปทำหน้าที่ปกครองหัวเมืองต่างๆ โดยขึ้นตรงต่อองค์กษัตริย์ ในยุคอาณาจักรเก่านี้ อียิปต์ไม่มีกองทหารประจำการ แต่จะเกณฑ์พลเมืองเข้ากองทัพเมื่อเกิดสงคราม

ความเชื่อ: เดิมทีก่อนการรวมแผ่นดิน หัวเมืองต่างๆทั้งในอียิปต์บน และ ล่าง ต่างนับถือเทพต่างๆกันต่อมาเมื่อรวมแผ่นดินแล้วก็ยังคงความเชื่อแบบพหุเทวนิยม อยู่ โดยมี รา (RA) เป็นเทพสูงสุด ชาวอียิปต์เชื่อว่าพระองค์เป็นผู้สร้างโลกและสวรรค์รวมทั้งสิ่งมีชีวิตทั้งปวง นอกจาก รา แล้ว เทพที่ชาวอียิปต์นับถือกันมากได้แก่ โอซิริส เทพแห่งยมโลกผู้มีหน้าที่ตัดสินดวงวิญญาณ , เทพีไอซิสเทพีแห่งความอุดมสมบูรณ์ ,เซ็ท เทพแห่งสงคราม ,ฮาธอร์เทพีแห่งความรัก และฮอรัส เทพผู้เป็นตัวแทนของฟาโรห์ทุกพระองค์ นอกจากนี้ยังมีเทพอื่นๆที่ถือเป็นเทพเจ้าประจำแต่ละเมือง

วิถีชีวิต:ชาวอียิปต์โบราณดำรงชีวิตด้วยการกสิกรรม โดยเฉพาะในเขตที่ราบน้ำท่วมถึงหรือที่เรียกว่าเขตดินสีดำที่ชื่อว่า เคเมต เป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ การเพาะปลูกได้ผลดี พืชผลที่ได้จะถือเป็นสมบัติของฟาโรห์และจะมีการแจกจ่ายแก่ประชาชนอย่างเหมาะสม พืชที่นิยมปลูกกันคือข้าวสาลีและข้าวบาเล่ย์ โดยพวกเขาจะใช้ข้าวสาลีทำขนมปังและทำเบียร์จากข้าวบาเล่ย์ ซึ่งทั้งสองอย่างนี้เป็นอาหารหลัก ของชาวอียิปต์โบราณ และพืชผลเหล่านี้ยังใช้เป็นสินค้าส่งออกไปยังดินแดนอื่นๆอีกด้วยนอกจากการเพาะปลูกแล้วชาวอียิปต์ยังทำการจับปลา ล่านกน้ำและฮิปโปโปเตมัสในแม่น้ำไนล์โดยใช้เรือที่ผูกจากต้นกก ส่วนในเขตดินสีแดงที่เรียกว่า เชเครต ซึ่ง อยู่ในเขตอียิปต์บนพวกเขาจะทำการล่าสัตว์ป่าอย่าง แอนทีโลป และแพะป่า ซึ่งมีอยู่มากมาย บ้านเรือนของชาวอียิปต์สร้างจากอิฐตากแห้งและใช้ไม้ทำส่วนประกอบอย่างกรอบประตูเนื่องจากในอียิปต์ไม้ค่อนข้างหายาก บ้านแต่ละหลังจะมีบันไดขึ้นดาดฟ้าเนื่องจากชาวอียิปต์จะใช้ดาดฟ้าเป็นที่ทำงานต่างๆเช่นการทำขนมปัง หรือแม้แต่เป็นที่พักผ่อนนั่งคุย

อักษรอียิปต์: ชาวอียิปต์ใช้อักษรภาพที่เรียก ว่าเฮียโรกลิฟฟิค (Hieroglyphic) ซึ่งมีทั้งแบบที่เป็นรูปภาพและแบบที่เป็นสัญลักษณ์ประกอบเป็นคำ โดยจะบันทึกลงในแผ่นหินและม้วนกระดาษปาปิรัสซึ่งทำจากต้นกก ตัวอักษรอียิปต์มีประมาณ 1000 ตัว ในสมัยก่อน ผู้ที่สามารถอ่านเขียนอักษรเฮียโรกลิฟฟิคได้คล่องแคล่วจะมีโอกาสได้ทำงานเป็นอาลักษณ์ ซึ่งจะทำให้มีโอกาสที่จะเลื่อนขึ้นเป็นขุนนาง หรือนักบวชสำคัญได้ สำหรับอักษรของอียิปต์นั้น นับแต่อารยธรรมล่มสลายลงไปก็ไม่มีใครสามารถตีความได้ จนกระทั่งได้มีการค้นพบ ศิลาจารึก โรเซทต้า (ROSETTA) ในปี ค.. 1799 ที่มีจารึกอักษรเฮียโรกลิฟฟิคกับอักษรกรีกโบราณเอาไว้ ฟรองซัวส์ ชองโพลียอง ใช้วิธีการค้นคว้าโดยอ่านเทียบกับอักษรกรีกโบราณ และสามารถตีความได้สำเร็จในปี 1822

การทำมัมมี่:ถูกทำขึ้นในสมัยราชวงศ์ที่4และมีเรื่อยมาจนถึงค..641 ชาวอียิปต์เชื่อว่าหลังจากที่มนุษย์ ตายไปแล้วดวงวิญญาณจะกลับมาเกิดใหม่ในร่างเดิมจึงต้องเก็บร่างเอาไว้เพื่อรอรับการเกิดใหม่ในยุค อาณาจักรเก่าเชื่อว่ามีเพียงฟาโรห์เท่านั้นที่จะกลับมาคืน ร่างเดิมแต่ในสมัยต่อมาการทำมัมมี่ได้แพร่หลายสู่ขุนนางและสามัญชนแม้กระทั่งสัตว์ที่เป็นสัญลักณ์ ของเทพเจ้าในการทำมัมมี่ชาวอียิปต์จะนำสมองและอวัยวะภายในออกจากศพและนำศพไปชำระล้างใน แม่น้ำไนล์จากนั้นจะนำไปแช่ในน้ำยานาตรอน(Natron)ซึ่งเป็นสารพวกsodium Carbonate โดยเปลี่ยนน้ำยาทุกสามวันและแช่ประมาณหกสิบวันจนศพแห้งและนำมาพันด้วยผ้าลินิน ส่วนอวัยวะภายในและสมองจะนำไปผสมกับเครื่องหอมและทำให้แห้งด้วยสมุนไพรจากนั้น จึงนำไปดองในน้ำยานาตรอนประมาณหนึ่งสัปดาห์ก่อนจะนำมาเก็บในโถคาโนปิก (Canopic) สี่ใบและนำไปเก็บรวมกับหีบศพในสุสานพร้อมข้าวของเครื่องใช้และสมบัติเพื่อรอการกลับมาของวิญญาณ

พีระมิดยักษ์: เป็นสิ่งก่อสร้างที่มหัศจรรย์ที่สุด เดิมทีฟาโรห์จะสร้างห้องเก็บพระศพขนาดใหญ่เป็น สุสาน ต่อมาในสมัยของฟาโรห์โซเซอร์ แห่งราชวงศ์ที่สาม (2650ปีก่อน ค..) อิมโฮเทปที่ปรึกษาของฟาโรห์ ซึ่งเป็นนักปราชญ์และสถาปนิกที่มีความสามารถ ได้ทำการออกแบบ พีระมิดขั้นบันไดที่เรียกว่า มาสตาบา (Mastaba) ที่เมืองซักคาราขึ้น นอกจากเป็นผู้ออกแบบพีระมิดแล้ว อิมโฮเทปยังมีผลงานประพันธ์ต่างๆมากมายทั้งวรรณคดีและตำราเภสัชศาสตร์ ชาวอียิปต์รุ่นหลังนับถือเขาในฐานะเทพแห่งความรู้ หลังจากยุคของฟาโรห์โซเซอร์ ก็ได้มีการสร้างพีระมิดขั้นบันไดต่อมาและค่อยๆพัฒนากลายเป็นแบบสามเหลี่ยม โดยพีระมิดที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ พีระมิดยักษ์ของฟาโรห์คูฟูที่เมืองกีซา ซึ่งมีความสูงถึง 147 เมตรและได้ชื่อว่า เป็นพีระมิดที่ใหญ่ที่สุดในโลก

การต่างประเทศ:ในยุคอาณาจักรเก่าอียิปต์มีการค้าขายกับเพื่อนบ้านทั้งในเมโสโปเตเมีย (อยู่ในตะวันออกกลาง)และอาณาจักรนูเบียทางภาคใต้(ปัจจุบันคือซูดาน)ในยุคนี้ไม่มีการใช้เงิน การค้าจะทำในแบบของแลกของ โดยสินค้าออกสำคัญของอียิปต์คือพืชผลทางการเกษตร แลกกับสินค้าพวกไม้หอม งาช้าง เครื่องแกะสลัก เป็นต้น แทบไม่มีหลักฐานของการสงครามขนาดใหญ่ในยุคนี้นอกจากหลักฐานการรบกับพวกเรร่อนเบดูอิน ในพรมแดนปาเลสไตน์สมัยฟาโรห์เปปิที่1 แห่งราชวงศ์ที่6 กล่าวได้ว่าสงครามใหญ่เพียงครั้งเดียวของยุคนี้คือสงครามรวมชาติตอนต้นราชวงศ์ที่หนึ่งเท่านั้น

ยุครอยต่อของอาณาจักร (2125 - 1975 ปี ก่อน ค..) ประกอบด้วยราชวงศ์ที่เก้าถึงสิบเอ็ด

นับแต่ก่อตั้งอาณาจักร ดินแดนอียิปต์มีแต่ความสงบสุขและรุ่งเรือง ปราศจากจากสงครามและการคุกคามจากชนต่างชาติ แม่น้ำไนล์พัดพาความอุดมสมบูรณ์มาพร้อมกับดินตะกอนสีดำ ความสงบสุขดำเนินมาจนถึงปีที่2200ก่อนคริสตกาล อันเป็นปีเริ่มต้นของยุคแห่งความวุ่นวายและการนองเลือด สาเหตุของความวุ่นวายในดินแดนไอยคุปต์มีที่มาจากประเพณีของฟาโรห์ใน การพระราชทานรางวัลแก่ขุนนางที่มีความชอบเนื่องจากในยุคนั้นไม่มีการ ใช้เงินตราและสิ่งที่มีค่าที่สุดก็คือ ที่ดิน กล่าวคือฟาโรห์จะพระราชทานที่ดินให้แก่ขุนนางที่ทำความดีความชอบ โดยที่ดินดังกล่าวจะต้องกลับคืนเป็นของราชสำนักอีกครั้ง เมื่อขุนนางสิ้นชีวิตลงแต่ทว่าเมื่อเวลาผ่านไปนานเข้า ขุนนางเริ่มท้าทายอำนาจฟาโรห์ โดยการแอบโอนถ่ายที่ดินให้แก่ลูกหลาน จนในที่สุดก็กลายเป็นธรรมเนียมว่า ขุนนางสามารถโอนถ่ายที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์สู่ลูกหลานได้ และนำไปสู่การสร้างเขตอิทธิพลของแต่ละตระกูลเหล่าขุนนางต่างสะสมที่ดินและกำลังคนมากขึ้น อำนาจของฟาโรห์ถูกกัดกร่อนลงเรื่อยๆและกลุ่มอิทธิพลที่ทรงอำนาจมากที่สุดก็คือเหล่าหัวหน้านักบวชในอาราม สุริยเทพ-รา ปีที่ 2180 ก่อน ค.. อำนาจรัฐของฟาโรห์ที่เมมฟิส สิ้นสุดลง บรรดานครรัฐต่างตั้งตนเป็นอิสระและทำสงครามรบพุ่งกันเอง ดินแดนแม่น้ำไนล์ที่เคยอุดมสมบูรณ์เกิดภัยแล้งติดต่อกันเป็นเวลานาน ฟาโรห์อ่อนแอเกินกว่าที่จะสร้างระบบชลประทานขึ้นมา แก้ปัญหาได้ความอดอยากและภัยสงครามแพร่กระจายทั่วแผ่นดินในที่สุดอิยิปต์ถูกแบ่งเป็นสองเขต คืออิยิปต์ต่ำ ซึ่งอยู่ทางเหนือของเมมฟิสถูกปกครองโดยตระกูลหนึ่งจากเมืองเฮรักลีโอโพลิส(Herakleopolis) ส่วนอีกเขตหนึ่งคืออียิปต์สูงที่อยู่ทางใต้ของเมมฟิสถูกปกครองโดยตระกูลจากเมืองธีบีส(Thebes) และแล้วในปีที่ 1975ก่อนค..เจ้าชายนักรบจากธีบีสได้ทำสงครามผนวกอียิปต์ทั้งหมด และ ขึ้นครองราชย์เป็นฟาโรห์ ทรงพระนามว่า มอนตูโฮเทปที่ 2 (Montuhotep)

ยุคอาณาจักรกลาง เริ่มตั้งแต่ 1975 - 1520 ปีก่อน ค.. ประกอบด้วยราชวงศ์ที่สิบสองถึงสิบเจ็ด

พระเจ้ามอนตูโฮเทป ที่2 ได้สร้างเมืองหลวงใหม่ที่ ธีบีส ซึ่งตั้งอยู่บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำไนล์ นอกจากนี้พระองค์ยังทรงสร้างโบสถ์ใหญ่อันสวยงามที่ เดียร์ เอล-บาฮารี (Deir el-Bahari) โบสถ์นี้ยังเป็นที่ฝังพระศพของพระองค์อีกด้วย ต่อมาในสมัยของมอนตูโฮเทปที่ 4 พระองค์ถูกแย่งชิงราชสมบัติ โดยขุนศึกนาม อาเมเนมฮัท(Amenamhat) ซึ่งได้ตั้งราชวงศ์ที่12 ขึ้น ราชวงศ์ที่12นี้ได้นำความมั่งคั่งและเจริญรุ่งเรืองกลับมา สู่อียิปต์อีกครั้ง มีการทำเหมืองแร่และอู่ต่อเรือ นอกจากนี้มีการสร้างพีระมิดขนาดใหญ่ขึ้น หลายแห่งการเพาะปลูกอุดมสมบูรณ์ ชาวอียิปต์ได้ฟื้นฟูเส้นทางการค้าต่างประเทศขึ้นมาอีกครั้ง หลังจากที่หยุดชะงักไปมีการส่งกองเรือสินค้า ไปค้าขายกับชาวต่างชาติเช่น ครีทและเลบานอน ในยุคนี้ อียิปต์ยังทำศึกกับพวกนูเบียทางใต้(ปัจจุบันคือ ซูดาน)และแผ่อิทธิพลไปทางภาคตะวันตกเพื่อป้องกันเส้นทางการค้า นอกจากนี้เครื่องบรรณาการเช่นทองคำและทาสเชลย ที่ชาวอียิปต์ได้จากการทำสงคราม ก็ทำเศรษฐกิจของอียิปต์เจริญรุ่งเรืองขึ้น อำนาจของฟาโรห์กลับมายิ่งใหญ่และมั่งคั่งอีกครั้งหนึ่ง

นักรบนูเบีย: พวกนูเบียนเป็นกลุ่มชนผิวดำ ดินแดนนูเบียนั้น ตั้งอยู่ดินแดนทางตอนเหนือของแม่น้ำไนล์ (ทางใต้ของอียิปต์) แต่เดิมทีอียิปต์ ทางอียิปต์ได้ส่งคณะเดินทางไปยังนูเบีย เพื่อนำงาช้าง หินสำหรับก่อสร้างและสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ กลับมาอียิปต์ ในสายตาของชาวอียิปต์นั้นถือว่าพวกนูเบียเป็นชนป่าเถื่อนที่มีอารยธรรมด้อยกว่าตน ในช่วงยุคมืด พวกนูเบียคุกคามพรมแดนด้านใต้ของอียิปต์

ต่อมาในยุคอาณาจักรกลางและได้เกณเชลยศึกชาวนูเบียเข้ามาเป็นทหารในกองทัพ นอกจากนี้ยังมีนักรบนูเบียบางที่มีความสามารถ ได้รับตำแหน่งนายพลของกองทัพอียิปต์ด้วย ชาวนูเบียนรับอารยธรรมต่างๆของอียิปต์มาใช้ รวมทั้งความเชื่อทางศาสนาและการสร้างพีระมิดด้วย

 

การรุกรานของชนต่างชาติ {The invasion from Asia} 1630 - 1520 ก่อน ค.. ในช่วงเวลานี้ได้เกิดเหตุการณ์ใหญ่เกิดขึ้น นั่นคือการรุกรานของพวก ฮิกโซส (Hyksos) ซึ่งในภาษาอียิปต์แปลว่า " กษัตริย์ต่างชาติ " ชนเผ่านี้อพยพมาจากทุ่งหญ้าในเอเชียและทำสงครามโค่นล้มราชวงศ์อียิปต์ พวกฮิกโซสมีชัยชนะเหนืออียิปต์ได้ด้วย รถศึกและม้า ซึ่งชาวอียิปต์ไม่เคยรู้จักมาก่อน รถศึกเป็นการผสมผสานระหว่างความเร็วกับอานุภาพการยิง โดยมือธนูจะอยู่บนรถศึกและยิงทำลายแนวรบของศัตรู ทหารอียิปต์ที่มีเพียงพลเดินเท้าเป็นหลักไม่อาจต้านทานอานุภาพของ รถศึกได้ ในที่สุดพวกฮิกโซสจึงสามารถก่อตั้งราชวงศ์ปกคริงอียิปต์ได้สำเร็จ โดยตั้งเมืองหลวงชื่อ อวารีส(Avaris) ขึ้นที่บริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ และครอบครองดินแดนส่วนเหนือของประเทศ พวกฮิกโซสนำอียิปต์สู่โลกภายนอกและนำวิทยาการใหม่ๆมาสู่อียิปต์ พวกฮิกโซสได้ปรับวัฒนธรรมและศาสนาของชาวอียิปต์เข้าด้วยกัน แม้จะใช้วัฒนธรรมอียิปต์ แต่ในสายตาชาวอียิปต์ พวกฮิกโซสก็ยังเป็นผู้รุกรานที่น่ารังเกียจ ในเวลาที่พวกฮิกโซสตั้งราชวงศ์นั้น พวกอียิปต์ก็ได้ตั้งราชวงศ์ที่17 อยู่ที่ธีบีส โดยยอมอ่อนข้อให้พวกฮิกโซสในตอนแรกแต่หลังจากนั้น
ธีบีสก็ลุกขึ้นทำสงครามกับฮิกโซสในการสงครามฟาโรห์สอง พระองค์ของธีบีสคือฟาโรห์เซเกนองแร(Sequenenre) และฟาโรห์กาโมส(Kamose) สิ้นพระชนม์ในสนามรบและในที่สุดฟาโรห์อาห์โมซิส(Amosis) ก็สามารถขับไล่พวกฮิกโซสออกไปได้สำเร็จ และก่อตั้งราชวงศ์ที่18ขึ้น

ยุคอาณาจักรใหม่ (New kingdom) 1539 - 1075 ปีก่อน ค..

นักประวัติศาสตร์ต่างยอมรับกันว่ายุคนี้เป็นยุคที่อียิปต์รุ่งเรืองที่สุด โดยหลังจากพวกฮิกโซสถูกขับไล่ไปแล้ว อำนาจของฟาโรห์ เหนือนครต่างๆในลุ่มน้ำไนล์กลับคืนมาอย่างสมบูรณ์ ในยุคของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ 1 (Thutmosis) แห่งราชวงศ์ที่ 18 ในยุคนี้เมืองหลวงของอียิปต์คือนครธีบส์(Thebes) และฝั่งตรงข้ามของเมืองหลวงคือ หุบเขาแห่งกษัตริย์อันเป็นสถานที่ฝังพระศพฟาโรห์ ในยุคอาณาจักร ใหม่นี้ ทั้งนี้ชาวอียิปต์ได้ยกเลิกประเพณีการสร้างพีระมิดไปตั้งแต่ตอนปลาย ของอาณาจักรเก่าเนื่องจากสิ้น เปลืองวัตถุดิบและหันมาใช้วิธีเจาะหน้าผาเป็นสุสานแทน นอกจากธีบส์แล้วทุตโมซิสที่1 ยังได้สร้างนครอบีดอส (Abidos)ให้เป็นเมืองสำคัญในสมัยของฟาโรห์ทุตโมซิสที่ 1 นี้เมืองหลวงคือ กรุงธีบส์เจริญรุ่งเรืองมากมีการสร้างวิหารขนาดใหญ่เพื่อบูชาแด่เทพเจ้า ซึ่งก็รวมทั้งมหาวิหารคาร์นัค นอกจากนี้ อียิปต์ยังได้เริ่มการแผ่อำนาจเข้าไปในดินแดนเอเชียตะวันออกใกล้และนูเบีย อีกด้วย

การเสื่อมและการล่มสลายของอียิปต์ (ปีที่1075 - 332 ก่อน ค..)

หลังการสวรรคตของรามเสสที่2 และโอรสของพระองค์มเนปตาห์ ขึ้นครองราชย์ จักรวรรดิอียิปต์เริ่มส่อเค้าวุ่นวาย บรรดาเมืองขึ้นต่างๆ เช่นนูเบียและลิเบียได้ก่อกบฎขึ้นแต่โชคดีที่ทางอียิปต์สามารถปราบปรามลงได้ ในช่วงเวลาเดียวกันนี้เองทางฝ่ายฮิตไตท์ประสบภาวะ แห้งแล้งขาดแคลนอาหารทำให้ทางอียิปต์ต้องส่งอาหารไปช่วยตามข้อตกลงที่มีในสมัยรามเสสที่2 หลังการสิ้นพระชนม์ของฟาโรห์มเนปตาห์อียิปต์ต้องพบกับปํญหาการเมืองภายในฟาโรห์แต่ละองค์ครองราชย์เพียงช่วงสั้นๆ จนมาถึงปีที่1186ก่อนค..ฟาโรห์รามเสสที่3ขึ้นครองราชย์พระองค์ทรงได้รับการยอมรับจากทุกกลุ่ม ทำให้ปัญหาการเมืองภายในหมดไป แต่ในช่วงที่อียิปต์เริ่มจะฟื้นตัวนั้นเหตุการณ์สำคัญก็ได้เกิดขึ้น

การมาถึงของชนทะเล (Sea people)

หลังการครองราชย์ของรามเสสที่3 ทางด้านเมดิเตอเรเนียนได้เกิดความวุ่นวาย เนื่องจากภาวะแห้งแล้ง ที่เกิดขึ้นทำให้เกิดการรุกรานและการอพยพจำนวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้นทำให้ประชาชนจากเมดิเตอเรเนียนต้องอพยพออกจากถิ่นฐานเดิม กลุ่มชนเหล่านี้ถูกเรียกว่าชาวทะเล(sea people) นักรบชาวทะเลเหล่านี้ประกอบด้วยคนเชื้อชาติต่างๆ เช่นไมซีเน่ อีเจียน ฟิลิสทีนแม้กระทั่งชาวซีเรียโดยพวกเขาได้เข้ารุกรานและทำลายบ้านเมืองต่างๆเรื่อยมา

 

สิ่งที่พวกนี้ต้องการ คือดินแดนใหม่ที่ อุดมสมบูรณ์ซึ่งพวกเขาจะตั้งถิ่นฐานได้ นอกจากนี้ชาวทะเลเหล่านี้ยังได้เข้าโจมตีและทำลายนครฮัตตูซัสเมืองหลวงของจักรวรรดิฮิตไตท์จน ราบคาบจากนั้นชาวทะเลจึงมุ่งหน้ามายังอียิปต์ดินแดนอู่ข้าวอู่น้ำของโลกโบราณ และในปีที่1179 ก่อน ค.. สงครามระหว่างชาวทะเลกับอียิปต์ก็เกิดขึ้น

ฟาโรห์รามเสสที่3 สามารถพิชิตกองทัพชาวทะเลได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ทำให้สามารถปกป้องจักรวรรดิได้สำเร็จชื่อเสียงของพระองค์เลื่องระบือ หลังสงครามพระองค์ยังปราบปรามพวกลิเบียที่ก่อกบฎลงได้ ทำให้จักรวรรดิเริ่มฟื้นตัวอีกครั้งแต่ทว่าสงครามที่ยาวนานทำให้อียิปต์สูญเสียกำลัง คนไปมากการค้าก็หดหายไปทำให้อียิปต์ขาดรายได้และท่ามกลาง ปัญหานี้เองรามเสสที่3 ก็สวรรคตลง

บทสุดท้าย แห่งอาณาจักร

วาระแห่งความเสื่อมสูญ:หลังการสวรรคตของรามเสสที่3 อียิปต์กลับสู่ความวุ่นวายอีกครั้ง ทั้งจากปัญหาการเมืองและความอดอยาก ในที่สุดอียิปต์ก็แตกแยกกลายเป็นก๊กเป็นเหล่า บรรดาเมืองต่างๆตั้งตนเป็นอิสระ ชาวลิเบียซึ่งเป็นนักโทษสงครามของรามเสส ถือโอกาสตั้งตนเป็นอิสระผู้นำของพวกเขานามว่าโชชอง(Chochong) ได้เป็นฟาโรห์และรวบรวมแผ่นดินได้สำเร็จ แต่ก็เป็นเพียงช่วงสั้นๆและบ้านเมืองก็เข้าสู่สภาพแตกแยกอีกครั้ง

จนกระทั่งในปีที่663 ก่อน ค.. กษัตริย์อัสซูบานิปาลแห่ง อัสสิเรีย ได้ยกกองทัพเข้ารุกรานอียิปต์ เมืองต่างๆถูกทำลาย ทรัพย์สมบัติถูกปล้นชิง และอียิปต์ก็ไม่อาจฟื้นตัวได้อีกต่อมาในปีที่525 ก่อนค.. อียิปต์ก็ถูกปกครองโดยชาวเปอร์เซียและเมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซีโดเนีย ซึ่งเป็นชนเชื้อชาติกรีกพิชิตเปอร์เซียลง อียิปต์ก็ตกเป็นของมาซีโดเนียในปีที่335 ก่อน ค.. หลังการสวรรคตของอเล็กซานเดอร์จักรวรรดิมาซิโดเนียของพระองค์ล่มสลายลง เหล่าขุนศึกมาซีโดเนียต่างตั้งตนเป็นใหญ่ในดินแดนต่างๆที่พระองค์พิชิตมา นายพลปโตเลมีขุนศึกของพระองค์ก็ตั้งตนเป็นฟาโรห์และ ตั้งราชวงศ์ปโตเลมีซึ่งถือเป็นราชวงศ์สุดท้าย ขึ้นปกครองอียิปต์โดยมีเมืองหลวงที่อเล็กซานเดรีย

จนกระทั่งมาถึงปีที่ 36 ก่อน ค.. พระนางคลีโอพัตราแห่งราชวงศ์ปโตเลมีพ่ายแพ้กองทัพโรมันที่แอคติอุม(Actium) และได้ปลิดชีวิตตนเองลงจากนั้นจักรวรรดิโรมันจึงผนวกอียิปต์เข้าเป็นส่วน หนึ่งของโรมและ นั่นคือการล่มสลายลงโดยสิ้นเชิงจากนั้นมา อียิปต์กลายเป็นเพียงมณฑลหนึ่งของโรมและกลายเป็นของจักรวรรดิไบเซนไทน์ในเวลาต่อมา และได้ถูกพวกมุสลิมเข้ายึดครองในภายหลัง

 

 

อารยธรรมกรีกโบราณ

ในเขตทะเลเอเจียนมีอารยธรรมมาแล้วเมื่อ 3000 ปีก่อนค.. แต่มียุคที่มีอารยธรรม รุ่งเรืองที่สุด เห็นจะเป็นตั้งแต่เมื่อ 2000 ปีก่อนค.. เป็นต้นมา ขณะที่พวก อินโด-ยุโรเปี้ยนเข้าไปในเยอรมัน โกล (Gaule, ฝรั่งเศส) อังกฤษ ยุโรปกลาง อิตาลี มีเหตุการณ์เช่นเดียวกัน คือ มีผู้คนอพยพมาจากบอลข่านมาอยู่แถวเฮลลาดโดย ผ่านมาทางอิลลีรี และเอปีร์ นับเป็นการปรากฏตัวครั้งแรกของพวกเฮลเลนในทะเล เมดิเตอร์เรเนียน พวกนี้เป็นนักรบ รูปร่างสูงใหญ่ ผมสีทอง ร่างกายแข็งแรงมี กล้ามเนื้อเป็นมัด เราเรียกพวกนี้ว่า เอเชียน มาขับไล่ชนพื้นเมืองเดิมคือ พวก เปลาจออกไปและยังเข้าไปในกรีกภาคกลางและเปโลโปนิซุส (Peloponesus) พวกเอเชียนมิ ใช่คนป่า เขาได้นำภาษาใหม่มาใช้คือภาษากรีกโบราณและเกาะไซปรัส ได้ใช้ภาษานี้ต่อ มาอีกนาน เขานำการสร้างห้องโถงใหญ่ การสร้างหลังคาแบบลาดลงมาสองด้านเหมือน หลังคาบ้านไทย ซึ่งแตกต่างจากหลังคาแบบอารยธรรมเมดิเตอร์เรเนียนเดิมที่เป็นเท อเรซ พวกเอเชียน รักษาลักษณะเดิมของพวกเขา คือการใช้อาวุธอย่างดี การมีเทคนิคใน การขี่ม้าและใช้รถม้าในการรบ อารยธรรมครีตเข้ามาในดินแดนเฮลลาด โดยพวกเอเชียน อารยธรรมครีตนั้นเราเรียกว่า อารยธรรมมิโนเอน (minoaenenne) หรือมิโนส (minos)

1. อารยธรรมมิโนส (Minos)

2. อารยธรรมไมเซเนียน (Micaenean)

3. อารยธรรมโฮเมอร์ (Homer)

อารยธรรมมิโนส (Minos: 1700-1400 ก่อนค..)

มิโนส เป็นกษัตริย์ของเกาะครีต เป็นลูกของพระเจ้าเซอุส (Zeus) และพระนางยุโรป (Europe) มีสัญลักษณ์ประจำพระองค์เป็นรูปวัว ตามตำนานเล่าว่าพระองค์เป็น กษัตริย์ที่รักศิลปะ ในรัชสมัยของพระองค์มีศิลปินหลายคนที่สำคัญ คือ เดดาล (Dedale) ผู้แต่งเรื่อง "ทางปริศนา" (Labyrinthe) และเรื่อง "วัวสัมริด" อักษรที่ใช้จากที่พบในแผ่นดินเหนียว พบว่าเป็นตัวอักษรแบบที่ เรียก ว่า lineaire A ประกอบด้วยอักษรประมาณ 90 ตัว ไม่ทราบที่มาเช่นเดียวกับตราดิน เหนียวทรงกลมมีรูปและอักษรสลักอยู่

อารยธรรมมิโนส รุ่งเรืองที่สุดที่เมืองคนอสโซส (Knossos) ผู้ครองเมืองดำรงฐานะ เป็นพระ-กษัตริย์ มีการสร้าง พระราชวังแบบใหม่ ขนาดใหญ่และซับซ้อนคล้ายทาง ปริศนา ที่คนอสโซส ไฟโตส และอักเฮียเทรียดามีระบบบริหารทางการเมืองและเศรษฐกิจ เป็นแบบรวมอำนาจอยู่ที่ส่วนกลางดังเช่นในอียิปต์ ฐานะของสตรีสำคัญมากในสังคม ประมาณ 1600 ปีก่อนค.. เกิดแผ่นดินไหว ทำลายพระราชวังที่คนอสโซสลงถึง 2 ครั้ง เเละเมื่อ 1500 ปีก่อนค.. พวกเอเชียนมาจากฝั่งทวีปเข้ามาตั้งรกรากบนเกาะครีต ( เกิดราชวงศ์เอเจียน) นำตัวอักษร lineaire B มาใช้ด้วย (อักษรกรีกปัจจุบัน)

การจัดระเบียบทางสังคม เป็นแบบกลุ่ม พรรคพวก พี่น้อง หรือ genos มีหัวหน้าครอบ ครัวเป็นผู้นำอาศัยอยู่เป็นหมู่บ้านหรืออยู่ในบ้านใหญ่รวมกัน เมื่อสมาชิก ใน genos เสียชีวิตก็จะฝังในที่ฝังศพแบบครึ่งวงกลมร่วมกันพร้อมกับอาวุธ แจกัน เครื่องประดับ แม้ว่าภายหลังจะแยกหลุมศพเป็นของแต่ละคนแบบในปัจจุบัน แต่ก็ยังมี โอ่งใหญ่ใช้เป็นที่เก็บศพเด็กๆ ฝังรวมกันอยู่ หลังสุดจึงเกิดสุสานขึ้นที่เมืองซาเฟอร์-ปาปูรา (Zafer-papoura)ทางด้านการเมือง ราว 2000 ปีก่อนค.. เป็นแบบ"สังคมวัง" กล่าวคือ รอบพระราชวัง เป็นเมืองเล็กบ้างใหญ่บ้างของเจ้าของที่ดินหรือพ่อค้าที่ร่ำรวย มีลักษณะการ สร้างที่แปลกกว่าที่อื่น บ้านเหล่านี้สร้างติดกับรั้วพระราชวังเลย

บางเมืองไม่มีพระราชวังอยู่ในบริเวณ เช่นตามเมืองเล็กๆ ที่ประกอบการอุตสาหกรรม เช่นเมืองกูร์เนีย ที่อยู่อาศัยของคนจะเป็นลักษณะแคบ ปลูกติดๆ กันตามริมฝั่งถนนที่ปูด้วย แผ่นหิน หรือริมถนนแคบๆ ที่มีบันไดเป็นระยะไป ลักษณะพิเศษอีกอย่างของอารยธรรม ครีต คือ ทั้งพระราชวังและเมืองจะปราศจากกำแพงเมือง ซึ่งเป็นลักษณะตรงข้ามกับ เมือง สมัยอารยธรรมไมเซเนียนและเมืองทางเอเชีย อาจเป็นว่าคนในแถบนี้มุ่งมั่นทำ แต่การค้าระหว่างกัน ไม่ปรากฏว่ามีการรบพุ่งกัน และครีตเองก็มีอำนาจทางทะเลมาก ความร่ำรวยของครีตบ่งถึงอารยธรรมมิโนเอียน คือ รสนิยมในเรื่องความสุขสบายและ ความสวยงาม ความหรูหรา การชอบงานรื่นเริง และการมีชีวิตอยู่ที่ดี เมื่อราชวงศ์

เอเชียนเริ่มขึ้นที่ครีต จึงมีการรวมอำนาจมาไว้ที่ส่วนกลาง รวมทั้งด้านการเงิน และผลิตผลต้องมารวมอยู่ในพระราชวัง ที่คนอสโซสจะมีกลุ่มคนที่ช่วยพระราชาบริหาร ประเทศ มีพวก สคริป (Scribes) ทำหน้าที่ทางด้านการจดบันทึก และทำบัญชี ผลิตผล ของพระราชวัง โดยจดลงบนแผ่นดินเหนียว ภายในพระราชฐานจะมีอาคารสำหรับเก็บผลิตผล สร้างเป็นอาคารใหญ่มีทางเดินอยู่กลางยาว 60 เมตร สองข้างเป็นช่องหินสำหรับใส่ โลหะมีค่า ของมีค่า บางแห่งวางโถใหญ่ (Pithoi) บรรจุเมล็ดพืช เช่น ถั่ว ผลไม้ ตากแห้ง น้ามันมะกอกและเหล้าองุ่น ของพวกนี้ใช้สำหรับเลี้ยงดูข้าราชสำนัก และ ใช้จ่ายแทนเงินในพิธีทางศาสนา จ่ายเป็นเงินเดือนข้าราชการ คนงานและช่างฝีมือ ของจากวังที่ทำด้วยเซรามิค กระเบื้อง เครื่องเงินทอง หินมีค่า ผลิตภัณฑ์ของช่าง เหล่านี้จะถูกประทับตราพระราชวงศ์ และส่งออกขายยังประเทศเพื่อนบ้าน กองทัพครีต มีพระราชาเป็นผู้นำทัพ และใช้ทหารจ้างผิวดำมาเป็นทหาร สังเกตได้ว่ามีการบริหาร บ้านเมืองแบบอียิปต์

ทางด้านศาสนา เกี่ยวกับพระราชวงศ์อีก ลักษณะพิเศษของครีตอีกอย่างก็คือ บนเกาะ ครีตไม่มีวัด เวลามีพิธีทางศาสนาจะทำ กันตามถ้ำในภูเขาสูงหรือในห้องพิธีทาง ศาสนาของราชวัง ที่เป็นห้องขนาดย่อม พระราชาผู้เป็นทั้งพระและกษัตริย์ก็จะเสด็จ มาทำพิธี ดังที่กล่าวมาข้างต้นว่าชาวทะเลเอเจียนนับถือรูปปั้นผู้หญิงมาแต่ดั้ง เดิม ครีตก็เช่นกัน แต่สมัยนั้นเป็นรูปปั้นผู้หญิงคนเดียว เรียกกันว่า เจ้าแม่ เช่นเดียวกันประเทศในเอเชียตะวันออก

สมัยโบราณ ส่วนมากรูปปั้นเจ้าแม่จะอยู่ใน ลักษณะเปลือย คาดว่าคงเป็นธรรมเนียมทางศาสนา เพราะคนธรรมดาแต่งตัวอย่างสง่างาม ด้วยเสื้อที่ปกปิดมิดชิด การที่คนนับถือเจ้าแม่ทำให้สังคมยกย่องสตรี ครีต เสรีภาพสตรีในการที่จะไปไหนมาไหนได้ตามต้องการ มีบทบาทสำคัญ ในพิธีทางศาสนา ต่อ มาผู้ชายสร้างพระเจ้าขึ้นมา แต่ก็ยังเป็นรองเจ้าแม่ เพราะจะออกมาในฐานะเป็นลูก ชายของเจ้าแม่และมีวัวกระทิงเป็นสัญลักษณ์

ทางด้านศิลปะและอารยธรรม มีการสร้างพระราชวังให้ใหญ่โตขึ้น และตกแต่งสวยงาม ขึ้น พร้อมกับมีระบบส่งน้ำที่สมบูรณ์แบบเพื่อรับน้ำฝน และมีที่กรองน้ำเสีย อีก ทั้งยังมีห้องน้ำห้องส้วมและท่อน้ำเสีย ซึ่งแม้แต่ที่พระราชวังแวร์ซายยังไม่มี จิตรกรรมฝาผนังเป็นที่นิยมกันมาก ภาพที่วาดเป็นภาพสัตว์บกและสัตว์น้ำ ส่วนห้อง

ต่างๆ ในพระราชวังที่คนอสโซส เป็น ภาพชีวิตในวัง สมัย 1600 ปีก่อนค.. งานศิลปะ มีลักษณะเป็นงานเป็นการขึ้น เช่นมีรูปขบวนนักบวช สตรี นักดนตรี และคนถือของถวาย พระ สมัยนี้มีการปั้นแบบนูนต่ำระบายสี ส่วนมากมักเป็นรูปหัววัวกระทิงและเจ้าชาย กับดอกไม้ ภายหลังประมาณ 1500 ปี ก่อนค.. ภาพจิตกรรมฝาผนังมีลวดลายค่อนข้าง แข็ง ในเรื่องของเซรามิค มีแจกันที่นิยมทำแบบมีสามหูอยู่ใกล้คอแจกัน สีที่ใช้ คือสีน้ำตาลหรือดำบนพื้นอ่อน ภาพที่วาดบนแจกันเป็นภาพจากธรรมชาติและภาพเกี่ยว กับทะเล เช่น หอย ประการัง ฯลฯ ความงดงามและละเอียดอ่อนทางด้านศิลปะที่ชาวครีต สมัยจักรวรรดิมิโนสผลิตขึ้นมา รวมทั้งการใช้วัตถุที่มีค่าในการทำเครื่องประดับ สะท้อนให้เห็นถึงชีวิตความเป็นอยู่ และจินตนาการของพลเมืองครีต ทางด้านวรรณคดี ไม่ปรากฏว่ามีเอกสาร ที่พบมีแต่การจดบันทึกในราชการ ดูลักษณะการเขียนแล้วพบว่า ชาวครีตเจริญกว่าชาวเกาะเพื่อนบ้าน

ต้นกำเนิดของอารยธรรมครีตมาจากไหน อารยธรรมครีตมากับชาวเอเซียที่เข้ามาอยู่บน เกาะครีตเมื่อ 3000 ปีก่อนค.. มาแล้ว โดยพวกนี้ นำการใช้ทองแดงมาเป็นอย่างแรก ต่อจากนั้นเป็น เทคนิคการทำแจกันด้วยหินและการทากระเบื้องลวดลายต่างๆ เช่น แมว ลิง ต้นหญ้า ปาปิรุส การใช้สีแดงสำหรับผู้ชาย สีขาวสำหรับผู้หญิง ศิลปะในการ หล่อโลหะ การทหารและการปกครองมาจากอียิปต์ แต่อิทธิพลจากเอเซียตะวันออกมี มากกว่าและ สำคัญกว่าโดยเฉพาะด้านศาสนา เช่นการนับถือเจ้าแม่ สัญลักษณ์ที่เป็น รูปนก ขวานสองคม แก้ว รูปสัตว์พิธีบวงสรวงวัวกระทิง การละเล่นต่างๆ การกีฬา ต่อสู้กับสัตว์ และรูปเจ้าแม่ที่มีสัตว์ป่าขนาบทั้งสองข้าง

สถาปัตยกรรมครีตได้รับอิทธิพลมาจากพระราชวังของพระเจ้าซาร์กอน (บาบิโลเนีย) และ ของพวกฮิตไทแห่งเมโสโปเตเมีย เครื่อง ประดับมีค่าระบุอิทธิพลมาจากเอเซียโดย เฉพาะเทคนิคการล้อมจี้ห้อยคอด้วยผึ้ง 2 ตัวของมาลเลีย (Mallia) ลายผ้าเป็นแนว และการปีกผ้าเป็นของตะวันออก ภาพการแต่งตัว ของสตรีด้วยอาภรณ์อันสวยงาม ปรากฏ ว่าเป็นการแต่งตัวของคนเมืองกิช (Kish) ในเมโสโปเตเมีย การสลักหินอ่อน การบูชา ดวงอาทิตย์มาจากเอเซียตะวันออก ฯลฯ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าหลายสิ่งหลายอย่างจะถูก นำมาจากที่ต่างๆ แต่เมื่อมาผสมผสานกันแล้วก็กลายเป็นมีลักษณะเฉพาะของครีต โดย เฉพาะทางด้านศิลปะและศาสนา

2. อารยธรรมไมเซเนียน (Micaenean : 1400-1200 ปีก่อนค..)

เมื่อตอนที่พวกเอเชียนเข้ามาอยู่ในกรีกราว 2000 ปีก่อนค.. นั้น พวกเขาไม่รู้ เรื่องเกี่ยวกับทะเลเลย แต่ได้เรียนรู้ในภายหลังเมื่อ สมัยเข้าไปตั้งราชวงศ์ อยู่ที่ครีตแล้ว และก็ได้มีเส้นทางเดินเรือเปิดความสัมพันธ์ระหว่างอียิปต์กับไม

ซีเนีย (Mycenae) บนเกาะเปโลโปนิซุส (Peloponnesus) เมื่อคนอสโซสถูกทำลายลง ราว 1400 ปีก่อนค.. ทิ้งไว้แต่ร่องรอยของอารยธรรมมิโนส งานศิลปะ เสื่อมลงทีละ น้อย ชาวครีตอพยพไปอยู่เกาะไซปรัสและทางเอเชียตะวันออก บางพวกไปอยู่อียิปต์ เมื่อพวกเอเชียนเข้ามาแทนที่ทำให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากบนเกาะครีต เพราะ เอเชียนซึ่งมีเชื้อสายนักรบ มักชอบอะไรที่แข็งแรงเพื่อให้เป็นเครื่องหมายของ ความเป็นใหญ่ จึงสร้างป้อมปราการใหม่ให้ดูใหญ่โตน่าเกรงขาม ผนังห้องมีภาพ จิตรกรรมฝาผนังภาพ ผู้หญิงแต่งตัวด้วยเครื่องประดับมากมาย ภาพการล่าสัตว์และ ภาพการออกรบ เหล่านี้เข้ามาแทนที่ภาพทิวทัศน์ที่เน้นดอกไม้ ความอ่อนโยนในศิลปะ

แบบครีตหายไป ความแข็งของลายเข้ามาแทนที่ลวดลายบนแจกัน จะนิยมลายเรขาคณิต เกิด ลายสัตว์ 4 เท้า นก รูปนักรบไว้เครา แต่เส้นลายก็ยังแข็งเป็นลักษณะเฉพาะของสมัย นี้ (1200-1100 ก่อนค..) ส่วนศิลปะในการสลักหินอ่อน การทำเครื่องเงินเครื่องทอง กลับทำอย่างประณีตบรรจง ยังคงเป็นงานที่ใช้เน้นเงินเน้นทองลงบนเหล็กตามวิธี

ของครีตที่มีมา อย่างไรก็ตาม โดยทั่วไปแล้วศิลปะไมเซเนียนก็เป็นศิลปะที่แพร่ หลายอยู่ทั่วไป ค่อนข้างเป็นอุตสาหกรรมด้วยซ้ำ โรงผลิตงานศิลปะมีอยู่หลายแห่งใน เมืองต่างๆ และรอบพระราชวัง เส้นทางคมนาคมมีทั่วกรีก การติดต่อทางทะเลมีมาก ขึ้น มีการผลิตและ ส่งแบบจำนวนมาก เพราะมีลูกค้าต้องการมาก คุณภาพทางศิลปะจึงลด ลง อีกอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นลักษณะของนักรบ และการปกครองแบบเพศชายเป็นผู้นำ ของอารยธรรมพวกเอเชียน คือ ผู้หญิงจะไม่ออกจากฮาเร็มเลย เทพเจ้าเป็นเพศชายและ มักเป็นนักเดินเรือ เจ้าแม่ลดความสำคัญลงไป เรื่องเล่าเกี่ยวกับวีรบุรุษที่ชนะ สงครามตามที่ต่างๆ ขณะเดียวกับที่ด้านการศาสนาดั้งเดิมของเกาะครีตยังคงทิ้งร่อง

รอยไว้ให้เห็นกันในสมัยต่อมา ไม่ว่าจะเป็นพิธีทางศาสนาที่เกี่ยวกับสตรี และ เรื่องเร้นลับของชาวครีต แต่สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงการใช้ชีวิตอย่างรื่นรมย์ของ ชาวครีต สมัยอารยธรรมมิโนส ได้อันตรธานไปและการเขียนหนังสือก็ได้หายไปอย่างสิ้น เชิง หลังจากที่ชนะได้ครองกรีกและเกาะใกล้เคียงแล้ว พวกเอเชียนที่อยู่ในถิ่น กันดารของเฮลลาด ก็เริ่มออกแสวงหาถิ่นทำกินที่ดีกว่าตามริมฝั่งทะเลเมดิเตอร์ เรเนียน พวกนี้ไม่ได้ทำการค้าขายอย่างเดียวเหมือนพวกครีต พวกเขาพยายามตั้งหลัก แหล่งทำการค้าและมีอำนาจทางการเมืองด้วย โดยเฉพาะมีอำนาจเหนือเกาะต่างๆ และมี อำนาจในเอเชีย พวกเอเชียนเริ่มด้วยการครองเกาะโรด เข้าไปสร้างเมือง ต่อไปเป็น เกาะไซปรัส ซึ่งเคยถูกพวกครีตครองอยู่บางส่วนแล้ว ที่นี่พวกเอเชียนนำภาษาของตน เข้ามาผสมกับภาษาอียิปต์และภาษาในซีเรีย มีการแลกเปลี่ยนทางการค้า มีผู้พบแจกัน ไมเซเนียนถึงนูเบียและคานาน ตลอดชายฝั่งซีเรียซึ่งเมื่อก่อนก็ได้รับอารยธรรม

ครีตอยู่แล้ว ตั้งแต่นั้นมา ศูนย์กลางการค้าขายเกิดขึ้นเต็มไปหมด เมืองอูการ์ ทกลายเป็นอาณานิคมไมเซเนียน แต่ที่พวกเอเชียนชอบมาก คือ ที่ริมฝั่งทะเลของอนาโต เลีย (ตุรกี) พวกเขามาตั้งหลักแหล่งอยู่ที่นี่ ทำตัวเป็นโจรสลัดในทะเลเอเจียน แต่เป็นมิตรดีกับพลเมืองในผืนแผ่นดิน โดยเฉพาะกับพวกฮิตไท เราจึงพบร่องรอยทาง วัตถุ เช่น ตราประทับสฟิงซ์ ที่ฮักเฮียเทรียดา (Haghia Triada) แผ่นจารึกที่พบ บอกเราว่า รัฐของพวกเอเชียนนั้นยิ่งใหญ่เท่ากับอียิปต์ และยังกล่าวว่ากษัตริย์ ของพวกเขาชื่อ Attarassias มีอำนาจทางทะเลมาก มีเรืออยู่ในครอบครองถึงหนึ่งร้อย

ลำ เป็นที่น่าแปลกที่พวกไมเซเนียนไม่สนใจที่จะไปแถบทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวัน ตก ดังเช่นชาวครีตเคยทำมา แต่กลับมีร่องรอยทางวัตถุของไมเซเนียนอยู่ตามเกาะ ตะวันตก คือ ตราประทับแบบเอเจียนที่เกาะซาร์ดิเนีย ที่หมู่เกาะบาเลอาร์มีพิธี ทางศาสนาที่เกี่ยวกับวัวกระทิง มีขวานสองคมและเขาสัตว์ที่ใช้บูชาสิ่งเหล่านี้ อาจผ่านตัวกลาง เช่น พ่อค้าต่างๆ อย่างไรก็ตามก็แสดงถึงอิทธิพลเอเชียนในถิ่น นี้ และบอกให้เราทราบว่าพวกกรีก สมัย 1000 ปีก่อนค.. ลืมเส้นทางเดินเรือและการ ค้าแถบนี้จนกระทั่งถึงประมาณ 630 ปีก่อนค..

3. อารยธรรมโฮเมอร์ (Homer: ประมาณ 900 ปีก่อนค..)

พวกดอเรียนเข้ามารุกรานจนถึงดินแดนกรีกโบราณประมาณ 800 ปีก่อนค.. เป็นสมัยที่ เราไม่ค่อยมีหลักฐาน เกี่ยวกับกรีกเป็นเวลานานถึง 4 ศตวรรษ นอกจากบทประพันธ์ของ โฮเมอร์ (Homer) ซึ่งมี 2 เล่ม คือเอเลียดและโอดิสซี พูดถึง เรื่องราวและบุคคล ต่างๆในสมัยไมเซเนียนปะปนไปกับเรื่องราวของสงครามเมืองทรอย และอารยธรรมของ ไอโอเนียน และเอโอลิค สมัย 900 ปีก่อนค.. ซึ่งนับเป็นหลักฐานทางประวัติศาตร์ ที่สำคัญแต่ต้องใช้อย่างระมัดระวัง โดยทั่วๆไป เรายอมรับว่าอารยธรรมนี้ อยู่ ประมาณ 900 ปีก่อนค.. ภาษาที่เขียนในบทประพันธ์โฮเมอร์คล้ายภาษาเอโอเลียน มี ศัพท์บางตัวมาจากภาษาไอโอเนียน

ความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่และเป็นไปในลักษณะลึกซึ้งมีขึ้นเมื่อพวกดอเรียน นักรบ ผู้ชำนาญในการใช้ม้าและอาวุธเหล็ก เข้ามารุกรานพวกเอเชียน พวกดอเรียนมีศิลปะใน การรบเหนือกว่าพวกเอเชียนทั้งๆ ที่ดั้งเดิมมาจากเชื้อสายเดียวกัน คือ ชาวอินโด- ยูโรเปี้ยน แต่พวกเอเชียนมาได้รับอารยธรรมเอเจียนก่อนหลายศตวรรษ เครื่องนุ่งห่ม ของพวกดอเรียนทอด้วยขนสัตว์ เรียกว่า ชไลนา หรือ เปโปล มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม ผืนผ้าธรรมดา จับจีบติดด้วยเข็มกลัด นับว่าแตกต่างจากเครื่องนุ่งห่มของพวกที่ ได้รับ อารยธรรมเอเจียนที่มีเสื้อผ้าหรูหรา เน้นรูปทรงที่เอว แม้แต่ทาง สถาปัตยกรรมตกแต่งอันสวยงามแบบเอเจียนที่มีอยู่ต่อจากนี้ไป ก็ไม่มีใครสนใจ วัดกับวังจะแยกจากกันไม่อยู่ในบริเวณเดียวกันเหมือนแต่ก่อน การสร้างวังก็ไม่พิถี พิถัน สร้างแบบง่ายๆ เป็นห้องโถง ธรรมดาและมีห้องติดต่อกันอีก 2-3 ห้อง ผังของ ห้องโถงเป็นลักษณะห้องยาวมีทางเดินเข้า ใช้เป็นห้องประดิษฐานเทพเจ้าต่างๆ ผัง

เมืองสร้างคล้ายตาหมากรุก มีถนน 2 สายตัดกันเป็นมุมฉาก ตรงทางแยกเป็นศูนย์กลาง ของเมืองทั้งทางการเมือง ทางเศรษฐกิจ และทางศาสนา

 

ทางด้านศาสนา มีการเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัด คือ เทพเจ้าของทางผืนแผ่นดินเข้ามา แทนที่เทพเจ้าทางทะเลของพวกเอเชียน และเทพเจ้าแห่งท้องฟ้ามาแทนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ของแผ่นดิน เทพเจ้าของกรีกตั้งแต่สมัยนี้เป็นต้นไปจะต้องหนุ่มและรูปร่างงาม ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และเทพเจ้าเป็นไปในทางสังเวยและอธิษฐาน ความเร้นลับ น่ากลัวที่ได้รับมาจากตะวันออกและปนมากับศาสนา สมัยนี้การเผาศพเปลี่ยนไปเป็นฝัง คนตายแทน ไม่มีประเพณีระลึกถึงคนตาย ไม่มีของบูชาให้คนตาย และไม่มีการทำหลุมศพ ขนาดใหญ่ การละเล่นยังคงเหมือนเดิมจากที่รับถ่ายทอดมา แต่จุดประสงค์มุ่งเพื่อคน ที่ยังมีชีวิตอยู่ ไม่มีการเชื่อเรื่องเบื้องบน ศาสนาของชาวกรีกกลายเป็นศาสนา ที่นับถือเทพเจ้าหลายองค์ และเป็นแบบเทพนิยาย เป็นการดึงคนให้ออกมาจากความเชื่อ ในสิ่งที่เกินธรรมชาติแบบโบราณ และจากความหวาดกลัวกับเรื่องที่ว่าตายแล้วไป ไหน

ทางด้านศิลปะ ของอารยธรรมโฮเมอร์ เรารู้ไม่มากนัก แรกเริ่มเข้าใจว่าเป็นแบบไมเซเนียน จนกระทั่ง 800 ปีก่อนค.. จึงเกิดรูปปั้นศักดิ์สิทธิ์ ที่เรียกกันว่า ซัวนา (Xoana) ที่ทำขึ้นมาอย่างหยาบๆ ด้วยดินเหนียวบ้าง สัมริดบ้าง งาช้าง หรือ ตะกั่วบ้าง ล้วนรับอิทธิพลมาจากตะวันออก ในเรื่องของเซรามิค ก่อนหน้าที่จะมี แจกันลายเรขาคณิตไม่ปรากฏว่ามีแจกันอย่างอื่น แจกันที่งามที่ ปัจจุบันถือว่ามี ค่าที่สุด เป็นแจกันของดีไพลอน (Dipylon) ได้มาจากหลุมศพที่เอเธนส์ แจกันนี้สูง ถึง 1.75 เมตร มีลายดำบนพื้นสีอ่อน เป็นลายซิกแซก ลายหมากรุกหรือลายคดเคี้ยว ลายขบวนแห่งานศพ ลายรถลากด้วยม้าเรียงกันเป็นแถว ลายการต่อสู้ทางทะเล ทุกลายมี การวางภาพได้อย่างสวยงาม นับเป็นลักษณะเด่นของศิลปะโฮเมอร์

ทางด้านการปกครอง มีการจัดระบบการปกครองใหม่ด้วยการยุบการปกครองแบบกลุ่มมาเป็น นครรัฐ หรือที่เรียกว่า โปลิส (Polis) โดยสร้างตรงที่เป็นพระราชวัง เดิมของพวก ไมเซเนียน ล้มเลิกสังคมที่มีกษัตริย์และนักรบ มาเป็นสังคมที่มีชนชั้นขุนนาง เจ้าที่ดิน ระบบกษัตริย์ให้มีแต่ในเขตชายแดน เช่น เอปีร์ และมาซีโดเนีย

 

 

 

 

 

 

 

สร้างโดย: 
นางสาวนารถอนงค์ แซ่ใหล ชั้ม.6/4 เลขที่ 1

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 304 คน กำลังออนไลน์