• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4b9723d021ad47f5f5d5c8ce1386a831' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n1.2 <strong>เพลงเรือ</strong>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<img height=\"260\" width=\"469\" src=\"/files/u44049/ou2.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\nภาพที่1.2 การเล่นเพลงเรือ\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"background-color: #e7f2ba; color: #2b3220\"></span>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 16pt\"><span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">เรื่อง เพลงและนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span></b></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 16pt\"><span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"><o:p></o:p></span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ศิลปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันตามภูมิภาค อันเนื่องมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การทำมาหากิน ภาษาและขนบประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน </span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ความเป็นมาของการเล่นเพลงเรือ</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n    <span lang=\"TH\">เป็นเพลงพื้นบ้านของชาวไทยภาคกลางที่อยู่ตามริมลำน้ำ เช่น สุพรรณบุรี อ่างทอง อยุธยา ฯลฯ นิยมเล่นกันในหน้านาประมาณเดือน </span>11-12 <span lang=\"TH\">อุปกรณ์ในการเล่นเพลงเรือคือ เรือของพ่อเพลงลำหนึ่งและเรือของแม่เพลงลำหนึ่ง เครื่องดนตรีมี กรับธรรมหรือกรับพวงและฉิ่ง ถ้าเล่นกลางคืนจะต้องมีตะเกียงไว้กลางลำเรือ เนื้อร้องทั้งสองฝ่ายมาพบกัน พ่อเพลงก็จะพายเรือเข้าไปเทียบเกาะเรือแม่เพลงไว้แม่เพลงเริ่มด้วยเพลงปลอบ หรือเพลงเกริ่น บางคณะจะเริ่มด้วยบทไหว้ครูก่อน จากนั้นแม่เพลงก็จะร้องประโต้ตอบเรียกว่า บทประ แล้วต่อด้วยชุดลักหาพาหนี หรือนัดหมายสู่ขอ แล้วต่อด้วยเพลงชุดชิงชู้และเพลงตีหมากผัว เมื่อเลิกก็จะมีเพลงจาก แสดงความอาลัยอาวรณ์</span><o:p></o:p></span><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><span> </span></span></b></span></span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 16pt\"><span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><span></span></span></b></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: red; font-size: 16pt\"><span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><span></span></span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">วิธีเล่นเพลงเรือ</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span></b><b><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n   <span lang=\"TH\">วิธีเล่นหรือการขับเพลงจะมีต้นเสียงขึ้น และมีลูกคู่รับ โดยใช้ฉิ่งและกรับพวงเป็นเครื่องประกอบจังหวะเวลาร้อง ต้องร้องให้ลงกับจังหวะพาย ผู้ขับเพลงเรือหรือแม่เพลงต้องเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบที่จะหาคำหรือหยิบยกเอาเหตุการณ์สิ่งแวดล้อมเข้ามาสอดแทรกเข้า ไปให้เหมาะสมอาจเป็นแข่งขัน ยกย่อง เสียดสี ซึ่งทำให้ผู้ฟังสนุกไปด้วยก่อนการเล่นเพลง ต้องมีการกล่าวกลอนไหว้ครูเสียก่อนจากนั้นจึงจะเอื้อนกลอนพรรณนาหรือชักชวนให้คนอื่นมาเล่นด้วยโดยใช้วิธีว่ากลอนกระทบกระทั่งกระเซ้าเย้าแหย่ จนคู่โต้มิอาจจะทนอยู่ได้จึงเกิดการเล่นเพลงเรือ โต้ตอบกันขึ้น การโต้ตอบกันด้วยเพลงเรือ บางทีก็เผ็ดร้อนใช้คารมที่คมคาย บางทีก็อาจเป็นทำนองรักหวานชื่น ทั้งนี้แล้วแต่โอกาสและสถานการณ์</span> <br />\n<span lang=\"TH\">การแสดงแบ่งเป็น ฝ่ายชาย ฝ่ายหญิง มีพ่อเพลงแม่เพลง</span><br />\n<span lang=\"TH\">จะเริ่มด้วยบทไหว้ครู เกี้ยวพาราสี ลักหาพาหนีและตีหมากผัว</span><br />\n<b><span lang=\"TH\">ลักษณะบทร้องแบ่งเป็น</span></b><span lang=\"TH\"> </span>4 <span lang=\"TH\">ตอน คือ</span><br />\n1. <span lang=\"TH\">ปลอบ</span> (<span lang=\"TH\">ฝ่ายชายชวน)</span><br />\n2. <span lang=\"TH\">ประ (ฝ่ายหญิงตอบ) </span><o:p></o:p></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">3. <span lang=\"TH\">ดำเนินเรื่อง</span><br />\n4. <span lang=\"TH\">จาก </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">การแต่งกาย</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n   <span lang=\"TH\">ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม ผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก </span><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">โอกาสที่แสดง</span></b><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span></b><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n    <span lang=\"TH\">แสดงในงานฤดูน้ำหลาก หรือในงานนักขัตฤกษ์ งานมงคล เช่น บวชนาค ทอดกฐินและลอยกระทง </span><br />\n</span><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">สถานที่แสดง</span></b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n   <span lang=\"TH\">แสดงและเล่นกันในเรือ แต่ในปัจจุบันร้องและเล่นกันบนเวที จัดเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ฝ่าย</span><br />\n<span lang=\"TH\">ชาย </span>– <span lang=\"TH\">หญิง ว่าแก้กันเป็นคู่ </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ตัวอย่างเพลงเรือ</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ได้ยินน้ำคำเสียงมาร่ำสนอง เสียงใครมาเรียกหาน้อง</span> (<span lang=\"TH\">ฮ้าไฮ้)ที่ไหนล่ะ</span><br />\n<span lang=\"TH\">แต่พอเรียกหาฉันแม่หนูไม่นานไม่เนิ่น เสียงผู้ชายร้องเชิญ....ฉันจะว่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">การจะเล่นจะหัวหนูน้องไม่ดีดไม่ดิ้น หรอกว่ายามกฐิน....ผ้าป่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">พอเรียกก็ขานแต่พอวานก็เอ่ย น้องหนูไม่นิ่งกันทำเฉย...ให้มันช้า</span><br />\n<span lang=\"TH\">แต่พอเรียกหาน้องฉันก็ร้องขึ้นรำ ฉันนบนอบตอบคำจริง....พับผ่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">แม่หนูนบนอบตอบคำ ตอบกันไปเสียด้วยน้ำ...วาจา</span><br />\n<span lang=\"TH\">แต่พอเรียกหาน้องแล้วฉันก็ร้องว่าจ๋า กันเสียเมื่อเวลาเอ๋ยจวนเอย (รับ)</span><br />\n<span lang=\"TH\">เมื่อเวลาจวนเอยแต่พอเรียกหาน้อง แม่หนูก็ร้องว่าจ๋าหาน้องหาน้องแม่หนูก็ร้อง</span><br />\n<span lang=\"TH\">ว่าจ๋ากันเมื่อเวลา เอ๋ยเมื่อเวลา เวลาจวนเอย ฮ้า...ไฮ้ เอ๋ยเรียกหาน้องร้องเอ่ย น้องหนูไม่นิ่งกันทำเฉย...ให้มันช้า</span><br />\n<span lang=\"TH\">จะเล่นจะหัวกะตัวฉัน เสียงใครมาเรียกแล้วแม่บ้าน...ไกลตา</span><br />\n<span lang=\"TH\">ครั้นจะไม่ทักไม่ทาย ฉันกลัวว่าพี่แกจะอาย...กันแน่หน้า</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ฉันกลัวจะอาจพ่อไหวเอ๋ยเขาบ่น ทั้งฝูงผู้ฝูงคน...ก็มากหน้า</span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">ฉันไม่ให้อายพ่อไหวเอ๋ยเขาแย่ ฉันมิให้พี่ลงไปอาบ...กันแก่หน้า</span><br />\n<span lang=\"TH\">ฉันจะธุรับหน้าเธอเอาไว้เสมอหน้าท่า</span><br />\n<span lang=\"TH\">ฉันไม่ชักหน้าก้มให้หกล้มผวา เพราะเราเป็นคนเห็นหน้ากันเลย</span> (<span lang=\"TH\">รับ)</span><br />\n<span lang=\"TH\">เอ๋ยคนเห็นหน้ากันเอย</span><br />\n<span lang=\"TH\">ฉันไม่ชักหน้าก้มให้หกล้มผวา หน้าก้ม หน้าก้ม ให้หกล้มผวา เพราะเป็นคน</span><br />\n<span lang=\"TH\">เห็นหน้า เอ๋ยคนเห็นหน้า เห็นหน้ากันเลย (ฮ้า...ไฮ้)</span> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\">  </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> </span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n  </span><b><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b> <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span></p>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong><img height=\"65\" width=\"513\" src=\"/files/u44049/the-than121.gif\" border=\"0\" /> </strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><a href=\"/node/90151\"><img height=\"106\" width=\"300\" src=\"/files/u44049/lololo.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 182px; height: 99px\" /></a></o:p></span></o:p></span></strong>\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div align=\"right\" style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"></span></o:p></span>  <span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p> </o:p></span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><a href=\"/node/90044\"><img height=\"65\" width=\"54\" src=\"/files/u44049/4b.gif\" border=\"0\" style=\"width: 42px; height: 53px\" /><img height=\"65\" width=\"37\" src=\"/files/u44049/4a.gif\" border=\"0\" style=\"width: 37px; height: 50px\" /><img height=\"65\" width=\"42\" src=\"/files/u44049/4c_0.gif\" border=\"0\" style=\"width: 32px; height: 48px\" /><img height=\"65\" width=\"40\" src=\"/files/u44049/4k.gif\" border=\"0\" style=\"width: 40px; height: 47px\" /></a>  <a href=\"/node/90039\"><img height=\"53\" width=\"150\" src=\"/files/u44049/border003yt9_________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 136px; height: 75px\" /></a> </o:p></span></p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715961320, expire = 1716047720, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4b9723d021ad47f5f5d5c8ce1386a831' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นาฏศิลป์ภาคกลาง2

 

 

1.2 เพลงเรือ

 

ภาพที่1.2 การเล่นเพลงเรือ

เรื่อง เพลงและนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง

ศิลปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันตามภูมิภาค อันเนื่องมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การทำมาหากิน ภาษาและขนบประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน ความเป็นมาของการเล่นเพลงเรือ
    เป็นเพลงพื้นบ้านของชาวไทยภาคกลางที่อยู่ตามริมลำน้ำ เช่น สุพรรณบุรี อ่างทอง อยุธยา ฯลฯ นิยมเล่นกันในหน้านาประมาณเดือน 11-12 อุปกรณ์ในการเล่นเพลงเรือคือ เรือของพ่อเพลงลำหนึ่งและเรือของแม่เพลงลำหนึ่ง เครื่องดนตรีมี กรับธรรมหรือกรับพวงและฉิ่ง ถ้าเล่นกลางคืนจะต้องมีตะเกียงไว้กลางลำเรือ เนื้อร้องทั้งสองฝ่ายมาพบกัน พ่อเพลงก็จะพายเรือเข้าไปเทียบเกาะเรือแม่เพลงไว้แม่เพลงเริ่มด้วยเพลงปลอบ หรือเพลงเกริ่น บางคณะจะเริ่มด้วยบทไหว้ครูก่อน จากนั้นแม่เพลงก็จะร้องประโต้ตอบเรียกว่า บทประ แล้วต่อด้วยชุดลักหาพาหนี หรือนัดหมายสู่ขอ แล้วต่อด้วยเพลงชุดชิงชู้และเพลงตีหมากผัว เมื่อเลิกก็จะมีเพลงจาก แสดงความอาลัยอาวรณ์
  

วิธีเล่นเพลงเรือ
   วิธีเล่นหรือการขับเพลงจะมีต้นเสียงขึ้น และมีลูกคู่รับ โดยใช้ฉิ่งและกรับพวงเป็นเครื่องประกอบจังหวะเวลาร้อง ต้องร้องให้ลงกับจังหวะพาย ผู้ขับเพลงเรือหรือแม่เพลงต้องเป็นผู้มีปฏิภาณไหวพริบที่จะหาคำหรือหยิบยกเอาเหตุการณ์สิ่งแวดล้อมเข้ามาสอดแทรกเข้า ไปให้เหมาะสมอาจเป็นแข่งขัน ยกย่อง เสียดสี ซึ่งทำให้ผู้ฟังสนุกไปด้วยก่อนการเล่นเพลง ต้องมีการกล่าวกลอนไหว้ครูเสียก่อนจากนั้นจึงจะเอื้อนกลอนพรรณนาหรือชักชวนให้คนอื่นมาเล่นด้วยโดยใช้วิธีว่ากลอนกระทบกระทั่งกระเซ้าเย้าแหย่ จนคู่โต้มิอาจจะทนอยู่ได้จึงเกิดการเล่นเพลงเรือ โต้ตอบกันขึ้น การโต้ตอบกันด้วยเพลงเรือ บางทีก็เผ็ดร้อนใช้คารมที่คมคาย บางทีก็อาจเป็นทำนองรักหวานชื่น ทั้งนี้แล้วแต่โอกาสและสถานการณ์
การแสดงแบ่งเป็น ฝ่ายชาย ฝ่ายหญิง มีพ่อเพลงแม่เพลง
จะเริ่มด้วยบทไหว้ครู เกี้ยวพาราสี ลักหาพาหนีและตีหมากผัว
ลักษณะบทร้องแบ่งเป็น 4 ตอน คือ
1. ปลอบ (ฝ่ายชายชวน)
2. ประ (ฝ่ายหญิงตอบ)
3. ดำเนินเรื่อง
4. จาก
การแต่งกาย
   ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม ผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก
โอกาสที่แสดง
    แสดงในงานฤดูน้ำหลาก หรือในงานนักขัตฤกษ์ งานมงคล เช่น บวชนาค ทอดกฐินและลอยกระทง
สถานที่แสดง
   แสดงและเล่นกันในเรือ แต่ในปัจจุบันร้องและเล่นกันบนเวที จัดเป็น 2 ฝ่าย
ชาย หญิง ว่าแก้กันเป็นคู่
ตัวอย่างเพลงเรือ
ได้ยินน้ำคำเสียงมาร่ำสนอง เสียงใครมาเรียกหาน้อง (ฮ้าไฮ้)ที่ไหนล่ะ
แต่พอเรียกหาฉันแม่หนูไม่นานไม่เนิ่น เสียงผู้ชายร้องเชิญ....ฉันจะว่า
การจะเล่นจะหัวหนูน้องไม่ดีดไม่ดิ้น หรอกว่ายามกฐิน....ผ้าป่า
พอเรียกก็ขานแต่พอวานก็เอ่ย น้องหนูไม่นิ่งกันทำเฉย...ให้มันช้า
แต่พอเรียกหาน้องฉันก็ร้องขึ้นรำ ฉันนบนอบตอบคำจริง....พับผ่า
แม่หนูนบนอบตอบคำ ตอบกันไปเสียด้วยน้ำ...วาจา
แต่พอเรียกหาน้องแล้วฉันก็ร้องว่าจ๋า กันเสียเมื่อเวลาเอ๋ยจวนเอย (รับ)
เมื่อเวลาจวนเอยแต่พอเรียกหาน้อง แม่หนูก็ร้องว่าจ๋าหาน้องหาน้องแม่หนูก็ร้อง
ว่าจ๋ากันเมื่อเวลา เอ๋ยเมื่อเวลา เวลาจวนเอย ฮ้า...ไฮ้ เอ๋ยเรียกหาน้องร้องเอ่ย น้องหนูไม่นิ่งกันทำเฉย...ให้มันช้า
จะเล่นจะหัวกะตัวฉัน เสียงใครมาเรียกแล้วแม่บ้าน...ไกลตา
ครั้นจะไม่ทักไม่ทาย ฉันกลัวว่าพี่แกจะอาย...กันแน่หน้า
ฉันกลัวจะอาจพ่อไหวเอ๋ยเขาบ่น ทั้งฝูงผู้ฝูงคน...ก็มากหน้า
ฉันไม่ให้อายพ่อไหวเอ๋ยเขาแย่ ฉันมิให้พี่ลงไปอาบ...กันแก่หน้า
ฉันจะธุรับหน้าเธอเอาไว้เสมอหน้าท่า
ฉันไม่ชักหน้าก้มให้หกล้มผวา เพราะเราเป็นคนเห็นหน้ากันเลย (รับ)
เอ๋ยคนเห็นหน้ากันเอย
ฉันไม่ชักหน้าก้มให้หกล้มผวา หน้าก้ม หน้าก้ม ให้หกล้มผวา เพราะเป็นคน
เห็นหน้า เอ๋ยคนเห็นหน้า เห็นหน้ากันเลย (ฮ้า...ไฮ้) 
   

  
 

    

 

 

สร้างโดย: 
นาง วไลลักษณ์ ดิษพึ่ง และ นางสาว กมลวรรณ แรงรักธรรม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 349 คน กำลังออนไลน์