• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:96eb7eeb64a79ecbfaf09a91b866e70a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong></strong>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220\"></span></strong></span></p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">เรื่อง เพลงและนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง</span></strong><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"> </span></b>\n</p>\n<p><b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"></span></b><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b> <b><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ศิลปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันตามภูมิภาค อันเนื่องมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การทำมาหากิน ภาษาและขนบประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน </span></b><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">1. <span lang=\"TH\">ประวัติความเป็นมาของเพลงพื้นเมืองภาคกลาง</span><br />\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'\">เพลงพื้นเมืองของภาคกลาง</span></strong><br />\n<span lang=\"TH\">เพลงพื้นเมืองภาคกลาง เป็นเพลงที่ร้องเล่นกันตามชนบท มีท่วงทำนองคั่น เพื่อให้ลูกคู่ร้องรับ ส่วนเพลงที่มีการร้องโต้ตอบกันมีพ่อเพลงและแม่เพลงเป็นต้นเสียง</span><br />\n1.1 <strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'\">เพลงพื้นเมืองของภาคกลาง</span></strong><br />\n1.1.1 <strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'\">เพลงพวงมาลัย</span></strong><span lang=\"TH\"> </span><o:p></o:p></span></b></p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"243\" width=\"477\" src=\"/files/u44049/ou1.jpg\" border=\"0\" /><br />\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 14pt\">ภาพที่ </span><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 14pt\">1.1 <span lang=\"TH\">การเล่นเพลงพวงมาลัย </span></span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220\"><span style=\"font-size: large\"><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">ความเป็นมาของการเล่นเพลงพวงมาลัย</span></strong><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\"><span>    </span>การเล่นเพลงพวงมาลัยนิยมเล่นทางจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นครั้ง แรกที่จังหวัดเพชรบุรี มักเล่นในงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานลอยกระทงวันเพ็ญเดือนสิบสอง งานผ้าป่ากฐิน งานสงกรานต์ งานโกนจุก บวชนาค โดยมากมักจะร้องควบคู่กันไปกับการเล่นกีฬาพื้นเมืองอย่างหนึ่ง คือ </span>“<span lang=\"TH\">ช่วงชัย</span>” <span lang=\"TH\">ถ้าปาลูกช่วงถูกผู้ใดผู้นั้นจะต้องรำ ฝ่ายหญิงถูกรำ ฝ่ายชายก็ร้องเป็นเชิงเกี้ยว ถ้าฝ่ายชายต้องรำ ฝ่ายหญิงก็มักจะร้องว่าต่าง ๆ</span><br />\n<span lang=\"TH\">แต่บางทีก็ร้องเป็นแบบโต้ตอบ ไต่ถามบ้านช่อง และอาชีพของกันและกัน </span><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'\">วีธีเล่นเพลงพวงมาลัย</span></strong><br />\n<span lang=\"TH\"><span>    </span>วิธีเล่นจะตั้งวงกลมสลับชาย </span>– <span lang=\"TH\">หญิง เป็นคู่ ๆ มีพ่อเพลง แม่เพลง ลูกคู่ พ่อเพลงแม่เพลง จะออกมายืนกลางวงร้องเพลงโต้ตอบกัน ใช้มือประกอบคำร้องบ้าง พวกที่ยืนอยู่ในวงเป็นลูกคู่รับ</span> <br />\n<span lang=\"TH\">ใช้ปรบมือเข้ากับจังหวะเพลง ลูกคู่รับเฉพาะบรรทัดต้นกับบรรทัดสุดท้ายตอนจบเท่านั้น ในสมัยก่อนนิยมร้องกลอนสด บางครั้งพ่อเพลงหรือแม่เพลงคิดกลอนไม่ทันก็ต้องอาศัยคู่ร้องซ้ำตรงที่กลอนติด เพื่อมิให้เงียบเสียงไป ก่อนจะร้องตามความหมายจะต้องมีคำไหว้ครูทุกครั้งอันเป็นเอกลักษณ์ของไทย </span><o:p></o:p></span></b><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">การแต่งกาย</span></strong><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\"><span>    </span>ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม ผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก </span><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'\">โอกาสที่แสดง</span></strong><br />\n<span lang=\"TH\">แสดงในงานฤดูน้ำหลาก หรือในงานนักขัตฤกษ์ งานมงคล เช่น บวชนาค ทอดกฐินและลอยกระทง </span><o:p></o:p></span></b><strong><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\">สถานที่แสดง</span></strong><b><span style=\"font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 16pt\"><br />\n<span lang=\"TH\">แสดงและเล่นกันในเรือ แต่ในปัจจุบันร้องและเล่นกันบนเวที จัดเป็น </span>2 <span lang=\"TH\">ฝ่าย ชาย </span>– <span lang=\"TH\">หญิง ว่าแก้กันเป็นคู่ </span><o:p></o:p></span></b><b><span style=\"line-height: 115%; font-family: \'Browallia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><o:p><span style=\"color: #000000\"> </span></o:p></span></b></span></span></strong> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img height=\"120\" width=\"600\" src=\"/files/u44049/the-than109.gif\" border=\"0\" style=\"width: 541px; height: 66px\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/90151\"><img height=\"88\" width=\"250\" src=\"/files/u44049/k_.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 215px; height: 78px\" /></a>                                                 <a href=\"/node/90044\"><img height=\"53\" width=\"150\" src=\"/files/u44049/border003yt9_________.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 143px; height: 72px\" /></a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n                                                         \n</div>\n<p>                                                                                            </p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715908038, expire = 1715994438, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:96eb7eeb64a79ecbfaf09a91b866e70a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นาฏศิลป์ภาคกลาง 1

 

 

เรื่อง เพลงและนาฏศิลป์พื้นเมืองภาคกลาง

 ศิลปวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นย่อมแตกต่างกันตามภูมิภาค อันเนื่องมาจากภูมิประเทศ ภูมิอากาศ การทำมาหากิน ภาษาและขนบประเพณีวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน 1. ประวัติความเป็นมาของเพลงพื้นเมืองภาคกลาง
เพลงพื้นเมืองของภาคกลาง
เพลงพื้นเมืองภาคกลาง เป็นเพลงที่ร้องเล่นกันตามชนบท มีท่วงทำนองคั่น เพื่อให้ลูกคู่ร้องรับ ส่วนเพลงที่มีการร้องโต้ตอบกันมีพ่อเพลงและแม่เพลงเป็นต้นเสียง
1.1 เพลงพื้นเมืองของภาคกลาง
1.1.1 เพลงพวงมาลัย

 


ภาพที่ 1.1 การเล่นเพลงพวงมาลัย  

 

 

ความเป็นมาของการเล่นเพลงพวงมาลัย
    การเล่นเพลงพวงมาลัยนิยมเล่นทางจังหวัดสุพรรณบุรี กาญจนบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ สันนิษฐานว่าเกิดขึ้นครั้ง แรกที่จังหวัดเพชรบุรี มักเล่นในงานเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานลอยกระทงวันเพ็ญเดือนสิบสอง งานผ้าป่ากฐิน งานสงกรานต์ งานโกนจุก บวชนาค โดยมากมักจะร้องควบคู่กันไปกับการเล่นกีฬาพื้นเมืองอย่างหนึ่ง คือ ช่วงชัยถ้าปาลูกช่วงถูกผู้ใดผู้นั้นจะต้องรำ ฝ่ายหญิงถูกรำ ฝ่ายชายก็ร้องเป็นเชิงเกี้ยว ถ้าฝ่ายชายต้องรำ ฝ่ายหญิงก็มักจะร้องว่าต่าง ๆ
แต่บางทีก็ร้องเป็นแบบโต้ตอบ ไต่ถามบ้านช่อง และอาชีพของกันและกัน

วีธีเล่นเพลงพวงมาลัย
    วิธีเล่นจะตั้งวงกลมสลับชาย หญิง เป็นคู่ ๆ มีพ่อเพลง แม่เพลง ลูกคู่ พ่อเพลงแม่เพลง จะออกมายืนกลางวงร้องเพลงโต้ตอบกัน ใช้มือประกอบคำร้องบ้าง พวกที่ยืนอยู่ในวงเป็นลูกคู่รับ
ใช้ปรบมือเข้ากับจังหวะเพลง ลูกคู่รับเฉพาะบรรทัดต้นกับบรรทัดสุดท้ายตอนจบเท่านั้น ในสมัยก่อนนิยมร้องกลอนสด บางครั้งพ่อเพลงหรือแม่เพลงคิดกลอนไม่ทันก็ต้องอาศัยคู่ร้องซ้ำตรงที่กลอนติด เพื่อมิให้เงียบเสียงไป ก่อนจะร้องตามความหมายจะต้องมีคำไหว้ครูทุกครั้งอันเป็นเอกลักษณ์ของไทย
การแต่งกาย
    ฝ่ายชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม ผ้าขาวม้าคาดเอว ส่วนฝ่ายหญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อแขนกระบอก

โอกาสที่แสดง
แสดงในงานฤดูน้ำหลาก หรือในงานนักขัตฤกษ์ งานมงคล เช่น บวชนาค ทอดกฐินและลอยกระทง
สถานที่แสดง
แสดงและเล่นกันในเรือ แต่ในปัจจุบันร้องและเล่นกันบนเวที จัดเป็น 2 ฝ่าย ชาย หญิง ว่าแก้กันเป็นคู่
 

 

 

 

 

 

                                                

                                                         

                                                                                           

 

 

 

 

สร้างโดย: 
นาง วไลลักษณ์ ดิษพึ่ง และ นางสาว กมลวรรณ แรงรักธรรม

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 214 คน กำลังออนไลน์