• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว', 'node/33045', '', '18.117.8.37', 0, '82131b95ff72b4bc33f861a1d3de0fe6', 152, 1716888911) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7d82196035818a1ff73a123551a432d5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"227\" width=\"600\" src=\"/files/u30440/his.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">หลุมเซนต์ยอร์ช สำหรับการเก็บตัวอย่างดินใต้พื้นดินดวงจันทร์ ทั้งสองคนใช้วิธีใช้ท่อโลหะตอกลงไปใต้ดินลึกลงไปประมาณ 36 นิ้ว ทั้งสองคนใช้วิธีนี้เก็บตัวอย่างดินใต้พื้นดวงจันทร์สามบริเวณด้วยกัน <br />\nหลุมเซนต์ยอร์ช คือ จุดสุดท้ายของการเดินทางครั้งนี้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติภารกิจในบริเวณนั้นจบแล้ว สก๊อตต์จึงหันหัวรถกลับ มุ่งหน้าตรงไปหายานฟัลคอน ซึ่งขณะนั้นยังมองไม่เห็นตัวยาน บริเวณเต็มไปด้วยเทือกเขาและหลุมมากมายเช่นนี้ การขับรถหลงทางเป็นเรื่องเกิดขึ้นง่าย แต่ระบบการเดินทางของโรเวอร์ 1 มีความแม่นยำสูง ในไม่ช้าเมื่อโรเวอร์ 1 มุ่งหน้าไปทางตะวันออกเฉียงเหนือไม่นานนัก ทั้งสองคนมองเห็นฟัลคอนอยู่ข้างหน้าไกลออกไปประมาณ 3 ไมล์ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">เมื่อกลับมาถึงฟัลคอน โรเวอร์ 1 เดินทางไปแล้ว 6.5 ไมล์ การขับรถบนดวงจันทร์ครั้งแรกพบความสำเร็จ โรเวอร์กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก โรเวอร์ 1 พิสูจน์ให้เห็นเป็นครั้งแรกว่า สามารถเดินทางบนดวงจันทร์อย่างปลอดภัย ทั้ง ๆ ที่ภูมิประเทศบนดวงจันทร์ทุรกันดาร เต็มไปด้วยหลุมบ่อ ก้อนหิน และหุบเขาลึกอยู่ทั่วไป ไม่มีรถยนต์คันใดบนโลกนี้สามารถเดินทางผ่านภูมิประเทศเช่นนั้นไปได้ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">สก๊อตต์ จอดโรเวอร์ 1 ไว้ตรงหน้ากล้องโทรทัศน์ที่ตั้งอยู่ใกล้ ๆ ยานฟัลคอน หลังจากนั้นทั้งสองคนช่วยกันติดตั้งสถานี ALSEP 3 คราวนี้เครื่องวัดของสถานี ALSEP แห่งที่ 3 บนบริเวณ ฮัดเลย์ - อเพนไนน์ ประกอบด้วยเครื่องวัดสนามแม่เหล็ก เครื่องวัด แผ่นดินไหว แผ่นอะลูมิเนียมสำหรับดักลมสุริยะ เครื่องวิเคราะห์ลมสุริยะ เครื่องวัดฝุ่น เครื่องกำเนิดไฟฟ้า สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้า ALSEP 3 และทำการติดตั้งกระจกเลเซอร์ขนาดใหญ่ ทำใหับัดนี้บนดวงจันทร์มีกระจกเลเซอร์ 3 แผ่นแล้ว </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">สำหรับการติดตั้งเครื่องวัดความร้อนภายในดวงจันทร์มีความยากลำบากมาก นักวิทยาศาสตร์คาดหมายล่วงหน้าว่า การเจาะรูลึกลงไปใต้ผิวดิน 10 ฟุต 2 รูด้วยกัน เพื่อเอาหัวของเครื่องวัดความร้อนใส่ลงไป แต่ละรูจะใช้เวลา 15 นาที แต่เมื่อทั้งสองคนเจาะลึกลงไปได้ 3 ฟุต แล้วไม่สามารถเจาะให้ลึกลงไปกว่านี้ ทั้งสองคนจึงต้องทิ้งงานไว้แค่นั้น วันรุ่งขึ้นค่อยเจาะใหม่ ทั้งนี้เพราะขีดจำกัดของออกซิเจนสำหรับหายใจ จำเป็นต้องกลับเข้าไปในยานฟัลคอน </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">การปฏิบัติภารกิจนอกยานครั้งแรกยุติ หลังจากใช้เวลาไป 6 ชั่วโมง 34 นาที ซึ่งเร็วกว่าเวลาที่กำหนดไว้ 26 นาที การขับรถยนต์สำรวจดวงจันทร์พบความสำเร็จ โรเวอร์ 1 สามารถเดินทางไปบนโลกแห้งแล้ง เต็มไปด้วยอันตรายจากสภาพแวดล้อมได้อย่างน่าอัศจรรย์ </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1971 ที่ฮุสตันเป็นวันอาทิตย์ แต่ยังเป็นวันทำงานของนักสำรวจดวงจันทร์ การปฏิบัติภารกิจนอกยานครั้งที่ 2 ของสก๊อตต์กับเออร์วิน เริ่มต้นที่เวลา 06.48 น. ของเช้าวันนั้น เวลาสำหรับการปฏิบัติภารกิจครั้งนี้กำหนดไว้ 7 ชั่วโมง 12 นาที </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">ก่อนเริ่มต้นเดินทางด้วยโรเวอร์ 1 ครั้งที่ 2 โจ อัลเลน ที่ฮุสตัน วิทยุเรียกขึ้นมา &quot;โอเค เดฟ เราต้องการให้คุณลองใช้ล้อหน้าตามวิธีนี้ :- สวิทซ์ของการขับล้อหน้าติดตั้งอยู่บนชาร์ลี และให้ปิดสวิทซ์ของตัวตัดวงจรสำหรับการขับล้อหน้าด้วย&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\">สก๊อตต์ปฏิบัติตามคำแนะนำ ทันใดนั้นล้อหน้าของโรเวอร์ 1 ทำงานสก๊อตต์รู้สึกแปลกใจกล่าวออกมา &quot;โจ ผมพนันได้เลยว่า เมื่อคืนที่แล้วคุณทำอะไร คุณบอกให้เจ้าหน้าที่ของศูนย์มาร์แชล เดินทางมาซ่อมรถที่นี่ใช่ไหม ?&quot; </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #800000\"><u>&quot;พวกเขาทำเช่นนั้น&quot; โจ อัลเลน ตอบเป็นปริศนา</u> <br />\nหินเหินสะเทินน้ำ...ฟิสิกส์ของการขว้างหิน <br />\nชีวิตที่เปลี่ยนแปลงเพียงชั่วข้าม คืนของ เจอร์ดอน โคลแมน แม็กกี เกิดขึ้นตอนที่เขายืนกำก้อนหินไว้เต็มมือ บนฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นานนับเดือนที่เขาเดินทอดน่องอยู่บนชายหาดที่เต็มไปด้วยหินชนวน ใกล้เมืองกาดาเกสของสเปนในแถบชายฝั่งโกสตา บราบา กับการขว้างก้อนหินไปยังผิวน้ำในการครุ่นคิดหาคำตอบถึงเรื่อง ความสัมพันธ์ในการจมและเหินของก้อนหินบนผิวน้ำ วันเวลาที่ผ่านไปพ่อยอดชายนายแม็กกีพยายามเดินให้น้อยลง และขว้างก้อนหินให้มากขึ้น ก้อนหินก็กระโดดร่อนไปบนผิวน้ำได้ไกลขึ้น และไกลขึ้นเรื่อยๆ ในเย็นวันหนึ่งขณะที่พื้นน้ำเงียบสงบ และพระอาทิตย์อัสดงลาลับขอบฟ้า ก้อนหินที่ขว้างจากมือของเขาได้เหินละลิ่วละเลียดผิวน้ำไปไกลลิบสุดสายตา และแล้วเสียงปรบมือก็ดังขึ้นกลบความเงียบ เมื่อแม็กกีหันกลับหลังมา เขาก็ได้พบผู้คนมากมายยืนมองอยู่<br />\nในปี 2535 แม็กกีได้สร้างสถิติการร่อนหินไว้ในบันทึกสถิติโลก หินร่อนสะท้อนพื้นน้ำได้ถึง 38 ครั้งที่แม่น้ำบลังโก ในมลรัฐเท็กซัส และแม้ว่าชีวิตที่เดินทางจากแหล่งขุดเจาะน้ำมันแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ด้วยอาชีพวิศวกรภาคสนามของ ไซเอ็นทิฟิก ดริลลิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล เขาก็ยังต้องการที่จะกลับบ้านที่เมืองวิมเบอร์ลีย์ มลรัฐเท็กซัส เพื่อเสาะหาก้อนหิน เกือบ 30 ปีที่เขาใช้เวลาอยู่ในสเปน เขาได้ค้นพบว่าทักษะในการร่อนหินนั้นสามารถเรียนรู้ได้อย่างเป็นระบบ โดยเขาได้ประมวลศาสตร์ในการร่อนหินไว้ในหนังสือชื่อ “เคล็ดลับการร่อนหิน” (The Secrets of Stone Skipping) เขาได้ทดลองโดยใช้หินที่มีขนาดและรูปร่างหลากหลายรูปแบบในสถานการณ์ที่แตกต่างไป ได้ทดลองกระเด้งหินในถังน้ำ และทดลองตามคำแนะนำของนักศึกษาในห้องปฏิบัติการโครงการสโทรป ศูนย์เอ็ดเกอร์ตัน ในสถาบันเทคโนโลยี มลรัฐแมสซาชูเซตส์ (MIT)<br />\nเคิร์สทัน คอทส์ นักศึกษาภาควิชาเคมีจากวิทยาลัยแอมเฮิร์สต์ ได้อธิบายหลักการสำคัญในการร่อนหินบนพื้นน้ำเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2511 โดยเขาได้บันทึกภาพลักษณะการร่อนหินไว้สามรูปแบบ คือ การร่อนหินไปบนกระบะทราย การร่อนหินไปบนผ้านวมที่คลุมโต๊ะ และการร่อนหินไปบนพื้นน้ำ คอทส์พบว่าลักษณะที่เกิดขึ้นบนกระบะทรายและบนผ้านวมที่คลุมโต๊ะไว้นั้นคล้ายกันคือ ด้านท้ายจะกระทบกับพื้นก่อนด้านหัวแล้วจึงเชิดสู่อากาศอีกครั้ง ส่วนการร่อนหินไปบนพื้นน้ำนั้น ก้อนหินด้านท้ายจะเกาะผิวน้ำและเชิดทำมุมราว 75 องศา จนเมื่อน้ำเกิดรูปเป็นเกลียวคลื่นด้านหน้ารองรับก้อนหินแล้ว ก้อนหินก็จะเชิดหัวสู่อากาศ ซึ่งจะเป็นเช่นนี้สลับกันไป<br />\nการวิเคราะห์ลักษณะการร่อนหินของคอทส์นี้มีมานานกว่า 30 ปีแล้ว จนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีที่ผ่านมา วารสารฟิสิกส์อเมริกันได้ตีพิมพ์ บทความเรื่อง “a simplified description of the collision process of the stone with water” ของ ลีเดรีก บ้อกเก นักฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยโกลด แบร์นาร์ด ลีอง ในเมืองวีลเลอร์บาน ประเทศฝรั่งเศส โดยเขาได้บรรยายผลงานและสร้างแบบฝึกปฏิบัติที่สนุกสนานเร้าใจสำหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี แต่สมการของเขานั้นค่อนข้างยาก บ้อกเกกล่าวว่า “ในขอบเขตของคนธรรมดานั้น สมการนี้เป็นสมการที่ใกล้เคียงกับการอธิบายตามเรื่องการเล่นสกีบนผิวน้ำ” โดยแต่ละครั้งที่ก้อนหินตกกระทบผิวน้ำ แรงโน้มถ่วงจะดึงก้อนหินให้จมลงสู่ผิวน้ำเพิ่มมากขึ้น และน้ำก็ออกแรงดึงต่อก้อนหินด้วยจนกระทั่งฉุดก้อนหินจมลงใต้ผิวน้ำในที่สุด ก้อนหินสามารถร่อนไปในอากาศได้นานกว่าบนผิวน้ำถึง 100 เท่า แต่อย่าลืมว่าอากาศมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำถึง 1,000 เท่า ดังนั้นการร่อนหินไปในอากาศจึงได้รับผลกระทบน้อยมาก<br />\nบ้อกเกบอกว่าหัวใจในการร่อนหินบนน้ำคือการรักษาระดับการหมุนให้คงที่ อย่างการเคลื่อนที่ของก้อนหินบนผิวน้ำนั้น ก้อนหินต้องทรงตัวไปโดยท้ายแตะน้ำสม่ำเสมอโดยไม่มีพลิกกลับ หรือหกคะเมนตีลังกา และเมื่อเหินขึ้นสู่อากาศจะต้องหมุนเพื่อรักษาความสมดุลที่มีชื่อเฉพาะเรียกว่า “ฟริสบี” (Frisbee) เป็นการปรับการหมุนและการเคลื่อนตัวให้ดีขึ้นเอง หากเริ่มต้นขว้างก้อนหินออกไปไม่ดีนัก การหมุนก็จะปรับให้ได้ตำแหน่งที่ดีก่อนที่จะกระทบผิวน้ำ<br />\nบ้อกเกได้พัฒนาสูตรในการประมาณการตกกระทบผิวน้ำของก้อนหินว่าจะเป็นกี่ครั้งเมื่อศึกษาจากการหมุนและความเร็วของก้อนหิน อย่างเช่นเขาคำนวณว่าในการตกกระทบของก้อนหิน 5 ครั้ง ก้อนหินจะต้องหมุน 5 รอบต่อวินาที และจากสถิติที่บันทึกไว้ของบ้อกเก ก้อนหินมีการตกกระทบผิวน้ำ 15 ครั้ง สามารถคำนวณได้ว่าก้อนหินจะต้องหมุนเกือบ 9 รอบต่อวินาที และถ้าไปดูสถิติโลกที่แม็กกีทำได้โดยใช้สูตรนี้คำนวณพบว่ามีการหมุนสูงถึง 14 รอบต่อวินาที และเคลื่อนที่ได้เกือบ 12 เมตรต่อวินาที<br />\nเพื่อสร้างสถิติโลกในการร่อนหินได้ไกลและกระทบผิวน้ำได้มากที่สุด แม็กกีเริ่มต้นโดยการคัดสรรก้อนหินจากกองที่มีขนาดและน้ำหนักพอเหมาะ เขาวางก้อนหินที่แบนที่สุดในวงของนิ้วชี้ที่งอเข้า แล้วกำนิ้วอื่นไว้ข้างใต้ เพื่อให้กำหินร่อนได้อย่างถนัดมือ ประการต่อมาคือ ยืนยืดตัว ยกมือที่กำก้อนหินให้ข้อมือตั้งขึ้นด้วยท่วงท่าเหมือนนักเต้นระบำฟลามิงโกที่ถือแคสทาเน็ต (เครื่องดนตรีขนาดเล็กใช้เคาะจังหวะ ใช้กับระบำสเปน - กองบก.) ถึงแม้จะดูเป็นท่าทางที่แปลก แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปทำอย่างแพร่หลาย ท้ายสุดคือการกำหนดเป้าหมายแล้วร่อนหินออกไปให้กระทบผิวน้ำตามทิศทางและมุมที่ตั้งใจ อย่างกรณีของแม็กกีเริ่มต้นจากการร่อนหินในระดับที่สูงมากที่สุดก่อนแล้วพยายามให้มันเคลื่อนไปในแนวขนานพื้นน้ำมากที่สุด เขาบอกว่ายิ่งขว้างหินให้ขนานกับพื้นน้ำได้มากเท่าไร พลังงานที่ใช้ในการเหินให้เป็นเส้นตรงยิ่งน้อยลงไปด้วย ซึ่งก้อนหินที่ดูเหมือนจะร่อนได้ดีนั้นจะเป็นก้อนที่มีรูปทรง ไม่ค่อยสมบูรณ์นัก และมีน้ำหนักนิดหน่อย เพราะคลื่นและลมในอากาศจะส่งผลให้ก้อนหินที่ค่อนข้างกลมและเบาเฉออกนอกเส้นทางได้<br />\nไม่ใช่เพียงการสร้างสถิติใหม่ในการร่อนหินได้ไกล และมันอาจดูเหมือนการละเล่นแบบเด็กๆ แต่การร่อนหินมีหลักการเบื้องหลังที่น่าสนใจคือ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เซอร์ บาร์เนส วัลลิส วิศวกรชาวอังกฤษ ผู้นิยมชมชอบการร่อนหิน เล่นกับหลานได้สร้าง “ระเบิดเด้ง” (Bouncing bombs) สำหรับกองทัพอากาศ เพื่อโจมตีเขื่อนของเยอรมัน อันถือเป็นเป้าหมายสำคัญ แต่จุดยุทธศาสตร์สำคัญนั้นได้รับการป้องกันเป็นอย่างดี ด้วยปืนต่อสู้อากาศยานและตอร์ปิโดใต้น้ำ เขาจึงทำการทดลองก่อนด้วยก้อนหิน เครื่องยิง และถังน้ำ จาก นั้นวัลลิสได้พัฒนาระเบิดทรงกระบอก ซึ่งจะสามารถหมุนไปด้วยขณะปล่อยจากอากาศและเมื่อกระทบพื้นน้ำแล้ว ก็จะเด้งไปสู่เป้าหมาย จนเมื่อเดือนพฤษภาคมปี 2486 เครื่องบินทิ้งระเบิดของอังกฤษได้ทิ้งระเบิดโจมตีเป้าหมายเขื่อนเมอเนอ ในเมืองรูร์ของเยอรมัน ระเบิดลูกแรกเกิดระเบิดก่อนถึงเป้าหมาย ระเบิดลูกที่สองเด้งข้ามเขื่อนไปยังโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่อยู่ด้านล่าง ระเบิดลูกที่สามแฉลบไปทางด้านซ้าย และลูกสุดท้ายเข้าจังๆ ที่เป้าหมาย เรียกว่าเล่นเอาเหนื่อยพอดูที่ระเบิดเด้งจะทำงาน ได้ผล<br />\nเมื่อไม่นานมานี้ วิศวกรที่ห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ ได้เสนอรูปแบบของเครื่องบินร่อนสูงที่มีชื่อว่า “ไฮเปอร์ซอร์” (HyperSoar) ซึ่งจะร่อนเหนือชั้นบรรยากาศโลกด้วยความเร็ว 5-12 เท่าของความเร็วเสียง การทะยานขึ้นของเครื่องบินประเภทนี้จะเหมือนเครื่องบินทั่วไป เมื่อทะยานไปถึงระดับที่สูงกว่า 40 กิโลเมตรจากพื้นโลกในชั้นบรรยากาศที่เบาบาง ก็จะดับเครื่องยนต์แล้วปล่อยให้ลอยร่อนไปในห้วงอวกาศและค่อยๆ หล่นลง จนเมื่อกระทบกับมวลอากาศในชั้นที่มีความหนาแน่นกว่า มันก็จะเด้งขึ้นต่อไปคล้ายกับการที่เราร่อนหินให้เด้งพื้นน้ำ เมื่อเด้งกับมวลอากาศแล้วนักบินก็จะติดเครื่องยนต์อีกครั้ง ส่งให้เครื่องบินเชิดหัวสู่ด้านบน การร่อน กระเด้งที่ขอบอวกาศเช่นนี้ 18 ครั้ง มากพอที่จะส่งให้เครื่องบินไฮเปอร์ซอร์บินจากชิคาโกสู่ยุโรปได้ โดยใช้เวลา เพียง 72 นาที<br />\nแม็กกีไม่แปลกใจกับหลักการดังกล่าว แต่ในความเป็นจริง การร่อนที่ต้องใช้แรงมากมายนั้นจะเป็นไปได้แค่ไหนยังไม่อาจประเมินได้ เพราะถ้าทั้งหมดเป็นจริง ก้อนหินก็ดูเหมือนจะเด้งไปไม่มีวันหยุด สุนทรีที่ได้รับจากการร่อนหินเด้งพื้นน้ำที่เร็วจี๋จนนับไม่ทัน อาจจะเป็นสิ่งที่สวยสดงดงามที่สุดเท่าที่เราเคยเห็นมา </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #ff99cc\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #999999; color: #ff99cc\"><a href=\"/node/76030\">กลับหน้าหลัก</a></span>\n</p>\n', created = 1716888941, expire = 1716975341, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7d82196035818a1ff73a123551a432d5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติ

 

 

หลุมเซนต์ยอร์ช สำหรับการเก็บตัวอย่างดินใต้พื้นดินดวงจันทร์ ทั้งสองคนใช้วิธีใช้ท่อโลหะตอกลงไปใต้ดินลึกลงไปประมาณ 36 นิ้ว ทั้งสองคนใช้วิธีนี้เก็บตัวอย่างดินใต้พื้นดวงจันทร์สามบริเวณด้วยกัน
หลุมเซนต์ยอร์ช คือ จุดสุดท้ายของการเดินทางครั้งนี้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติภารกิจในบริเวณนั้นจบแล้ว สก๊อตต์จึงหันหัวรถกลับ มุ่งหน้าตรงไปหายานฟัลคอน ซึ่งขณะนั้นยังมองไม่เห็นตัวยาน บริเวณเต็มไปด้วยเทือกเขาและหลุมมากมายเช่นนี้ การขับรถหลงทางเป็นเรื่องเกิดขึ้นง่าย แต่ระบบการเดินทางของโรเวอร์ 1 มีความแม่นยำสูง ในไม่ช้าเมื่อโรเวอร์ 1 มุ่งหน้าไปทางตะวันออกเฉียงเหนือไม่นานนัก ทั้งสองคนมองเห็นฟัลคอนอยู่ข้างหน้าไกลออกไปประมาณ 3 ไมล์

เมื่อกลับมาถึงฟัลคอน โรเวอร์ 1 เดินทางไปแล้ว 6.5 ไมล์ การขับรถบนดวงจันทร์ครั้งแรกพบความสำเร็จ โรเวอร์กลายเป็นสิ่งมหัศจรรย์ของโลก โรเวอร์ 1 พิสูจน์ให้เห็นเป็นครั้งแรกว่า สามารถเดินทางบนดวงจันทร์อย่างปลอดภัย ทั้ง ๆ ที่ภูมิประเทศบนดวงจันทร์ทุรกันดาร เต็มไปด้วยหลุมบ่อ ก้อนหิน และหุบเขาลึกอยู่ทั่วไป ไม่มีรถยนต์คันใดบนโลกนี้สามารถเดินทางผ่านภูมิประเทศเช่นนั้นไปได้

สก๊อตต์ จอดโรเวอร์ 1 ไว้ตรงหน้ากล้องโทรทัศน์ที่ตั้งอยู่ใกล้ ๆ ยานฟัลคอน หลังจากนั้นทั้งสองคนช่วยกันติดตั้งสถานี ALSEP 3 คราวนี้เครื่องวัดของสถานี ALSEP แห่งที่ 3 บนบริเวณ ฮัดเลย์ - อเพนไนน์ ประกอบด้วยเครื่องวัดสนามแม่เหล็ก เครื่องวัด แผ่นดินไหว แผ่นอะลูมิเนียมสำหรับดักลมสุริยะ เครื่องวิเคราะห์ลมสุริยะ เครื่องวัดฝุ่น เครื่องกำเนิดไฟฟ้า สำหรับจ่ายกระแสไฟฟ้า ALSEP 3 และทำการติดตั้งกระจกเลเซอร์ขนาดใหญ่ ทำใหับัดนี้บนดวงจันทร์มีกระจกเลเซอร์ 3 แผ่นแล้ว

สำหรับการติดตั้งเครื่องวัดความร้อนภายในดวงจันทร์มีความยากลำบากมาก นักวิทยาศาสตร์คาดหมายล่วงหน้าว่า การเจาะรูลึกลงไปใต้ผิวดิน 10 ฟุต 2 รูด้วยกัน เพื่อเอาหัวของเครื่องวัดความร้อนใส่ลงไป แต่ละรูจะใช้เวลา 15 นาที แต่เมื่อทั้งสองคนเจาะลึกลงไปได้ 3 ฟุต แล้วไม่สามารถเจาะให้ลึกลงไปกว่านี้ ทั้งสองคนจึงต้องทิ้งงานไว้แค่นั้น วันรุ่งขึ้นค่อยเจาะใหม่ ทั้งนี้เพราะขีดจำกัดของออกซิเจนสำหรับหายใจ จำเป็นต้องกลับเข้าไปในยานฟัลคอน

การปฏิบัติภารกิจนอกยานครั้งแรกยุติ หลังจากใช้เวลาไป 6 ชั่วโมง 34 นาที ซึ่งเร็วกว่าเวลาที่กำหนดไว้ 26 นาที การขับรถยนต์สำรวจดวงจันทร์พบความสำเร็จ โรเวอร์ 1 สามารถเดินทางไปบนโลกแห้งแล้ง เต็มไปด้วยอันตรายจากสภาพแวดล้อมได้อย่างน่าอัศจรรย์

วันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1971 ที่ฮุสตันเป็นวันอาทิตย์ แต่ยังเป็นวันทำงานของนักสำรวจดวงจันทร์ การปฏิบัติภารกิจนอกยานครั้งที่ 2 ของสก๊อตต์กับเออร์วิน เริ่มต้นที่เวลา 06.48 น. ของเช้าวันนั้น เวลาสำหรับการปฏิบัติภารกิจครั้งนี้กำหนดไว้ 7 ชั่วโมง 12 นาที

ก่อนเริ่มต้นเดินทางด้วยโรเวอร์ 1 ครั้งที่ 2 โจ อัลเลน ที่ฮุสตัน วิทยุเรียกขึ้นมา "โอเค เดฟ เราต้องการให้คุณลองใช้ล้อหน้าตามวิธีนี้ :- สวิทซ์ของการขับล้อหน้าติดตั้งอยู่บนชาร์ลี และให้ปิดสวิทซ์ของตัวตัดวงจรสำหรับการขับล้อหน้าด้วย"

สก๊อตต์ปฏิบัติตามคำแนะนำ ทันใดนั้นล้อหน้าของโรเวอร์ 1 ทำงานสก๊อตต์รู้สึกแปลกใจกล่าวออกมา "โจ ผมพนันได้เลยว่า เมื่อคืนที่แล้วคุณทำอะไร คุณบอกให้เจ้าหน้าที่ของศูนย์มาร์แชล เดินทางมาซ่อมรถที่นี่ใช่ไหม ?"

"พวกเขาทำเช่นนั้น" โจ อัลเลน ตอบเป็นปริศนา
หินเหินสะเทินน้ำ...ฟิสิกส์ของการขว้างหิน
ชีวิตที่เปลี่ยนแปลงเพียงชั่วข้าม คืนของ เจอร์ดอน โคลแมน แม็กกี เกิดขึ้นตอนที่เขายืนกำก้อนหินไว้เต็มมือ บนฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน นานนับเดือนที่เขาเดินทอดน่องอยู่บนชายหาดที่เต็มไปด้วยหินชนวน ใกล้เมืองกาดาเกสของสเปนในแถบชายฝั่งโกสตา บราบา กับการขว้างก้อนหินไปยังผิวน้ำในการครุ่นคิดหาคำตอบถึงเรื่อง ความสัมพันธ์ในการจมและเหินของก้อนหินบนผิวน้ำ วันเวลาที่ผ่านไปพ่อยอดชายนายแม็กกีพยายามเดินให้น้อยลง และขว้างก้อนหินให้มากขึ้น ก้อนหินก็กระโดดร่อนไปบนผิวน้ำได้ไกลขึ้น และไกลขึ้นเรื่อยๆ ในเย็นวันหนึ่งขณะที่พื้นน้ำเงียบสงบ และพระอาทิตย์อัสดงลาลับขอบฟ้า ก้อนหินที่ขว้างจากมือของเขาได้เหินละลิ่วละเลียดผิวน้ำไปไกลลิบสุดสายตา และแล้วเสียงปรบมือก็ดังขึ้นกลบความเงียบ เมื่อแม็กกีหันกลับหลังมา เขาก็ได้พบผู้คนมากมายยืนมองอยู่
ในปี 2535 แม็กกีได้สร้างสถิติการร่อนหินไว้ในบันทึกสถิติโลก หินร่อนสะท้อนพื้นน้ำได้ถึง 38 ครั้งที่แม่น้ำบลังโก ในมลรัฐเท็กซัส และแม้ว่าชีวิตที่เดินทางจากแหล่งขุดเจาะน้ำมันแห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง ด้วยอาชีพวิศวกรภาคสนามของ ไซเอ็นทิฟิก ดริลลิ่ง อินเตอร์เนชั่นแนล เขาก็ยังต้องการที่จะกลับบ้านที่เมืองวิมเบอร์ลีย์ มลรัฐเท็กซัส เพื่อเสาะหาก้อนหิน เกือบ 30 ปีที่เขาใช้เวลาอยู่ในสเปน เขาได้ค้นพบว่าทักษะในการร่อนหินนั้นสามารถเรียนรู้ได้อย่างเป็นระบบ โดยเขาได้ประมวลศาสตร์ในการร่อนหินไว้ในหนังสือชื่อ “เคล็ดลับการร่อนหิน” (The Secrets of Stone Skipping) เขาได้ทดลองโดยใช้หินที่มีขนาดและรูปร่างหลากหลายรูปแบบในสถานการณ์ที่แตกต่างไป ได้ทดลองกระเด้งหินในถังน้ำ และทดลองตามคำแนะนำของนักศึกษาในห้องปฏิบัติการโครงการสโทรป ศูนย์เอ็ดเกอร์ตัน ในสถาบันเทคโนโลยี มลรัฐแมสซาชูเซตส์ (MIT)
เคิร์สทัน คอทส์ นักศึกษาภาควิชาเคมีจากวิทยาลัยแอมเฮิร์สต์ ได้อธิบายหลักการสำคัญในการร่อนหินบนพื้นน้ำเป็นครั้งแรกเมื่อปี 2511 โดยเขาได้บันทึกภาพลักษณะการร่อนหินไว้สามรูปแบบ คือ การร่อนหินไปบนกระบะทราย การร่อนหินไปบนผ้านวมที่คลุมโต๊ะ และการร่อนหินไปบนพื้นน้ำ คอทส์พบว่าลักษณะที่เกิดขึ้นบนกระบะทรายและบนผ้านวมที่คลุมโต๊ะไว้นั้นคล้ายกันคือ ด้านท้ายจะกระทบกับพื้นก่อนด้านหัวแล้วจึงเชิดสู่อากาศอีกครั้ง ส่วนการร่อนหินไปบนพื้นน้ำนั้น ก้อนหินด้านท้ายจะเกาะผิวน้ำและเชิดทำมุมราว 75 องศา จนเมื่อน้ำเกิดรูปเป็นเกลียวคลื่นด้านหน้ารองรับก้อนหินแล้ว ก้อนหินก็จะเชิดหัวสู่อากาศ ซึ่งจะเป็นเช่นนี้สลับกันไป
การวิเคราะห์ลักษณะการร่อนหินของคอทส์นี้มีมานานกว่า 30 ปีแล้ว จนเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ปีที่ผ่านมา วารสารฟิสิกส์อเมริกันได้ตีพิมพ์ บทความเรื่อง “a simplified description of the collision process of the stone with water” ของ ลีเดรีก บ้อกเก นักฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัยโกลด แบร์นาร์ด ลีอง ในเมืองวีลเลอร์บาน ประเทศฝรั่งเศส โดยเขาได้บรรยายผลงานและสร้างแบบฝึกปฏิบัติที่สนุกสนานเร้าใจสำหรับนักศึกษาในระดับปริญญาตรี แต่สมการของเขานั้นค่อนข้างยาก บ้อกเกกล่าวว่า “ในขอบเขตของคนธรรมดานั้น สมการนี้เป็นสมการที่ใกล้เคียงกับการอธิบายตามเรื่องการเล่นสกีบนผิวน้ำ” โดยแต่ละครั้งที่ก้อนหินตกกระทบผิวน้ำ แรงโน้มถ่วงจะดึงก้อนหินให้จมลงสู่ผิวน้ำเพิ่มมากขึ้น และน้ำก็ออกแรงดึงต่อก้อนหินด้วยจนกระทั่งฉุดก้อนหินจมลงใต้ผิวน้ำในที่สุด ก้อนหินสามารถร่อนไปในอากาศได้นานกว่าบนผิวน้ำถึง 100 เท่า แต่อย่าลืมว่าอากาศมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้ำถึง 1,000 เท่า ดังนั้นการร่อนหินไปในอากาศจึงได้รับผลกระทบน้อยมาก
บ้อกเกบอกว่าหัวใจในการร่อนหินบนน้ำคือการรักษาระดับการหมุนให้คงที่ อย่างการเคลื่อนที่ของก้อนหินบนผิวน้ำนั้น ก้อนหินต้องทรงตัวไปโดยท้ายแตะน้ำสม่ำเสมอโดยไม่มีพลิกกลับ หรือหกคะเมนตีลังกา และเมื่อเหินขึ้นสู่อากาศจะต้องหมุนเพื่อรักษาความสมดุลที่มีชื่อเฉพาะเรียกว่า “ฟริสบี” (Frisbee) เป็นการปรับการหมุนและการเคลื่อนตัวให้ดีขึ้นเอง หากเริ่มต้นขว้างก้อนหินออกไปไม่ดีนัก การหมุนก็จะปรับให้ได้ตำแหน่งที่ดีก่อนที่จะกระทบผิวน้ำ
บ้อกเกได้พัฒนาสูตรในการประมาณการตกกระทบผิวน้ำของก้อนหินว่าจะเป็นกี่ครั้งเมื่อศึกษาจากการหมุนและความเร็วของก้อนหิน อย่างเช่นเขาคำนวณว่าในการตกกระทบของก้อนหิน 5 ครั้ง ก้อนหินจะต้องหมุน 5 รอบต่อวินาที และจากสถิติที่บันทึกไว้ของบ้อกเก ก้อนหินมีการตกกระทบผิวน้ำ 15 ครั้ง สามารถคำนวณได้ว่าก้อนหินจะต้องหมุนเกือบ 9 รอบต่อวินาที และถ้าไปดูสถิติโลกที่แม็กกีทำได้โดยใช้สูตรนี้คำนวณพบว่ามีการหมุนสูงถึง 14 รอบต่อวินาที และเคลื่อนที่ได้เกือบ 12 เมตรต่อวินาที
เพื่อสร้างสถิติโลกในการร่อนหินได้ไกลและกระทบผิวน้ำได้มากที่สุด แม็กกีเริ่มต้นโดยการคัดสรรก้อนหินจากกองที่มีขนาดและน้ำหนักพอเหมาะ เขาวางก้อนหินที่แบนที่สุดในวงของนิ้วชี้ที่งอเข้า แล้วกำนิ้วอื่นไว้ข้างใต้ เพื่อให้กำหินร่อนได้อย่างถนัดมือ ประการต่อมาคือ ยืนยืดตัว ยกมือที่กำก้อนหินให้ข้อมือตั้งขึ้นด้วยท่วงท่าเหมือนนักเต้นระบำฟลามิงโกที่ถือแคสทาเน็ต (เครื่องดนตรีขนาดเล็กใช้เคาะจังหวะ ใช้กับระบำสเปน - กองบก.) ถึงแม้จะดูเป็นท่าทางที่แปลก แต่ปัจจุบันได้มีการนำไปทำอย่างแพร่หลาย ท้ายสุดคือการกำหนดเป้าหมายแล้วร่อนหินออกไปให้กระทบผิวน้ำตามทิศทางและมุมที่ตั้งใจ อย่างกรณีของแม็กกีเริ่มต้นจากการร่อนหินในระดับที่สูงมากที่สุดก่อนแล้วพยายามให้มันเคลื่อนไปในแนวขนานพื้นน้ำมากที่สุด เขาบอกว่ายิ่งขว้างหินให้ขนานกับพื้นน้ำได้มากเท่าไร พลังงานที่ใช้ในการเหินให้เป็นเส้นตรงยิ่งน้อยลงไปด้วย ซึ่งก้อนหินที่ดูเหมือนจะร่อนได้ดีนั้นจะเป็นก้อนที่มีรูปทรง ไม่ค่อยสมบูรณ์นัก และมีน้ำหนักนิดหน่อย เพราะคลื่นและลมในอากาศจะส่งผลให้ก้อนหินที่ค่อนข้างกลมและเบาเฉออกนอกเส้นทางได้
ไม่ใช่เพียงการสร้างสถิติใหม่ในการร่อนหินได้ไกล และมันอาจดูเหมือนการละเล่นแบบเด็กๆ แต่การร่อนหินมีหลักการเบื้องหลังที่น่าสนใจคือ ในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เซอร์ บาร์เนส วัลลิส วิศวกรชาวอังกฤษ ผู้นิยมชมชอบการร่อนหิน เล่นกับหลานได้สร้าง “ระเบิดเด้ง” (Bouncing bombs) สำหรับกองทัพอากาศ เพื่อโจมตีเขื่อนของเยอรมัน อันถือเป็นเป้าหมายสำคัญ แต่จุดยุทธศาสตร์สำคัญนั้นได้รับการป้องกันเป็นอย่างดี ด้วยปืนต่อสู้อากาศยานและตอร์ปิโดใต้น้ำ เขาจึงทำการทดลองก่อนด้วยก้อนหิน เครื่องยิง และถังน้ำ จาก นั้นวัลลิสได้พัฒนาระเบิดทรงกระบอก ซึ่งจะสามารถหมุนไปด้วยขณะปล่อยจากอากาศและเมื่อกระทบพื้นน้ำแล้ว ก็จะเด้งไปสู่เป้าหมาย จนเมื่อเดือนพฤษภาคมปี 2486 เครื่องบินทิ้งระเบิดของอังกฤษได้ทิ้งระเบิดโจมตีเป้าหมายเขื่อนเมอเนอ ในเมืองรูร์ของเยอรมัน ระเบิดลูกแรกเกิดระเบิดก่อนถึงเป้าหมาย ระเบิดลูกที่สองเด้งข้ามเขื่อนไปยังโรงไฟฟ้าพลังน้ำที่อยู่ด้านล่าง ระเบิดลูกที่สามแฉลบไปทางด้านซ้าย และลูกสุดท้ายเข้าจังๆ ที่เป้าหมาย เรียกว่าเล่นเอาเหนื่อยพอดูที่ระเบิดเด้งจะทำงาน ได้ผล
เมื่อไม่นานมานี้ วิศวกรที่ห้องปฏิบัติการแห่งชาติลอว์เรนซ์ ลิเวอร์มอร์ ได้เสนอรูปแบบของเครื่องบินร่อนสูงที่มีชื่อว่า “ไฮเปอร์ซอร์” (HyperSoar) ซึ่งจะร่อนเหนือชั้นบรรยากาศโลกด้วยความเร็ว 5-12 เท่าของความเร็วเสียง การทะยานขึ้นของเครื่องบินประเภทนี้จะเหมือนเครื่องบินทั่วไป เมื่อทะยานไปถึงระดับที่สูงกว่า 40 กิโลเมตรจากพื้นโลกในชั้นบรรยากาศที่เบาบาง ก็จะดับเครื่องยนต์แล้วปล่อยให้ลอยร่อนไปในห้วงอวกาศและค่อยๆ หล่นลง จนเมื่อกระทบกับมวลอากาศในชั้นที่มีความหนาแน่นกว่า มันก็จะเด้งขึ้นต่อไปคล้ายกับการที่เราร่อนหินให้เด้งพื้นน้ำ เมื่อเด้งกับมวลอากาศแล้วนักบินก็จะติดเครื่องยนต์อีกครั้ง ส่งให้เครื่องบินเชิดหัวสู่ด้านบน การร่อน กระเด้งที่ขอบอวกาศเช่นนี้ 18 ครั้ง มากพอที่จะส่งให้เครื่องบินไฮเปอร์ซอร์บินจากชิคาโกสู่ยุโรปได้ โดยใช้เวลา เพียง 72 นาที
แม็กกีไม่แปลกใจกับหลักการดังกล่าว แต่ในความเป็นจริง การร่อนที่ต้องใช้แรงมากมายนั้นจะเป็นไปได้แค่ไหนยังไม่อาจประเมินได้ เพราะถ้าทั้งหมดเป็นจริง ก้อนหินก็ดูเหมือนจะเด้งไปไม่มีวันหยุด สุนทรีที่ได้รับจากการร่อนหินเด้งพื้นน้ำที่เร็วจี๋จนนับไม่ทัน อาจจะเป็นสิ่งที่สวยสดงดงามที่สุดเท่าที่เราเคยเห็นมา

กลับหน้าหลัก

สร้างโดย: 
นางสาวจิระพัฒน์ มนตรีเศวกกุล / อาจารย์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 181 คน กำลังออนไลน์