• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d480ba74e3cd0e4308e1bba502069002' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n  นักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังต่อไปนี้<br />\n    1. กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดนั้นตามระดับด้วย ผิดน้อยก็โทษน้อย ผิดมากก็โทษมาก แต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า<br />\n   2. การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบเช่นว่าโดยเฉพาะและมักเป็นการลงโทษของสังคมเอง เช่น การประณาม การเลิกคบค้าสมาคมด้วย ฯลฯ<br />\n   3. จารีตประเพณีมีความเป็นยาวนานและเปลี่ยนแปลงยาก ในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที<br />\n   4. จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคม กฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่างไม่มีการยกเว้น<br />\n   5. จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า<br />\nยุคกฎหมายจารีตประเพณี<br />\n    ยุคกฎหมายจารีตประเพณี หรือยุคกฎหมายชาวบ้าน  Folk  law ใ นบุรพกาลอันมนุษย์เริ่มมาสโมสรกันเป็นสังคมนั้น ได้เกิดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมประพฤติการณ์ของสมาชิกในสังคมนั้นโดยปรากฏตัวอยู่ในรูป &quot;จารีตประเพณี&quot; <br />\n   จารีตประเพณี คือ ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่วบางทีก็เรียกว่า &quot;กฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ&quot;  มีที่มาจากสามัญสำนึกและความสามารถในการจำแนกดีจำแนกชั่วของมนุษย์ จารีตประเพณีเช่นว่านี้เป็นสิ่งที่ใช้ความรู้สึกหรือเหตุผลธรรมดาสามัญสัมผัสก็เข้าใจเข้าถึงได้ เช่น บิดามารดามีหน้าอภิบาลบุตร บุตรมีหน้าที่อภิบาลบิดามารดาเมื่อยามท่านแก่เฒ่า การลักขโมยของผู้อื่นเป็นการกระทำที่มิชอบ เป็นต้น<br />\nกล่าวโดยสรุปคือ จารีตประเพณีนั้นมีองค์ประกอบอยู่สองประการ ดังนี้ 1) มีการกระทำทางกายภาพ กล่าวคือ มีการปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นระยะยาวนานพอสมควร และ 2) มีองค์ประกอบทางจิตใจ กล่าวคือ สมาชิกในสังคมนั้นเห็นพ้องกันว่าเป็นเสมือนกฎหมาย จำเป็นต้องปฏิบัติตาม ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย\n</p>\n', created = 1715353941, expire = 1715440341, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d480ba74e3cd0e4308e1bba502069002' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การจำแนก

 

  นักสังคมวิทยาจำแนกความแตกต่างระหว่างกฎหมายกับจารีตประเพณีไว้ดังต่อไปนี้
    1. กฎหมายกำหนดระดับต่าง ๆ ของการกระทำความผิด และกำหนดบทลงโทษสำหรับความผิดนั้นตามระดับด้วย ผิดน้อยก็โทษน้อย ผิดมากก็โทษมาก แต่จารีตประเพณีเป็นเรื่องของความรู้สึกว่ารับได้หรือไม่ได้ของสังคมมากกว่า
   2. การลงโทษผู้กระทำตามกฎหมายมีองค์กรคอยเป็นธุระจัดการอย่างเป็นกิจจะลักษณะ แต่สำหรับจารีตประเพณีแล้ว ไม่มีองค์กรรับผิดชอบเช่นว่าโดยเฉพาะและมักเป็นการลงโทษของสังคมเอง เช่น การประณาม การเลิกคบค้าสมาคมด้วย ฯลฯ
   3. จารีตประเพณีมีความเป็นยาวนานและเปลี่ยนแปลงยาก ในขณะที่กฎหมายแม้อาจมีความเป็นมายาวนานแต่ก็สามารถเปลี่ยนแปลงปรับปรุงให้เข้ากับสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ทันที
   4. จารีตบางอย่างถูกละเลยโดยคนในสังคม กฎหมายจึงมีประโยชน์กว่าเพราะมีอำนาจบังคับใช้แก่ทุกคนเป็นการทั่วไปอย่างไม่มีการยกเว้น
   5. จารีตประเพณีบางทีก็ไม่ชัดเจน ทำให้เกิดปัญหาได้ ขณะที่กฎหมายมีความแน่นอนกว่า
ยุคกฎหมายจารีตประเพณี
    ยุคกฎหมายจารีตประเพณี หรือยุคกฎหมายชาวบ้าน  Folk  law ใ นบุรพกาลอันมนุษย์เริ่มมาสโมสรกันเป็นสังคมนั้น ได้เกิดกฎเกณฑ์เพื่อควบคุมประพฤติการณ์ของสมาชิกในสังคมนั้นโดยปรากฏตัวอยู่ในรูป "จารีตประเพณี"
   จารีตประเพณี คือ ประเพณีที่นิยมและประพฤติกันสืบมา ถ้าฝ่าฝืนถือว่าเป็นผิดเป็นชั่วบางทีก็เรียกว่า "กฎหมายที่ดีของบรรพบุรุษ"  มีที่มาจากสามัญสำนึกและความสามารถในการจำแนกดีจำแนกชั่วของมนุษย์ จารีตประเพณีเช่นว่านี้เป็นสิ่งที่ใช้ความรู้สึกหรือเหตุผลธรรมดาสามัญสัมผัสก็เข้าใจเข้าถึงได้ เช่น บิดามารดามีหน้าอภิบาลบุตร บุตรมีหน้าที่อภิบาลบิดามารดาเมื่อยามท่านแก่เฒ่า การลักขโมยของผู้อื่นเป็นการกระทำที่มิชอบ เป็นต้น
กล่าวโดยสรุปคือ จารีตประเพณีนั้นมีองค์ประกอบอยู่สองประการ ดังนี้ 1) มีการกระทำทางกายภาพ กล่าวคือ มีการปฏิบัติสืบทอดกันมาเป็นระยะยาวนานพอสมควร และ 2) มีองค์ประกอบทางจิตใจ กล่าวคือ สมาชิกในสังคมนั้นเห็นพ้องกันว่าเป็นเสมือนกฎหมาย จำเป็นต้องปฏิบัติตาม ยุคกฎหมายของนักกฎหมาย

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ น.ส. รัตติพร ปุเรตัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 240 คน กำลังออนไลน์