• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:0474b5b484ffc4ed40a2299a5ce22ade' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n   <span style=\"background-color: #ff0000\"><span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"/node/86171\"></a></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"133\" width=\"174\" src=\"/files/u40585/111_32973999.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n   วิถีประชา<br />\n      วิถีประชา หรือวิถีชาวบ้าน  Folkways   เป็นปทัสถานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน ไม่รู้สึกว่าเป็นภาระหน้าที่ และไม่มีกฎหมายข้อบังคับใด ๆ สั่งให้ปฏิบัติ กับทั้งยังเป็นพฤติกรรมที่คนคาดหวังกันว่าคนอื่นจะทำหรือไม่ทำอะไรในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การพูดคำ &quot;สวัสดี&quot; การยกมือไหว้ การสวมชุดดำในงานศพ เป็นต้น โดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา ทั้งนี้ วิถีประชาสามารถจำแนกได้ดังนี้<br />\n   1. สมัยนิยม  ( Fashion )  เป็นปทัสถานทางสังคมที่แสดงออกถึงความนิยมของกลุ่มคนซึ่งแพร่หลายไปรวดเร็วในช่วงเวลาหนึ่ง และก็เสื่อมไปรวดเร็วเช่นกัน ในช่วงแพร่ระบาดนั้น คนในสังคมทั่วไปมีความรู้สึกว่าตนถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นก็ถูกว่า &quot;เชย&quot; เป็นต้น เช่น เรื่องแบบทรงผม แบบเครื่องแต่งกาย<br />\n   2. ความนิยมชั่วครู่  (  Fad )    เป็นแบบพฤติกรรมเพียงผิวเผินและไม่จริงจัง เปลี่ยนแปลงง่าย รวดเร็ว มาเร็วไปเร็ว เช่น สมัยหนึ่งคนไทยเคยสนทนากันด้วยสำนวน &quot;อย่าให้เสร็จ&quot;<br />\n   3. ความคลั่งไคล้  (  Crazy )   เป็นเรื่องราวของความไม่มีเหตุผล เมื่อครอบงำผู้ใดแล้วผู้นั้นก็มักประพฤติปฏิบัติในในทำนองโง่เขลาเบาปัญญา หมกมุ่นอยู่กับเรื่องที่ตนคลั่งไคล้เป็นต้น เช่น การคลั่งไคล้ดารานักร้อง<br />\n   4. งานพิธี  ( Ceremonies )  เป็นการแสดงออกซึ่งเกียรติยศ ความมีหน้ามีตา ยังผลให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน สนับสนุนความสมานฉันท์ภายในกลุ่ม แต่ใครจะปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ เช่น งานฉลองวันครบรอบวันเกิด งานฉลองวันครบรอบวันสมรส เป็นต้น<br />\n   5. พิธีการ ( Rites ) เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่มีลำดับขั้นตอนแน่นอน และต้องทำซ้ำ ๆ เช่น วันพระ วันสงกรานต์ วันทำบุญขึ้นบ้านใหม่ วันมาฆบูชา<br />\n   6. พิธีกรรม  ( Rituals ) เป็นแบบแผนพฤติกรรมตามความเชื่อที่มักไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนทั้งหมด เช่น พิธีรับน้องใหม่<br />\n   7. มรรยาททางสังคม หรือมารยาททางสังคม ( Etiquette ) เป็นการปฏิบัติตนให้เหมาะสมแก่กาลเทศะในการสมาคม เช่น มรรยาทในการรับประทานอาหาร การโดยสารรถประจำทางควรลุกให้เด็ก คนชรา และสตรีมีครรภ์นั่ง เป็นต้น\n</p>\n', created = 1715324763, expire = 1715411163, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:0474b5b484ffc4ed40a2299a5ce22ade' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิถีประชา

 

  

   วิถีประชา
      วิถีประชา หรือวิถีชาวบ้าน  Folkways   เป็นปทัสถานทางสังคมที่คนยอมรับนับถือจนเกิดความเคยชิน ไม่รู้สึกว่าเป็นภาระหน้าที่ และไม่มีกฎหมายข้อบังคับใด ๆ สั่งให้ปฏิบัติ กับทั้งยังเป็นพฤติกรรมที่คนคาดหวังกันว่าคนอื่นจะทำหรือไม่ทำอะไรในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น การพูดคำ "สวัสดี" การยกมือไหว้ การสวมชุดดำในงานศพ เป็นต้น โดยส่วนใหญ่เป็นมาตรฐานทางพฤติกรรม ไม่มีการบังคับควบคุมอย่างเข้มงวด เมื่อมีการละเมิดผู้ละเมิดก็เพียงได้รับคำติฉินนินทา ทั้งนี้ วิถีประชาสามารถจำแนกได้ดังนี้
   1. สมัยนิยม  ( Fashion )  เป็นปทัสถานทางสังคมที่แสดงออกถึงความนิยมของกลุ่มคนซึ่งแพร่หลายไปรวดเร็วในช่วงเวลาหนึ่ง และก็เสื่อมไปรวดเร็วเช่นกัน ในช่วงแพร่ระบาดนั้น คนในสังคมทั่วไปมีความรู้สึกว่าตนถูกบังคับให้ปฏิบัติตาม มิเช่นนั้นก็ถูกว่า "เชย" เป็นต้น เช่น เรื่องแบบทรงผม แบบเครื่องแต่งกาย
   2. ความนิยมชั่วครู่  (  Fad )    เป็นแบบพฤติกรรมเพียงผิวเผินและไม่จริงจัง เปลี่ยนแปลงง่าย รวดเร็ว มาเร็วไปเร็ว เช่น สมัยหนึ่งคนไทยเคยสนทนากันด้วยสำนวน "อย่าให้เสร็จ"
   3. ความคลั่งไคล้  (  Crazy )   เป็นเรื่องราวของความไม่มีเหตุผล เมื่อครอบงำผู้ใดแล้วผู้นั้นก็มักประพฤติปฏิบัติในในทำนองโง่เขลาเบาปัญญา หมกมุ่นอยู่กับเรื่องที่ตนคลั่งไคล้เป็นต้น เช่น การคลั่งไคล้ดารานักร้อง
   4. งานพิธี  ( Ceremonies )  เป็นการแสดงออกซึ่งเกียรติยศ ความมีหน้ามีตา ยังผลให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน สนับสนุนความสมานฉันท์ภายในกลุ่ม แต่ใครจะปฏิบัติหรือไม่ก็ได้ เช่น งานฉลองวันครบรอบวันเกิด งานฉลองวันครบรอบวันสมรส เป็นต้น
   5. พิธีการ ( Rites ) เป็นแบบแผนพฤติกรรมที่มีลำดับขั้นตอนแน่นอน และต้องทำซ้ำ ๆ เช่น วันพระ วันสงกรานต์ วันทำบุญขึ้นบ้านใหม่ วันมาฆบูชา
   6. พิธีกรรม  ( Rituals ) เป็นแบบแผนพฤติกรรมตามความเชื่อที่มักไม่เปิดเผยต่อสาธารณชนทั้งหมด เช่น พิธีรับน้องใหม่
   7. มรรยาททางสังคม หรือมารยาททางสังคม ( Etiquette ) เป็นการปฏิบัติตนให้เหมาะสมแก่กาลเทศะในการสมาคม เช่น มรรยาทในการรับประทานอาหาร การโดยสารรถประจำทางควรลุกให้เด็ก คนชรา และสตรีมีครรภ์นั่ง เป็นต้น

สร้างโดย: 
นายธานินทร์ พร้อมสุข และ น.ส.รัตติพร ปุเรตัง

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 297 คน กำลังออนไลน์