• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('♣ เรามารู้จักไอศครีมกันเถอะ............. ♣', 'node/29332', '', '3.17.4.164', 0, '34dec591a8546b7b2bf59cd6698f4447', 172, 1716797360) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1b5b619dba906707be53653ac56feb8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"166\" width=\"416\" src=\"/files/u30432/mon_vien_blood2.gif\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #ff9900\"><strong><u>ระบบหมุนเวียนโลหิต</u></strong></span><br />\n        การหมุนเวียนของเลือดจะเกี่ยวข้องกับเลือด  หัวใจ  และหลอดเลือด  ซึ่งมีความสำคัญต่อร่างกายเนื่องจากในเลือดมีสารอาหารต่างๆ และมีแก๊สออกซิเจนที่ใช้ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับ<br />\n             สารอาหารทำให้สารอาหารปล่อยพลังงานน้ำ และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  โดยมีหัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดผ่านหลอดเลือดไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">                    เลือด (<span style=\"color: #ff99cc\">blood</span>)  ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ  ส่วนที่เป็นของเหลวมี  55 เปอร์เซ็นต์  ซึ่งเรียกว่า “น้ำเลือดหรือพลาสมา(<span style=\"color: #ff99cc\">plasma</span>)”และส่วนที่เป็นของแข็งมี 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งได้แก่  เซลล์เม็ดเลือด<br />\n                     1.  <span style=\"color: #99ccff\">น้ำเลือดหรือพลาสมา</span>  ประกอบด้วยน้ำประมาณ  91  เปอร์เซ็นต์  ทำหน้าที่ลำเลียงเอนไซม์  ฮอร์โมน แก๊ส  แร่ธาตุ  วิตามิน  และสารอาหารประเภทต่างๆ ที่ผ่านการย่อยอาหารมาแล้วไป<br />\n              ให้เซลล์และรับของเสียจากเซลล์  เช่น ยูเรีย  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  น้ำ  ส่งไปกำจัดออกนอกร่างกาย<br />\n                    2.  <span style=\"color: #99ccff\">เซลล์เม็ดเลือด</span>  ประกอบด้วย <br />\n                    2.1  <span style=\"color: #cc99ff\">เซลล์เม็ดเลือดแดง</span> (<span style=\"color: #ff99cc\">red blood cell</span>)  มีลักษณะค่อนข้างกลมตรงกลางจะเว้าเข้าหากัน(คล้ายขนมโดนัท) เนื่องจากไม่มีนิวเคลียสองค์ประกอบส่วนใหญ่จะเป็นสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า <br />\n       “ฮีโมโกลบิน(<span style=\"color: #ff99cc\">hemoglobin</span>)” ซึ่งมีสมบัติในการรวมตัวกับแก๊สต่างๆ ได้ดี เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นจึงมีหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส  โดยจะลำเลียงแก๊สออกซิเจน<br />\n             ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย และลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับไปที่ปอด แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดง คือ ไขกระดูก  ผู้ชายจะมีเซลล์เม็ดเลือดแดงมากกว่าผู้หญิง<br />\n              เซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 110 – 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกนำไปทำลายที่ตับและม้าม<br />\n                  2.2  <span style=\"color: #cc99ff\">เซลล์เม็ดเลือดขาว</span>(<span style=\"color: #ff99cc\">white blood cell</span>) มีลักษณะค่อนข้างกลมไม่มีสี  และ มีนิวเคลียส  เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด มีหน้าที่ทำลายเชื้อโรคหรือสารแปลกปลอมที่เข้ามา<br />\n             สู่ร่างกาแหล่งที่สร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก  และต่อมน้ำเหลือง  มีอายุประมาณ 7 – 14 วัน<br />\n                  3.  <span style=\"color: #99ccff\">เกล็ดเลือดหรือแผ่นเลือด</span> (<span style=\"color: #ff99cc\">blood pletelet</span>)<br />\n                  ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ซึ่งมีรูปร่างกลมรี และ แบน เกล็ดเลือดมีอายุประมาณ  4 วัน  ทำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหลของเลือดจากหลอดเลือดออกสู่ภายนอก<br />\n <span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>หัวใจ<br />\n</u></strong></span>                   หัวใจ(<span style=\"color: #ff99cc\">heart</span>)ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทำให้เกิดความดันเลือดในหลอดเลือดแดง  เพื่อให้เลือดเคลื่อนที่ไปยังอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ทั่วถึงวงจรการ<br />\n                ไหลเวียนเลือดเริ่มจากหัวใจห้องบนซ้ายรับเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูงจากปอด  แล้วบีบตัวดันผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย  แล้วบีบตัวดันเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายและเปลี่ยน<br />\n                 เป็นเลือดที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงหรือเลือดดำไหลผ่านหลอดเลือดดำหัวใจห้องบนขวา  แล้วบีบตัวดันผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา  แล้วกลับเข้าสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์<br />\n                 ให้เป็นแก๊สออกซิเจน  เป็นวัฎจักรการหมุนเวียนเลือดในร่างกาย เช่น นี้ตลอดไป<br />\n หลอดเลือด<br />\n                </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>หลอดเลือด</u></strong></span>  <br />\nทำหน้าที่ลำเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่างๆ ทั่วร่างกาย และเป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจหลอดเลือดในร่างกายมี  3 ชนิด<br />\n                1.  <span style=\"color: #99ccff\">หลอดเลือดแดง</span>(<span style=\"color: #ff99cc\">artery</span>) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดดีจากหัวใจไปสู่เซลล์ต่างๆ ของร่างกายหลอดเลือดแดงมีผนังหนา  แข็งแรง  และไม่มีลิ้นกั้นภายใน  เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดง<br />\n         เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง  หรือ เรียกว่า “เลือดแดง”ยกเว้นหลอดเลือดแดงที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังปอด  ภายในเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มากหรือ<br />\n         เรียกว่า “เลือดดำ”<br />\n                2.  <span style=\"color: #99ccff\">หลอดเลือดดำ</span>(<span style=\"color: #ff99cc\">vein</span>) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดดำจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ  หลอดเลือดดำมีผนังบางกว่าหลอดเลือดแดง  มีลิ้นกั้นภายในเพื่อป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ <br />\n         เลือดที่ไหลอยู่ภายในหลอดเลือดจะเป็นเลือนที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ  ยกเว้นหลอดเลือดดำที่นำเลือดจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะเป็นเลือดแดง<br />\n                3.  <span style=\"color: #99ccff\">หลอดเลือดฝอย</span>(<span style=\"color: #ff99cc\">capillary</span>) เป็นหลอดเลือดที่เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำสานเป็นร่างแหแทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย  มีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอย <br />\n          และมีผนังบางมากเป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สและสารต่างๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ <br />\n  <br />\n<span style=\"color: #0000ff\"><strong><u>ความดันเลือด<br />\n</u></strong></span>                    ความดันเลือด (<span style=\"color: #ff99cc\">blood pressure</span>) ขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดง  ดังนี้  ความดันของหลอด<br />\n           เลือดแดงที่อยู่ใกล้หัวใจจะมีความดันสูงกว่าหลอดเลือดแดงที่อยู่ไกลหัวใจ  ส่วนในหลอดเลือดดำจะมีความดันต่ำกว่าหลอดเลือดแดงเสมอ ความดันเลือดมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตรของ<br />\n          ปรอท(mmHg) เป็นค่าตัวเลข 2 ค่า คือ  ค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวและค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เช่น 110/70  มิลลิเมตรของปรอท  ตัวเลขค่าแรก 110 คือค่าของความดันเลือด<br />\n           สูงสุด     ขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่า “ความดันซิสโทลิก” ตัวเลขค่าหลัง 70 คือค่าของความดันเลือดต่ำสูดที่หัวใจคลายตัว  เรียกว่า “ความดันไดแอสโทลิก”<br />\n                   เครื่องมือวัดความดันเลือดเรียกว่า “มาตรความดันเลือด” จะใช้คู่กับสเตตโทสโคป(<span style=\"color: #ff99cc\">stetoscope</span>)โดยจะวัดความดันที่หลอดเลือดแดง   ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัวให้เลือกออก<br />\n           จากหัวใจมีค่า 100 + อายุ และความดันเลือดขณะที่หัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน  90 มิลลิเมตรของปรอท  ถ้าเกินจะเป็นโรคความดันเลือดสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการเช่น หลอดเลือดตีบตัน<br />\n           คอเลสเทอรอลในเลือดสูง  โกรธง่ายหรือเครียดอยู่เป็นประจำ พบมากในผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีจิตใจอยู่ในสภาวะเครียด  นอกจากนี้ยังเกิดจากอารมณ์โกรธ  ทำให้ร่างกายผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา <br />\n           ซึ่งสารนี้จะมีผลต่อการบีบตัวของหัวใจโดยตรง<br />\n                ชีพจร  หมายถึงการหดตัวและการคลายตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งตรงกับจังหวะการเต้นของหัวใจคนปกติหัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งต่อนาที  การเต้นของชีพจรแต่ละคนจะแตกต่างกันปกติ<br />\n         อัตราการเต้นของชีพจรในเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับอายุและกิจกรรมที่ทำอีกด้วย<br />\n                <span style=\"color: #99ccff\">ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด</span> มีดังนี้<br />\n                1.  <span style=\"color: #cc99ff\">อายุ</span>  ผู้สูงอายุมีความดันเลือดสูงกว่าเด็ก<br />\n                2.  <span style=\"color: #cc99ff\">เพศ</span>  เพศชายมีความดันเลือดสูงกว่าเพศหญิง  ยกเว้นเพศหญิงที่ใกล้หมดประจำเดือนจะมีความดันเลือดค่อนข้างสูง<br />\n                3.  <span style=\"color: #cc99ff\">ขนาดของร่างกาย</span>  คนที่มีร่างกายขนาดใหญ่มักมีความดันเลือดสูงกว่าคนที่มีร่างกายขนาดเล็ก<br />\n                4.  <span style=\"color: #cc99ff\">อารมณ์</span>  ผู้ที่มีอารมณ์เครียด  วิตกกังวล โกรธหรือตกใจง่าย  ทำให้ความดันเลือดสูงกว่าคนที่อารมณ์ปกติ<br />\n                5. <span style=\"color: #cc99ff\"> คนทำงานหนัก</span>และ<span style=\"color: #cc99ff\">การออกกำลังกาย</span> ทำให้มีความดันเลือดสูง</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"431\" width=\"292\" src=\"/files/u30432/blod1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 245px; height: 364px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"50\" width=\"50\" src=\"/files/u30432/Emoticon-111_panda.gif\" border=\"0\" style=\"width: 86px; height: 82px\" />\n</p>\n', created = 1716797370, expire = 1716883770, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1b5b619dba906707be53653ac56feb8d' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ระบบหมุนเวียนโลหิต

ระบบหมุนเวียนโลหิต
        การหมุนเวียนของเลือดจะเกี่ยวข้องกับเลือด  หัวใจ  และหลอดเลือด  ซึ่งมีความสำคัญต่อร่างกายเนื่องจากในเลือดมีสารอาหารต่างๆ และมีแก๊สออกซิเจนที่ใช้ทำปฏิกิริยาทางเคมีกับ
             สารอาหารทำให้สารอาหารปล่อยพลังงานน้ำ และ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  โดยมีหัวใจทำหน้าที่สูบฉีดเลือดผ่านหลอดเลือดไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกาย

                    เลือด (blood)  ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ  ส่วนที่เป็นของเหลวมี  55 เปอร์เซ็นต์  ซึ่งเรียกว่า “น้ำเลือดหรือพลาสมา(plasma)”และส่วนที่เป็นของแข็งมี 45 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งได้แก่  เซลล์เม็ดเลือด
                     1.  น้ำเลือดหรือพลาสมา  ประกอบด้วยน้ำประมาณ  91  เปอร์เซ็นต์  ทำหน้าที่ลำเลียงเอนไซม์  ฮอร์โมน แก๊ส  แร่ธาตุ  วิตามิน  และสารอาหารประเภทต่างๆ ที่ผ่านการย่อยอาหารมาแล้วไป
              ให้เซลล์และรับของเสียจากเซลล์  เช่น ยูเรีย  แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์  น้ำ  ส่งไปกำจัดออกนอกร่างกาย
                    2.  เซลล์เม็ดเลือด  ประกอบด้วย
                    2.1  เซลล์เม็ดเลือดแดง (red blood cell)  มีลักษณะค่อนข้างกลมตรงกลางจะเว้าเข้าหากัน(คล้ายขนมโดนัท) เนื่องจากไม่มีนิวเคลียสองค์ประกอบส่วนใหญ่จะเป็นสารประเภทโปรตีนที่เรียกว่า
       “ฮีโมโกลบิน(hemoglobin)” ซึ่งมีสมบัติในการรวมตัวกับแก๊สต่างๆ ได้ดี เช่น แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นจึงมีหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส  โดยจะลำเลียงแก๊สออกซิเจน
             ไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย และลำเลียงแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับไปที่ปอด แหล่งสร้างเม็ดเลือดแดง คือ ไขกระดูก  ผู้ชายจะมีเซลล์เม็ดเลือดแดงมากกว่าผู้หญิง
              เซลล์เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 110 – 120 วัน หลังจากนั้นจะถูกนำไปทำลายที่ตับและม้าม
                  2.2  เซลล์เม็ดเลือดขาว(white blood cell) มีลักษณะค่อนข้างกลมไม่มีสี  และ มีนิวเคลียส  เม็ดเลือดขาวในร่างกายมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด มีหน้าที่ทำลายเชื้อโรคหรือสารแปลกปลอมที่เข้ามา
             สู่ร่างกาแหล่งที่สร้างเม็ดเลือดขาว คือ ม้าม ไขกระดูก  และต่อมน้ำเหลือง  มีอายุประมาณ 7 – 14 วัน
                  3.  เกล็ดเลือดหรือแผ่นเลือด (blood pletelet)
                  ไม่ใช่เซลล์แต่เป็นชิ้นส่วนของเซลล์ ซึ่งมีรูปร่างกลมรี และ แบน เกล็ดเลือดมีอายุประมาณ  4 วัน  ทำหน้าที่ช่วยให้เลือดแข็งตัวเมื่อมีการไหลของเลือดจากหลอดเลือดออกสู่ภายนอก
 หัวใจ
                   หัวใจ(heart)ทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทำให้เกิดความดันเลือดในหลอดเลือดแดง  เพื่อให้เลือดเคลื่อนที่ไปยังอวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกายได้ทั่วถึงวงจรการ
                ไหลเวียนเลือดเริ่มจากหัวใจห้องบนซ้ายรับเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูงจากปอด  แล้วบีบตัวดันผ่านลิ้นหัวใจลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย  แล้วบีบตัวดันเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกายและเปลี่ยน
                 เป็นเลือดที่มีคาร์บอนไดออกไซด์สูงหรือเลือดดำไหลผ่านหลอดเลือดดำหัวใจห้องบนขวา  แล้วบีบตัวดันผ่านลิ้นหัวใจลงสู่ห้องล่างขวา  แล้วกลับเข้าสู่ปอดเพื่อแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
                 ให้เป็นแก๊สออกซิเจน  เป็นวัฎจักรการหมุนเวียนเลือดในร่างกาย เช่น นี้ตลอดไป
 หลอดเลือด
               

หลอดเลือด 
ทำหน้าที่ลำเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะส่วนต่างๆ ทั่วร่างกาย และเป็นเส้นทางให้เลือดจากอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจหลอดเลือดในร่างกายมี  3 ชนิด
                1.  หลอดเลือดแดง(artery) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดดีจากหัวใจไปสู่เซลล์ต่างๆ ของร่างกายหลอดเลือดแดงมีผนังหนา  แข็งแรง  และไม่มีลิ้นกั้นภายใน  เลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดง
         เป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูง  หรือ เรียกว่า “เลือดแดง”ยกเว้นหลอดเลือดแดงที่นำเลือดออกจากหัวใจไปยังปอด  ภายในเป็นเลือดที่มีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มากหรือ
         เรียกว่า “เลือดดำ”
                2.  หลอดเลือดดำ(vein) เป็นหลอดเลือดที่นำเลือดดำจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสู่หัวใจ  หลอดเลือดดำมีผนังบางกว่าหลอดเลือดแดง  มีลิ้นกั้นภายในเพื่อป้องกันเลือดไหลย้อนกลับ
         เลือดที่ไหลอยู่ภายในหลอดเลือดจะเป็นเลือนที่มีปริมาณแก๊สออกซิเจนต่ำ  ยกเว้นหลอดเลือดดำที่นำเลือดจากปอดเข้าสู่หัวใจ จะเป็นเลือดแดง
                3.  หลอดเลือดฝอย(capillary) เป็นหลอดเลือดที่เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำสานเป็นร่างแหแทรกอยู่ตามเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย  มีขนาดเล็กละเอียดเป็นฝอย
          และมีผนังบางมากเป็นแหล่งที่มีการแลกเปลี่ยนแก๊สและสารต่างๆ ระหว่างเลือดกับเซลล์ 
  
ความดันเลือด
                    ความดันเลือด (blood pressure) ขณะหัวใจบีบตัวและคลายตัวเพื่อสูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดง  ดังนี้  ความดันของหลอด
           เลือดแดงที่อยู่ใกล้หัวใจจะมีความดันสูงกว่าหลอดเลือดแดงที่อยู่ไกลหัวใจ  ส่วนในหลอดเลือดดำจะมีความดันต่ำกว่าหลอดเลือดแดงเสมอ ความดันเลือดมีหน่วยวัดเป็นมิลลิเมตรของ
          ปรอท(mmHg) เป็นค่าตัวเลข 2 ค่า คือ  ค่าความดันเลือดขณะหัวใจบีบตัวและค่าความดันเลือดขณะหัวใจคลายตัว เช่น 110/70  มิลลิเมตรของปรอท  ตัวเลขค่าแรก 110 คือค่าของความดันเลือด
           สูงสุด     ขณะหัวใจบีบตัว เรียกว่า “ความดันซิสโทลิก” ตัวเลขค่าหลัง 70 คือค่าของความดันเลือดต่ำสูดที่หัวใจคลายตัว  เรียกว่า “ความดันไดแอสโทลิก”
                   เครื่องมือวัดความดันเลือดเรียกว่า “มาตรความดันเลือด” จะใช้คู่กับสเตตโทสโคป(stetoscope)โดยจะวัดความดันที่หลอดเลือดแดง   ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัวให้เลือกออก
           จากหัวใจมีค่า 100 + อายุ และความดันเลือดขณะที่หัวใจรับเลือดไม่ควรเกิน  90 มิลลิเมตรของปรอท  ถ้าเกินจะเป็นโรคความดันเลือดสูง ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลายประการเช่น หลอดเลือดตีบตัน
           คอเลสเทอรอลในเลือดสูง  โกรธง่ายหรือเครียดอยู่เป็นประจำ พบมากในผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีจิตใจอยู่ในสภาวะเครียด  นอกจากนี้ยังเกิดจากอารมณ์โกรธ  ทำให้ร่างกายผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา
           ซึ่งสารนี้จะมีผลต่อการบีบตัวของหัวใจโดยตรง
                ชีพจร  หมายถึงการหดตัวและการคลายตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งตรงกับจังหวะการเต้นของหัวใจคนปกติหัวใจเต้นเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งต่อนาที  การเต้นของชีพจรแต่ละคนจะแตกต่างกันปกติ
         อัตราการเต้นของชีพจรในเพศชายจะสูงกว่าเพศหญิง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับอายุและกิจกรรมที่ทำอีกด้วย
                ปัจจัยที่มีผลต่อความดันเลือด มีดังนี้
                1.  อายุ  ผู้สูงอายุมีความดันเลือดสูงกว่าเด็ก
                2.  เพศ  เพศชายมีความดันเลือดสูงกว่าเพศหญิง  ยกเว้นเพศหญิงที่ใกล้หมดประจำเดือนจะมีความดันเลือดค่อนข้างสูง
                3.  ขนาดของร่างกาย  คนที่มีร่างกายขนาดใหญ่มักมีความดันเลือดสูงกว่าคนที่มีร่างกายขนาดเล็ก
                4.  อารมณ์  ผู้ที่มีอารมณ์เครียด  วิตกกังวล โกรธหรือตกใจง่าย  ทำให้ความดันเลือดสูงกว่าคนที่อารมณ์ปกติ
                5.  คนทำงานหนักและการออกกำลังกาย ทำให้มีความดันเลือดสูง

 

 

สร้างโดย: 
นส.สุรีพร ดอกกลาง เลขที่ 10 ม.6/6

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 243 คน กำลังออนไลน์