• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e740470281699bcc976ea61f84b0e289' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/%20/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/sit_0.jpg\" width=\"100\" height=\"30\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/mnunk.jpg\" width=\"158\" height=\"198\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg\" title=\"http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg\">http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><u><b>การนั่งกำหนด</b></u></span><br />\n<b>การนั่งกำหนด ๒ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติจงเลือกนั่งสมาธิในท่าที่ตนเองถนัด ( เรียงขา ขาทับกัน ขัดสมาธิเพชร ) จากนั้นให้วางมือซ้อนกันนิ้วหัวแม่มือจะชิดกันก็ได้ ยืดกายให้ตั้งตรง อย่ายืดมากจนรู้สึกว่าเกรงพยายามให้ผ่อนคลาย หลับตาลงเบาๆจากนั้นให้กำหนดรู้อาการพอง – ยุบ บริกรรมในใจว่า พองหนอ สติต้องตามระลึกรู้อาการตั้งแต่ท้องเริ่มพอง ขณะอาการพองตั้งอยู่ ขณะที่พองหายไป ยุบหนอก็ให้กำหนดตั้งแต่เริ่มยุบ ขณะอาการยุบตั้งอยู่ และยุบหายไป คำบริกรรมและอาการพอง – ยุบต้องตรงกันอย่างสอดคล้อง ไม่ใช่พอง – ยุบหายไปแล้วจึงค่อยบริกรรมตามหลัง หรือพอง – ยุบยังไม่ปรากฏก็บริกรรมไปก่อนเสียแล้ว ส่วนหนอนั้นบริกรรมต่อท้ายเมื่ออาการนั้นๆสิ้นสุดลงพร้อมกัน หมายเหตุ สำหรับนักปฏิบัติที่กำหนดอาการพองยุบได้ยากแนะนำให้กำหนด อาการนั่งหนอ อาการถูกหนอ ซึ่งจัดเป็นการนั่งกำหนด ๒ ระยะเช่นกัน<br />\n<b>การนั่ง ๓ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓ นั่งหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติที่สามารถกำหนดอาการพอง – ยุบ ๒ ระยะได้ชัดเจนแล้ว และมีสภาวะที่อื้อต่อการเพิ่มระยะของการนั่ง เช่นขณะที่กำหนดอาการยุบหนอนั้นอาการพองค่อยๆ ปรากฏขึ้นมาอย่างช้าๆ จนทำให้เกิดช่องว่างหรือมีที่ห่างพอจะใส่คำกำหนดว่า “นั่งหนอ”ได้ การใส่คำบริกรรม นั่งหนอ ต้องกำหนดให้เร็วขึ้นนิดหน่อยก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมา ถ้าอาการพองปรากฏขึ้นมาแล้วจะใส่คำบริกรรมว่านั่งหนอไม่ได้<br />\nข้อควรระวัง บางท่านไม่เข้าใจก็ไปบังคับไม่ให้ท้องพอง ซึ่งเป็นการฝืนสภาวะความเป็นจริงจะทำให้รู้สึกแน่นอึดอัด หายใจลำบากและเหนื่อยมาก จริงๆ แล้วเมื่อสภาวะของสมาธิถึงแล้วจะมีช่องว่างพอเพียงที่จะใส่คำบริกรรมได้ การกำหนดอาการนั่งหนอให้กำหนดเพียงรู้อาการนั่งเท่านั้น ( อาการของกายท่อนล่างคู้งอ กายท่อนบนตั้งตรง ) ความรู้สึกตัวว่านั่งอยู่ชั่วแวบเดียว ไม่ต้องถูกที่ใดๆ เลย<br />\n<b>การนั่งกำหนด ๔ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓นั่งหนอ, ถูกหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติที่ผ่านการกำหนดพอง - ยุบ 3 ระยะมาแล้ว ถ้าช่องว่างหรือยังมีที่ห่างมากพอที่จะเติมคำบริกรรมว่าถูกหนอได้อีก ก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมาก็ให้เพิ่มคำบริกรรมนี้เข้าไปจะได้พอดีกัน การกำหนด ถูกหนอ ให้กำหนดอาการถูกหนอที่ ก้นย้อยทางขวา โดยให้กำหนดรู้เพียงอาการถูกต้องสัมผัสเพียงด้านเดียวก่อน เพราะถ้ากำหนดทั้งสองด้านอาจจะทำให้สับสนหรือเกิดอาการมึนงงได้ เมื่อมีสภาวะที่เกื้อกูลและเหมาะสมแล้ว จึงจะให้การกำหนดย้ายถูกอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งวิปัสสนาจารย์จะเป็นผู้แนะนำวิธีกำหนดแก่นักปฏิบัติเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/%20/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>ก. หลักการปฏิบัติ</b><br />\nนิสีทะติ ปัลลังกัง อาภุชิตวา อุชุง กายัง ปะณิธายะ, ปะริมุขัง สะติง อุปัฏฐะเปตวา.<br />\nนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ตั้งสติเข้าสู่อารมณ์ (กรรมฐาน) เฉพาะหน้า<br />\n<b>ข. วิธีปฏิบัติ</b><br />\n๑. นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายให้ตรง คอตรง<br />\n๒. ต้องมีสติระลึกรู้อาการ เคลื่อนไหวของท้องพอง-ยุบ<br />\n๓. จิตใจจดจ่อและแนบชิดที่อาการขึ้นๆ ลงๆ ของท้องพอง-ยุบ<br />\n๔. วางจิตกำหนดที่ตรงสะดือขณะที่กำหนดควรหลับตา<br />\n๕. ใช้จิตเพียรดูอาการเคลื่อนไหวบริเวณท้อง<br />\n๖. ขณะที่ท้องพองขึ้นกำหนด บริกรรมในใจ ว่า “พองหนอ”<br />\n๗. ขณะที่ท้องแฟบลงกำหนด บริกรรมในใจ ว่า “ยุบหนอ”<br />\n<b>๘</b>. จิตที่รู้อาการพอง-ยุบ กับคำบริกรรม และสติที่ระลึกรู้ควรให้พร้อมกัน<b><br />\nค. สิ่งที่พึงเว้นขณะนั่งกำหนด</b><br />\n๑. ไม่นั่งตัวงอ เอนเอียง หรือก้มศีรษะ (เว้นแต่มีสภาพร่างกายเป็นเช่นนั้น)<br />\n๒. ไม่เปล่งเสียงหรือบ่นพึมพำในขณะกำหนดอาการพอง-ยุบ<br />\n๓. ไม่ควรลืมตาเพื่อสอดส่ายหาอารมณ์ภายนอก<br />\n๔. ไม่ควรพยายามเคลื่อนไหวร่างกายบ่อยจนเกินไป<br />\n๕. ไม่ควรนั่งพิงเก้าอี้ พนักพิง เสา (ยกเว้นแก้สภาวะ)<br />\n๖. ไม่ควรนำคำบริกรรมที่ไม่ตรงตามสภาวธรรมที่เป็นจริงมาใช้ เช่นในขณะที่ปวด บริกรรมว่า ไม่ปวดหนอ ๆ เป็นต้น<br />\n๗. ไม่ควรบังคับลมหายใจเข้า-ออก เพื่อหวังจะกำหนดอาการพอง-ยุบ พยายามกำหนดให้ใกล้เคียงธรรมชาติมากที่สุด<br />\nง. นักปฏิบัติที่กำหนดอาการพอง-ยุบได้ยากควรกระทำ ดังนี้<br />\n๑. ใช้ฝ่ามือแตะที่หน้าท้องตรงบริเวณสะดือเพียงเบา ๆ<br />\n๒.รู้อาการเคลื่อนไหวของท้องขณะที่มีอาการพองดันมือขึ้น บริกรรมในใจว่า “พองหนอ”<br />\n๓.ขณะอาการดังกล่าวละจากฝ่ามือของเราไปพึงตั้งสติกำหนดว่า “ยุบหนอ”<br />\n๔. กำหนดรู้อาการนั่งหนอ ถูกหนอ แทนอาการพอง-ยุบหรือบริกรรมในใจเพียงรู้อาการนั่งก็ได้ (สำหรับผู้เคยทำอานาปานฯมาก่อนแนะนำให้ใช้วิธีนี้)<br />\n๕. กำหนดรู้อาการถูกตรงก้นย้อยขวาสัมผัสพื้น โดยบริกรรมว่า “ถูกหนอ”<br />\n๖. สำหรับบางท่านขณะกำหนดอาการพอง-ยุบ มักจะใส่หนอไม่ทันก็ไม่ต้องเป็นกังวล เพียรพยายามกำหนดรู้ตามอาการนั้นๆ เมื่อวิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา แก่กล้าขึ้น จะสามารถใส่หนอได้เอง<br />\n๗. พยายามคลายเครื่องนุ่งห่มให้หลวม อาจช่วยให้การกำหนดพอง-ยุบได้ง่าย<br />\n๘. นอนหงายวางมือขวามือซ้ายซ้อนกันบนหน้าท้อง จากนั้นเฝ้าดูอาการพอง-ยุบอย่างมีสติ<br />\n<b>การกำหนดดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในทางร่างกาย</b> อนุโลมลงได้ในหมวดกายานุปัสสนาสติปัฏฐาน การมีสติตามระลึกรู้กายในกาย โดยพระพุทธองค์ตรัสไว้ในคัมภีร์มหาสติปัฎฐานสูตร หมวดอิริยาบถว่า ยะถา ยะถา วา ปะนัสสะ กาโยปะณิหิโต โหติ, ตะถา ตะถา นัง ปะชานาติ กายของ (ภิกษุ/โยคี) ดำรงอยู่โดยอาการใดๆ ก็กำหนดรู้กายนั้นโดยอาการนั้นๆ (ที. มหา ๑๐/๑๐/๓๗๕/๒๔๙) การกำหนดอาการพอง-ยุบ จัดเป็นอาการที่ปรากฏในส่วนแห่งร่างกาย พร้อมกันนี้การกำหนดพอง-ยุบ ยังเป็นการกำหนดวาโยโผฏฐัพพะรูป ซึ่งอาจจะกล่าวโดยอนุโลมได้ว่าเป็นการกำหนดอานาปานโดยอ้อมเช่นเดียวกัน อีกนัยหนึ่งการกำหนดรู้อาการพอง-ยุบ เป็นการกำหนดรู้อาการเคลื่อนไหวของธาตุลม (กุจฉิสยวาโย ลมในท้อง) พอง – ยุบ เป็นรูป จิตที่กำหนดรู้เป็นนาม ซึ่งจัดว่าเป็นอารมณ์ของวิปัสสนากรรมฐานด้วยเช่นกัน\n</p>\n<p>\n<b>ความหมายของการกำหนดรู้</b><br />\nการกำหนด หมายถึง การเอาจิตเข้าไปจดจ่อเฝ้าดูสภาวธรรมอันปรากฏขึ้นตามความเป็นจริง ด้วยวิริยะ สติ สมาธิ ปัญญา โดยปราศจากการคิดนึกพิจารณาปรุงแต่ง หรือเพิ่มเติมสิ่งใดๆ ลงไปในทุกๆขณะที่มีการกำหนด ขณะที่นักปฏิบัติ กำหนดอาการพอง - ยุบ อาจมีอารมณ์แทรกปรากฏขึ้นชัดเจนกว่า ควรละการกำหนดอาการพอง - ยุบ ชั่วคราว จากนั้นตั้งใจกำหนดอารมณ์ที่แทรกเข้ามานั้น จนกระทั่งดับไป เสื่อมไป หรือไม่ชัดเจนแล้วจึงค่อยกลับมากำหนอาการพอง - ยุบ ต่อไป เมื่อครบตามกำหนดเวลาที่ตั้งใจจะนั่ง เช่น 5, 10, 20, 30,45,60 นาที จึงกำหนดเปลี่ยนอิริยาบถไปเดินจงกรม เพื่อปรับแต่งอิริยาบถและอินทรีย์ 5 ให้มีความสม่ำเสมอกัน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715572738, expire = 1715659138, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e740470281699bcc976ea61f84b0e289' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2fd0cd9a7e7629acb5db92bfc6a88051' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/%20/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/sit_0.jpg\" width=\"100\" height=\"30\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/mnunk.jpg\" width=\"158\" height=\"198\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg\" title=\"http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg\">http://photos1.blogger.com/blogger/2363/1562/1600/mnunk.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"><u><b>การนั่งกำหนด</b></u></span><br />\n<b>การนั่งกำหนด ๒ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติจงเลือกนั่งสมาธิในท่าที่ตนเองถนัด ( เรียงขา ขาทับกัน ขัดสมาธิเพชร ) จากนั้นให้วางมือซ้อนกันนิ้วหัวแม่มือจะชิดกันก็ได้ ยืดกายให้ตั้งตรง อย่ายืดมากจนรู้สึกว่าเกรงพยายามให้ผ่อนคลาย หลับตาลงเบาๆจากนั้นให้กำหนดรู้อาการพอง – ยุบ บริกรรมในใจว่า พองหนอ สติต้องตามระลึกรู้อาการตั้งแต่ท้องเริ่มพอง ขณะอาการพองตั้งอยู่ ขณะที่พองหายไป ยุบหนอก็ให้กำหนดตั้งแต่เริ่มยุบ ขณะอาการยุบตั้งอยู่ และยุบหายไป คำบริกรรมและอาการพอง – ยุบต้องตรงกันอย่างสอดคล้อง ไม่ใช่พอง – ยุบหายไปแล้วจึงค่อยบริกรรมตามหลัง หรือพอง – ยุบยังไม่ปรากฏก็บริกรรมไปก่อนเสียแล้ว ส่วนหนอนั้นบริกรรมต่อท้ายเมื่ออาการนั้นๆสิ้นสุดลงพร้อมกัน หมายเหตุ สำหรับนักปฏิบัติที่กำหนดอาการพองยุบได้ยากแนะนำให้กำหนด อาการนั่งหนอ อาการถูกหนอ ซึ่งจัดเป็นการนั่งกำหนด ๒ ระยะเช่นกัน<br />\n<b>การนั่ง ๓ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓ นั่งหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติที่สามารถกำหนดอาการพอง – ยุบ ๒ ระยะได้ชัดเจนแล้ว และมีสภาวะที่อื้อต่อการเพิ่มระยะของการนั่ง เช่นขณะที่กำหนดอาการยุบหนอนั้นอาการพองค่อยๆ ปรากฏขึ้นมาอย่างช้าๆ จนทำให้เกิดช่องว่างหรือมีที่ห่างพอจะใส่คำกำหนดว่า “นั่งหนอ”ได้ การใส่คำบริกรรม นั่งหนอ ต้องกำหนดให้เร็วขึ้นนิดหน่อยก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมา ถ้าอาการพองปรากฏขึ้นมาแล้วจะใส่คำบริกรรมว่านั่งหนอไม่ได้<br />\nข้อควรระวัง บางท่านไม่เข้าใจก็ไปบังคับไม่ให้ท้องพอง ซึ่งเป็นการฝืนสภาวะความเป็นจริงจะทำให้รู้สึกแน่นอึดอัด หายใจลำบากและเหนื่อยมาก จริงๆ แล้วเมื่อสภาวะของสมาธิถึงแล้วจะมีช่องว่างพอเพียงที่จะใส่คำบริกรรมได้ การกำหนดอาการนั่งหนอให้กำหนดเพียงรู้อาการนั่งเท่านั้น ( อาการของกายท่อนล่างคู้งอ กายท่อนบนตั้งตรง ) ความรู้สึกตัวว่านั่งอยู่ชั่วแวบเดียว ไม่ต้องถูกที่ใดๆ เลย<br />\n<b>การนั่งกำหนด ๔ ระยะ และวิธีปฏิบัติ<br />\nคำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓นั่งหนอ, ถูกหนอ</b><br />\nนักปฏิบัติที่ผ่านการกำหนดพอง - ยุบ 3 ระยะมาแล้ว ถ้าช่องว่างหรือยังมีที่ห่างมากพอที่จะเติมคำบริกรรมว่าถูกหนอได้อีก ก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมาก็ให้เพิ่มคำบริกรรมนี้เข้าไปจะได้พอดีกัน การกำหนด ถูกหนอ ให้กำหนดอาการถูกหนอที่ ก้นย้อยทางขวา โดยให้กำหนดรู้เพียงอาการถูกต้องสัมผัสเพียงด้านเดียวก่อน เพราะถ้ากำหนดทั้งสองด้านอาจจะทำให้สับสนหรือเกิดอาการมึนงงได้ เมื่อมีสภาวะที่เกื้อกูลและเหมาะสมแล้ว จึงจะให้การกำหนดย้ายถูกอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งวิปัสสนาจารย์จะเป็นผู้แนะนำวิธีกำหนดแก่นักปฏิบัติเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1715572738, expire = 1715659138, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2fd0cd9a7e7629acb5db92bfc6a88051' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

นั่ง

การนั่งกำหนด
การนั่งกำหนด ๒ ระยะ และวิธีปฏิบัติ
คำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ

นักปฏิบัติจงเลือกนั่งสมาธิในท่าที่ตนเองถนัด ( เรียงขา ขาทับกัน ขัดสมาธิเพชร ) จากนั้นให้วางมือซ้อนกันนิ้วหัวแม่มือจะชิดกันก็ได้ ยืดกายให้ตั้งตรง อย่ายืดมากจนรู้สึกว่าเกรงพยายามให้ผ่อนคลาย หลับตาลงเบาๆจากนั้นให้กำหนดรู้อาการพอง – ยุบ บริกรรมในใจว่า พองหนอ สติต้องตามระลึกรู้อาการตั้งแต่ท้องเริ่มพอง ขณะอาการพองตั้งอยู่ ขณะที่พองหายไป ยุบหนอก็ให้กำหนดตั้งแต่เริ่มยุบ ขณะอาการยุบตั้งอยู่ และยุบหายไป คำบริกรรมและอาการพอง – ยุบต้องตรงกันอย่างสอดคล้อง ไม่ใช่พอง – ยุบหายไปแล้วจึงค่อยบริกรรมตามหลัง หรือพอง – ยุบยังไม่ปรากฏก็บริกรรมไปก่อนเสียแล้ว ส่วนหนอนั้นบริกรรมต่อท้ายเมื่ออาการนั้นๆสิ้นสุดลงพร้อมกัน หมายเหตุ สำหรับนักปฏิบัติที่กำหนดอาการพองยุบได้ยากแนะนำให้กำหนด อาการนั่งหนอ อาการถูกหนอ ซึ่งจัดเป็นการนั่งกำหนด ๒ ระยะเช่นกัน
การนั่ง ๓ ระยะ และวิธีปฏิบัติ
คำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓ นั่งหนอ

นักปฏิบัติที่สามารถกำหนดอาการพอง – ยุบ ๒ ระยะได้ชัดเจนแล้ว และมีสภาวะที่อื้อต่อการเพิ่มระยะของการนั่ง เช่นขณะที่กำหนดอาการยุบหนอนั้นอาการพองค่อยๆ ปรากฏขึ้นมาอย่างช้าๆ จนทำให้เกิดช่องว่างหรือมีที่ห่างพอจะใส่คำกำหนดว่า “นั่งหนอ”ได้ การใส่คำบริกรรม นั่งหนอ ต้องกำหนดให้เร็วขึ้นนิดหน่อยก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมา ถ้าอาการพองปรากฏขึ้นมาแล้วจะใส่คำบริกรรมว่านั่งหนอไม่ได้
ข้อควรระวัง บางท่านไม่เข้าใจก็ไปบังคับไม่ให้ท้องพอง ซึ่งเป็นการฝืนสภาวะความเป็นจริงจะทำให้รู้สึกแน่นอึดอัด หายใจลำบากและเหนื่อยมาก จริงๆ แล้วเมื่อสภาวะของสมาธิถึงแล้วจะมีช่องว่างพอเพียงที่จะใส่คำบริกรรมได้ การกำหนดอาการนั่งหนอให้กำหนดเพียงรู้อาการนั่งเท่านั้น ( อาการของกายท่อนล่างคู้งอ กายท่อนบนตั้งตรง ) ความรู้สึกตัวว่านั่งอยู่ชั่วแวบเดียว ไม่ต้องถูกที่ใดๆ เลย
การนั่งกำหนด ๔ ระยะ และวิธีปฏิบัติ
คำบริกรรม ๑ พองหนอ, ๒ ยุบหนอ, ๓นั่งหนอ, ถูกหนอ

นักปฏิบัติที่ผ่านการกำหนดพอง - ยุบ 3 ระยะมาแล้ว ถ้าช่องว่างหรือยังมีที่ห่างมากพอที่จะเติมคำบริกรรมว่าถูกหนอได้อีก ก่อนที่อาการพองจะปรากฏขึ้นมาก็ให้เพิ่มคำบริกรรมนี้เข้าไปจะได้พอดีกัน การกำหนด ถูกหนอ ให้กำหนดอาการถูกหนอที่ ก้นย้อยทางขวา โดยให้กำหนดรู้เพียงอาการถูกต้องสัมผัสเพียงด้านเดียวก่อน เพราะถ้ากำหนดทั้งสองด้านอาจจะทำให้สับสนหรือเกิดอาการมึนงงได้ เมื่อมีสภาวะที่เกื้อกูลและเหมาะสมแล้ว จึงจะให้การกำหนดย้ายถูกอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งวิปัสสนาจารย์จะเป็นผู้แนะนำวิธีกำหนดแก่นักปฏิบัติเอง

สร้างโดย: 
นางสาวพัชรภรณ์ บับพาน สตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพฯและพระอาจารย์มหาถวิล จารุเตโช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 218 คน กำลังออนไลน์