• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c7737d756f9a99733a336864c951f0e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><!--[endif]--><!--[endif]--><div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/2720.jpg\" width=\"304\" height=\"229\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg\" title=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/kan1.jpg\" width=\"200\" height=\"71\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/uuuuu.gif\" width=\"40\" height=\"52\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #800000\"><u><b>การบริหารจิต</b></u></span><b> </b></span> หมายถึง การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง โดยเริ่มจากการฝึกฝนจิตให้เกิดสติและฝึกสมาธิให้เกิดขึ้นในจิต<br />\n</span>\n</p>\n<p>\nในการที่จะให้จิตมีสติได้นั้น ผู้ฝึกต้องมีวิธีการดังนี้คือ การตั้งใจให้มีสติปสัมปชัญญะอยู่เสมอ การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วนและการมีใจน้อมไปในการมีสติคืออยากจะมีสติมั่นคง กล่าวคือ\n</p>\n<p>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การตั้งใจให้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ </b> คือ ผู้ฝึกจะต้องตั้งใจกำหนดรู้สึกตัวอยู่ทุกขณะไม่ว่าจะทำอะไรก็ต้องใคร่ครวญทำช้าๆ อย่ารวดเร็วเกินไป เช่น ในขณะเดิน ยืน นั่ง นอน จะต้องพยายามให้ตัวสติระลึกอยู่ตลอดเวลาทุกๆ อิริยาบถ และมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เสมอ เมื่อตั้งใจปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวก็จะทำให้ผู้นั้นมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง</b> คือ พยายามเข้าสมาคมกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคงด้วยการทำ การพุด และการแสดงออกอื่นๆ ยกตัวอย่าง เช่น การเข้าไปพบปะสนทนากับพระสงฆ์ผู้ฝึกสมาธิมาดีแล้ว โดยพิจารณาจากการพูดและการกระทำ ท่านจะอยู่ในลักษณะสำรวมระมัดระวังอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทำให้เราผู้เข้าร่วมสมาคมด้วยเกิดการตั้งสติและมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวสำรวมระมัดระวังตัวเช่นเดียวกับท่าน<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วย</b> คือ คนใดที่มีสติฟั่นเฟือน หลงๆ ลืมๆ ซึ่งมีการกระทำการพูดผิดๆ ถูกๆ อยู่ตลอดนั้น เราไม่ควรจะไปคบด้วย เพราะการสมาคมกับคนประเภทนี้บ่อยๆ เข้าบางทีจะทำให้เราติดโรคสติฟั่นเฟือนได้ เว้นได้แต่เข้าไปคบด้วยความสงสาร เพื่อจะแนะนำเขาในบางครั้งบางคราวเท่านั้น<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การมีใจน้อมไปในการมีสติ </b> คืออยากเป็นคนมีสติมั่นคง โดยตัวเราเองต้องพยายามขวนขวายปลุกใจให้เห็นคุณค่าในการมีสติสัมปชัญญะแล้วปฏิบัติธรรมเพื่อนำจิตของตนให้เป็นสมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิในขั้นต้น แม้เพียงขณิกสมาธิอันเป็นสมาธิชั่วขณะที่เกิดขึ้นกับคนทั่วๆ ไปในการปฏิบัติงานในชีวิตประจำวัน เท่านี้ก็จะทำให้เราเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะดีขึ้นอย่างแน่นอน<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้แล้วพระพุทธเจ้ายังได้ทรงแสดงวิธีการฝึกสติให้สมบูรณ์ไว้ในสติปัฏฐาน ๔ อย่าง\n</p>\n<p>\nกล่าวคือ การดำรงสติไว้ที่ฐานมี ๔ อย่าง ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม และกำหนดพิจารณาฐานทั้ง ๔ เหล่านั้น เช่น กายานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณากายเป็นอารมณ์ เวทนานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนาเป็นอารมณ์ จิตตานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาจิตเป็นอารมณ์ และธัมมานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรมเป็นอารมณ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/uuuuu.gif\" width=\"40\" height=\"52\" /><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #800000\"><b><u>ผลของการบริหารจิต</u></b></span></span><br />\nทำให้เป็นคนที่มีสุขภาพจิตดี มีความรู้ความเข้าใจโลกและชีวิตได้ถูกต้อง คนเช่นนี้ไม่ว่าจะทำอะไรย่อมประสบความสำเร็จ อยู่ที่ใดก็ได้รับความสุขสงบแห่งจิตใจ เมื่อเผชิญกับปัญหาอุปสรรคต่างๆ ก็สามารถเอาตัวรอดได้ ไม่คิดสั้น<br />\nการบริหารจิตคือการควบคุมจิตให้อยู่ในกรอบอันดีงามสงบนิ่งไม่ฟุ้งซ่านโดยการใช้สมาธิซึ่งจะควบคุมจิตให้สงบมีพลังและเป็นพื้นฐานของปัญญาอีกชั้นหนึ่ง การบริหารจิตคือ สมถะ การเจริญปัญญา คือ วิปัสสนา เมื่อกล่าวโดยรวมจะเรียกว่า <i><b>สมถวิปัสสนา<br />\n</b></i>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/ph285021511.jpg\" width=\"302\" height=\"217\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://learners.in.th/file/chacha08/ph285021511.jpg\" title=\"http://learners.in.th/file/chacha08/ph285021511.jpg\">http://learners.in.th/file/chacha08/ph285021511.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/uuuuu.gif\" width=\"40\" height=\"52\" /><u><span style=\"color: #800000\"><b>สมถวิปัสสนาจำแนกออกเป็น 2 วิธี</b></span></u><br />\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b>สมถกัมมัฏฐาน</b> คืออุบายสงบใจหรือวิธีฝึกอบรมจิตให้เป็นสมาธิ เพื่อเป็นการระงับนิวรณ์อันเป็นสิ่งปิดกั้นจิตไว้ไม้ให้บรรลุความดี<br />\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b>วิปัสสนากัมมัฏฐาน</b> คือ อุบายเรื่องปัญญาหรือวิธีฝึกอบรมปัญญาให้เกิดความรู้ตามที่เป็นจริงโดยการ พิจารณาให้เห็นถึงนามรูป ซึ่งจะสามารถทำลายอวิชชาลงได้<br />\nสมถะและวิปัสสนาต่างก็เป็นปัจจัยซึ่งกันและกันกล่าวคือ เมื่อปฏิบัติสามธิจนสงบจิตใจไม่ฟุ้งซ่าน ซึ่งจะเป็นพื้นฐานให้อบรมปัญญาได้ เมื่อเกิดปัญญารู้แจ้งก็จะกำจัดอวิชชาลงได้ ซึ่งจะส่งผลมายังจิตให้สงบ เยือกเย็นมากยิ่งขึ้น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><img src=\"/files/u31927/uuuuu.gif\" width=\"40\" height=\"52\" /><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #800000\"><u><b>ประโยชน์ของสมถวิปัสสนา</b></u></span></span><br />\nผู้เจริญสมถกัมมัฏฐาน ย่อมเกิดสมาธิ ส่วนผู้ที่เจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานย่อมเกิดปัญญา ประโยชน์ของสมถวิปัสสนาแยกได้ 2 ประการคือ<br />\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b>ประโยชน์ของสมาธิ</b> ผู้ที่มีสมาธิมั่นคงย่อมมีจิตใจที่พร้อมจะกระทำสิ่งต่าง ๆ ให้สำเร็จได้โดยง่าย เช่น ทางด้านการศึกษาเล่าเรียน เมื่อมีสมาธิที่ตั้งมั่นการศึกษาย่อมจะได้ผลดีขึ้น นอกจากนี้ยังมีประโยชน์ในการทำงานการควบคุมกิเลส และที่สำคัญคือ เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ทั้งนี้เพราะเมื่อสุขภาพดีแข็งแรงสมบูรณ์ ก็จะส่งผลให้สุขภาพจิตมีคุณภาพดียิ่งขึ้น เช่นเดียวกัน<br />\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b>ประโยชน์ของปัญญา</b> จิตที่สงบดีแล้วย่อมเห็นสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง คือ การเกิดปัญญาซึ่งประโยชน์ของปัญญานั้นมีหลายลักษณะด้วยกัน เช่น ก่อให้เกิดความเจริญแก่โลก โดยการสร้างวิทยาการสมัยใหม่ขึ้นมานอกจากนี้ยังก่อให้เกิดความเจริญ รุ่งเรือง และความสำเร็จในชีวิตคือสามารถที่จะวิเคราะห์วางแผนเพื่อปฏิบัติให้สำเร็จ ตามเป้าหมายของชีวิต และสุดท้ายปัญญาทำให้เกิดความสุขในชีวิต คือสามารถที่จะรู้ถึงเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เมื่อเกิดปัญหาผู้ที่มีปัญญาก็สามรถที่จะแก้ไขให้สำเร็จไปได้ด้วยดี</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/series_no_2349_3_90873.jpg\" width=\"300\" height=\"251\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><b><span style=\"color: #993300\">การบริหารจิตตามหลักสติปัฏฐาน</span></b></u><br />\n<b>๑) ความหมายของ สติปัฏฐาน</b><br />\nแปลว่า ที่ตั้งของสติ<br />\nหมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาสิ่งทั้งหลายให้รู้เห็นตามความเป็นจริง คือตามที่สิ่งนั้นๆ มันเป็นของมันเอง<br />\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b><i>กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน</i></b> หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณากายให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่าเป็นแต่เพียงกายไม่ใช่สัตว์บุคคลเราเขา มีวิธีปฏิบัติหลายวิธี คือ<br />\n- อานาปานสติ การกำหนดลมหายใจเข้าใจ<br />\n- อิริยาบถ การกำหนดรู้ทันอาการยืน เดิน นั่ง นอน<br />\n- สัมปชัญญะ การสร้างสัมปชัญญะในการกระทำความเคลื่อนไหวทุกอย่างของกาย<br />\n- ปฏิกูลมนนิการ การพิจารณาส่วนประกอบอันไม่สะอาดทั้งหลายที่ประชุมเข้าเป็นร่างกายนนี้<br />\n- ธาตุมนสิการ การพิจารณาเห็นร่างกายของตนโดยสักว่าเป็นธาตุแต่ละอย่างๆ<br />\n- นวสีวถิกา การพิจารณาซากศพในสภาพต่างๆ อันแปลกกันไปใน 9 ระยะเวลา ให้เห็นคติธรรมของร่างกายของผู้อื่นเช่นใด ของตนก็จักเป็นเช่นนั้น<br />\n<img src=\"/files/u31927/12setadd.gif\" width=\"49\" height=\"45\" /> <a href=\"/node/89717\"><img src=\"/files/u31927/yenn_0.jpg\" width=\"100\" height=\"30\" /></a> <a href=\"/node/89718\"><img src=\"/files/u31927/den.jpg\" width=\"100\" height=\"30\" /></a> <a href=\"/node/89716\"><img src=\"/files/u31927/sit.jpg\" width=\"100\" height=\"30\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/80012\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><i><b>เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน</b></i> หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนาให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงเวทนา ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา มีสติรู้ชัดเวทนาอันเป็นสุขก็ดี ทุกข์ก็ดี เฉยๆก็ดี ทั้งที่เป็นสามิส และเป็นนิรามิสตามที่เป็นไปอยู่ในขณะนั้น<br />\n<b>เวทนา</b> หมายถึง ความรู้สึกหรือความเสวยอารมณ์ที่ปรากฏในขณะปฏิบัติทั้งทางกายและจิตใจ เช่น ความรู้สึกสุขสบายหรือทุกข์ที่ปรากฏขึ้นในทางร่างกาย ความรู้สึกเป็นสุขใจ ดีใจ ปลาบปลื้มฯ หรือทุกข์ทางใจ อึดอัด ขัดเคือง ไม่พอใจ ไม่สบายใจ เป็นต้น เวทนานี้เมื่อจำแนกออกไปแล้วมี ๓ ประเภท คือ สุขเวทนา ๑ ,ทุกข์เวทนา ๑ ,อุเบกขาเวทนา ๑ ซึ่งถ้าหากมีความชัดเจนกว่าอาการพอง - ยุบ ควรตั้งใจกำหนด จนกระทั่งเวทนาหรือความเสวยอารมณ์นั้นๆ จะเสื่อมไป หายไป ถ้ามีอารมณ์อื่นที่ชัดเจนมากกว่านี้อีก ก็ให้ย้ายไปกำหนดอารมณ์นั้นทันที ควรกำหนดทีละอารมณ์ ไม่ควรกำหนดหลายอย่างพร้อมกัน เพราะจะทำให้เกิดความสับสน จนก่อให้เกิดความเครียดมากขึ้น ซึ่งอาจจะไม่เป็นผลดีแก่นักปฏิบัติใหม่\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/83253504.jpg\" width=\"364\" height=\"243\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.sudhits.com/wp-content/uploads/2010/05/83253504.jpg\" title=\"http://www.sudhits.com/wp-content/uploads/2010/05/83253504.jpg\">http://www.sudhits.com/wp-content/uploads/2010/05/83253504.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><b>วิธีปฏิบัติ</b></span><br />\nขณะปวด กำหนดว่า ปวดหนอๆ ขณะเจ็บ กำหนดว่า เจ็บหนอๆ ขณะชา กำหนดว่า ชาหนอๆ ขณะคัน กำหนดว่า คันหนอๆ ขณะเมื่อย กำหนดว่า เมื่อยหนอๆ ขณะแสบ กำหนดว่า แสบหนอๆ เป็นต้น<br />\nการกำหนดเวทนารู้เวทนานี้นักปฏิบัติต้องมีความอดทนค่อนข้างมาก เพราะถ้ามีความอดทนน้อยคอยเปลี่ยนอิริยาบถอยู่บ่อยๆ จะทำให้เสียสมาธิมากถ้าทนไม่ไหวจริงๆ ก็ควรกำหนดเวลาในการนั่งให้น้อยลงและค่อยๆ เพิ่มไปทีละ ๓-๕-๑๐ นาที เมื่อครบตามเวลาที่ตั้งใจไว้แล้วก็ให้เปลี่ยนอิริยาบถไปเดินจงกรม เมื่อเดินจงกรมครบตามเวลาที่ได้กำหนดไว้ก็กลับมานั่ง พยายามเดินนั่งสลับกันไม่ควรจะเดินหรือนั่งอย่างเดียว เพราะจะทำให้อิริยาบถหรืออินทรีย์ ๕ ไม่สม่ำเสมอกัน ถ้าเป็นไปได้ควรเดินและนั่งให้เท่าๆ กันไปตั้งแต่เริ่มต้น การตามกำหนดรู้เวทนานี้ นับเนื่องในเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน<br />\nจะวางใจอย่าง ไรในเมื่อต้องเผชิญหน้ากับทุกขเวทนา? นักปฏิบัติต้องวางใจให้เป็นกลาง อย่าไปอยากให้หาย อย่าไปอยากเอาชนะ อย่าไปอยากรู้ว่ามันจะดับหรือไม่ดับอย่างไร ให้ทำหน้าที่เพียงแค่การเฝ้าดูอย่างมีสติเท่านั้น<br />\n<span style=\"color: #993300\"><b>การกำหนดเวทนามีอยู่ ๓ วิธี</b></span><br />\n๑. <b>การกำหนดแบบเผชิญหน้า</b> คือ ตั้งใจกำหนดแบบไม่ท้อถอยตายเป็นตาย โดยเอาจิตไปจดจ่อที่อาการปวด จี้ลงไปบริเวณที่กำลังปวดมากที่สุด วิธีนี้นักปฏิบัติจะค่อนข้างเหน็ดเหนื่อย เพราะต้องใช้พลังจิตอย่างทุ่มเทและจดจ่อมากที่สุด แต่ก็มีประโยชน์ในการรู้แจ้งทุกข์ลักษณะอย่างพิเศษ<br />\n๒. ก<b>ารกำหนดแบบลอบทำร้าย</b> คือ ตั้งใจกำหนดแบบจู่โจมในตอนแรกๆ พอรู้สึกว่ากำลังความเพียรมีน้อยก็ถอยออกมาเตรียมความพร้อมใหม่ เมื่อพร้อมแล้วก็เข้าไปกำหนดอีกครั้งหนึ่ง เช่น ขณะกำหนดปวดอยู่นั้นความปวดกลับทวีความรุนแรงมากขึ้นจนไม่สามารถทนไหว จึงหยุดกำหนดรู้อาการปวดแต่เปลี่ยนไปกำหนดรู้อาการพอง-ยุบ หรืออารมณ์อื่นๆ แทนแต่ยังไม่ถึงขั้นที่ต้องเปลี่ยนอิริยาบถไปยืนหรือเดินในขณะนั้น<br />\n๓. <b>การกำหนดแบบเฝ้าดูหรือสังเกตการณ์</b> คือ เมื่อรู้สึกว่าปวดหรือเจ็บมากก็มิได้ไปกำหนดตอกย้ำลงไปอีก เพียงแต่กำหนดรู้ดูด้วยสติปัญญาอยู่เฉยๆ เช่น กำหนดว่า ปวดหนอๆๆเจ็บหนอๆๆ เมื่อยหนอๆๆ ชาหนอๆๆ หรือ รู้หนอๆๆ เป็นต้น ไม่เน้นหรือย้ำอุปมาเหมือนทหารที่เฝ้าดูข้าศึกอยู่บนที่สูงหรือหอสังเกต การณ์ ไม่ได้ทำการสู้รบกับข้าศึกแต่ประการใด เพียงแต่เฝ้าสังเกตการเคลื่อนไหวของข้าศึกเท่านั้น\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><i><b>จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน</b></i> หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต ให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงจิต ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา มีสติรู้ชัดจิตของตนที่มีราคะ ไม่มีราคะ มีโทสะ ไม่มีโทสะ มีดมหะ ไม่มีโมหะ เศร้าหมองหรือผ่องแผ้ว ฟุ้งซ่านหรือเป็นสมาธิ ฯลฯ อย่างไรๆ ตามทีเป็นไปอยู่ในขณะนั้นๆ<br />\n<b>จิต</b> หมายถึง ธรรมชาติหรือสภาวธรรมอย่างหนึ่งที่ทำหน้าที่รับรู้อารมณ์ นักปฏิบัติควรกำหนดรู้ตามสภาพที่เป็นจริง ดังนี้<br />\nการ ตามกำหนดรู้จิต ที่คิดน้อมไปหาหรือรับอารมณ์ในที่ไกลหรือใกล้ นักปฏิบัติควรเอาใจใส่เป็นพิเศษ เพราะการกำหนดรู้จิตนั้นเป็นของละเอียดอ่อนมาก ถ้ากำหนดไม่ถูกวิธีบางครั้งทำให้สับสนและฟุ้งซ่านมากขึ้น อาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดความเครียดและอาการมึนตึงของศีรษะได้ อันเป็นปัญหาและอุปสรรคของนักปฏิบัติบางท่าน ที่ขาดความเข้าใจในวิธีกำหนดรู้แบบนี้อย่างถูกต้อง<br />\n<b>ก่อนการกำหนด</b> นักปฏิบัติต้องวางใจให้เป็นปกติเสมือนหนึ่งไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาก่อน เพราะเมื่อไม่มีสภาวะลักษณะอย่างนี้ใจเราก็เป็นปกติ ไม่มีชอบหรือชัง แต่พอสภาวะนี้เข้ามาทำให้ใจเราเสียความเป็นปรกติไป ฉะนั้น การกำหนดต้องพิจารนาด้วยสติปัญญาให้รู้ตามความจริงที่เกิดขึ้น ไม่ต้องไปคิดปรุงแต่งหรือใส่ข้อมูลอื่นใดเข้าไปอีก ขอให้กำหนดรู้อย่างเดียว มันเกิดอะไรคิดอะไรก็ให้กำหนดรู้ไปตามนั้น เพราะเรามีหน้าที่กำหนดรู้ตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้น เพื่อให้เข้าถึงความเป็นจริง หรือรู้เท่าทันความเป็นจริงที่เกิดขึ้น จนสามารถถอนอุปาทานความยึดมั่นถือมั่นลงได้ เราไม่มีหน้าที่คิด แต่จิตมีหน้าที่คิด เรามีหน้าที่กำหนดรู้ ก็ให้ทำหน้าที่กำหนดรู้ไปตามนั้น อย่าไปสร้างสิ่งใหม่ให้เป็นปัญหาแก่ตัวเอง\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/Y4732325-4.png\" width=\"230\" height=\"290\" />\n</p>\n<div align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://3.bp.blogspot.com/_e9CJcgkw3iw/S-BBFk8ixfI/AAAAAAAAArs/IYkImww-97I/s320/Y4732325-4.gif\" title=\"http://3.bp.blogspot.com/_e9CJcgkw3iw/S-BBFk8ixfI/AAAAAAAAArs/IYkImww-97I/s320/Y4732325-4.gif\">http://3.bp.blogspot.com/_e9CJcgkw3iw/S-BBFk8ixfI/AAAAAAAAArs/IYkImww-97...</a>\n</div>\n<p>\n<b>ขณะคิด</b>กำหนดว่า คิดหนอๆ เน้นย้ำ ช้า หนักแน่น ทิ้งจังหวะเล็กน้อย เพื่อผ่อนคลาย ถ้าในกรณีที่กำหนดแบบถี่เร็ว ฉับไว จดจ่อ นั้นต้องตอกย้ำและติดต่อไม่มีการทิ้งจังหวะ แต่ข้อด้อยทำให้เกิดความเครียดได้ ฉะนั้นนักปฏิบัติจึงควรเลือกให้เหมาะกับตนเองและบางครั้งเราสามารถใช้ได้ ทั้ง ๒ วิธีแบบผสมผสานกันจะทำให้เกิดพลัง ในการสยบอารมณ์ รวมทั้งเกิดการผ่อนคลายไปด้วยในตัว นอกนั้นก็กำหนดเหมือนกัน<br />\n<b>ขณะคิดถึง</b> กำหนดว่า คิดถึงหนอๆ ขณะนึก กำหนดว่า นึกหนอๆๆ<br />\n<b>ขณะฟุ้งซ่าน</b> กำหนดว่า ฟุ้งซ่านหนอๆ ขณะหงุดหงิด กำหนดว่า หงุดหงิดหนอๆ<br />\n<b>ขณะรำคาญ</b> กำหนดว่า รำคาญหนอๆ ขณะซึม กำหนดว่า ซึมหนอๆ<br />\n<b>ขณะว่าง</b> กำหนดว่า ว่างหนอๆ ขณะสงบ กำหนดว่า สงบหนอๆ<br />\n<b>ขณะนิ่ง</b> กำหนดว่า นิ่งหนอๆ ฯลฯ\n</p>\n<p>\n<b><br />\nการกำหนดรู้สภาพของจิต</b>ที่รู้อารมณ์แต่ละขณะนั้นเป็นเรื่องไม่ง่ายเท่าใดนัก แต่ขอเพียงผู้ปฏิบัติให้หมั่นเฝ้าดูอย่างมีสติบ่อยๆ ถึงแม้จะทันบ้างไม่ทันบ้างก็ตาม ให้ถือเสียว่าเราได้ทำหน้าที่ของนักปฏิบัติ เพื่อสร้างเหตุปัจจัยและเตรียมความพร้อมอันจะนำไปสู่ความหลุดพ้นจากบ่วงของ มาร คือ กิเลส ในโอกาสต่อไป การกำหนดรู้ในลักษณะเช่นนี้ก็นับเนื่องในการเจริญ จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/%20/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><b><i>ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน</i></b> หมายถึง การตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรมให้รู้เห็นตามเป็นจริงว่า เป็นแต่เพียงธรรม ไม่ใช่สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา มีสติรู้ชัดธรรมทั้งหลายได้แก่ นิวรณ์ 5 ขันธ์ 5 อายตนะ 12 โพชฌงค์ 7 อริยสัจ 4 ว่าคืออะไร เป็นอย่างไร มีในตนหรือไม่ เกิดขึ้นเจริญบริบูรณ์และดับไปได้อย่างไร เป็นต้นตามที่เป็นจริงของมันอย่างนั้น</p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/84390.jpg\" width=\"318\" height=\"304\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://variety.teenee.com/saladharm/img4/84390.jpg\" title=\"http://variety.teenee.com/saladharm/img4/84390.jpg\">http://variety.teenee.com/saladharm/img4/84390.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<b> ธรรมารมณ์</b> หมายถึง สิ่งที่จิตรู้หรือสิ่งที่มาประกอบกับจิต ปรุงแต่งจิต เมื่อเรียกให้ตรงกับสภาวะของนักปฏิบัติก็ได้แก่สภาวธรรม ซึ่งนักปฏิบัติควรเอาใจใส่เฝ้าดูและกำหนดรู้ให้ทันปัจจุบัน โดยอาศัยความเพียรมีสติระลึกรู้อยู่ทุกขณะดังนี้<br />\n<b>ขณะเห็น</b> กำหนดว่า เห็นหนอๆๆ โดยกำหนดเพียงอาการเงาๆลางๆ ของรูป ไม่ต้องกำหนดที่ตา และในขณะกำหนดก็ไม่ต้องไปจ้องดูรูป เพราะกิเลสจะเข้า<br />\n<b>ขณะได้ยิน</b> กำหนดว่า ได้ยินหนอๆๆ โดยกำหนดเพียงแค่อาการที่ได้ยินเสียงเท่านั้น แต่ไม่ต้องเอาจิตไปจดจ่อที่หูหรือกำหนดที่หู โดยกำหนดเพียงอาการที่ปสาทหูรับเสียงเท่านั้น เพราะจริงๆ แล้วหูกับเสียงต่างคนต่างอยู่<br />\n<b>ขณะได้กลิ่น</b> กำหนดว่า กลิ่นหนอๆๆ โดยกำหนดขณะที่จมูก(ฆานประสาท)รับรู้กลิ่น ในชั้นแรกๆ ไม่ต้องแยกแยะว่าหอมหรือเหม็น ให้กำหนดเพียงแค่กลิ่นเท่านั้น เมื่อสมาธิญาณแก่กล้าแล้ว จะสามารถกำหนดได้เอง<br />\n<b>ขณะรู้รส </b>กำหนดว่า รสหนอๆๆ โดยกำหนดขณะที่ลิ้น(ชิวหาประสาท)รับรู้รส ในชั้นต้นนี้ให้กำหนดเพียงแค่รสเท่านั้น ยังไม่ต้องกำหนดละเอียดมากนัก เพราะถ้ากำหนดละเอียดในขณะที่สมาธิญาณยังไม่เจริญเพียงพอ อาจกลับกลายเป็นความฟุ้งซ่านหรือเครียดไป<br />\n<b>ขณะถูกต้องสัมผัส</b> กำหนดว่า ถูกหนอๆๆ โดยกำหนดที่กายประสาทกระทบสัมผัสในขณะนั้นๆ เช่น<br />\n<b>ขณะเย็น</b> กำหนดว่า เย็นหนอๆๆ ขณะร้อน กำหนดว่า ร้อนหนอๆๆ<br />\n<b>ขณะอ่อน </b>กำหนดว่า อ่อนหนอๆๆ ขณะแข็ง กำหนดว่า แข็งหนอๆๆ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/77669\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<u><span style=\"color: #800000\"><b>การบริหารจิตเจริญปัญญา</b></span></u>\n</p>\n<p>\nมีวิธีปฏิบัติและขั้นตอน คือ การไหว้พระสวดมนต์ โดยประนมมือแล้วตั้งใจนึกถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ดังนี้\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div width=\"480\" height=\"385\">\n<div name=\"movie\" value=\"http://www.youtube.com/v/pK3MC3D2Rec?fs=1&amp;hl=en_US\">\n</div>\n<div name=\"allowFullScreen\" value=\"true\">\n</div>\n<div name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\">\n</div>\n<p><a href=\"/node/89721\"></a></p>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"480\" height=\"385\">\n <param name=\"width\" value=\"480\" />\n <param name=\"height\" value=\"385\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/pK3MC3D2Rec?fs=1&amp;hl=en_US\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"480\" height=\"385\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\" src=\"http://www.youtube.com/v/pK3MC3D2Rec?fs=1&amp;hl=en_US\"></embed>\n</object><p>\n</p></div>\n<p>\n<b>บทสวดสรรเสริญคุณพระรัตนตรัย</b><br />\nอะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา<br />\nพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์<br />\nดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกสิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง<br />\nพุทธัง ภะคาวันตัง อภิวาเทมิ<br />\nข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบพร้อมกัน)<br />\nสวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม<br />\nพระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว<br />\nธัมมัง นะมัสสามิ<br />\nข้าข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบพร้อมกัน)<br />\nสุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />\nพระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว<br />\nสังฆัง นะมามิ<br />\nข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบพร้อมกัน )</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div width=\"480\" height=\"385\">\n<div name=\"movie\" value=\"http://www.youtube.com/v/VQRysZIysKc?fs=1&amp;hl=en_US\">\n</div>\n<div name=\"allowFullScreen\" value=\"true\">\n</div>\n<div name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\">\n</div>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"480\" height=\"385\">\n <param name=\"width\" value=\"480\" />\n <param name=\"height\" value=\"385\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/VQRysZIysKc?fs=1&amp;hl=en_US\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"480\" height=\"385\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\" src=\"http://www.youtube.com/v/VQRysZIysKc?fs=1&amp;hl=en_US\"></embed>\n</object></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>คำนมัสการ</b><br />\nนะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ<br />\nขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง (3 ครั้ง)\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div width=\"480\" height=\"385\">\n<div name=\"movie\" value=\"http://www.youtube.com/v/DYAgMuKRSwA?fs=1&amp;hl=en_US\">\n</div>\n<div name=\"allowFullScreen\" value=\"true\">\n</div>\n<div name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\">\n</div>\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"480\" height=\"385\">\n <param name=\"width\" value=\"480\" />\n <param name=\"height\" value=\"385\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/DYAgMuKRSwA?fs=1&amp;hl=en_US\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"480\" height=\"385\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\" src=\"http://www.youtube.com/v/DYAgMuKRSwA?fs=1&amp;hl=en_US\"></embed>\n</object></div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>บทสวดสรภัญญะ<br />\n</b>(นำ)องค์ใดพระสัมพุทธ (รับ) สุวิสุทธสันดาน<br />\nตัดมูลเกลศมาร บ่ มิหม่นมิหมองมัว<br />\nหนึ่งในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว<br />\nราคี บ พันพัว สุวคนธกำจร<br />\nองค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดังสาคร<br />\nโปรดหมู่ประชากร มละโอฆกันดาร<br />\nชี้ทางบรรเทาทุกข์ และชี้สุขเกษมสานต์<br />\nชี้ทางพระนฤพาน อันพ้นโศกวิโยคภัย<br />\nพร้อมเบญจพิธจัก- ษุจรัสวิมลใส<br />\nเห็นเหตุที่ใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์จริง<br />\nกำจัดน้ำใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง<br />\nสัตว์โลกได้พึ่งพิง มละบาปบำเพ็ญบุญ<br />\nข้าฯขอประณตน้อม ศิระเกล้าบังคมคุณ<br />\nสัมพุทธการุญ ญ ภาพนั้นนิรันดรฯ(กราบ)\n</p>\n<p>(นำ)ธรรมคือคุณากร (รับ) ส่วนชอบสาทร<br />\nดุจดวงประทีปชัชวาล<br />\nแห่งองค์พระศาสดาจารย์ ส่องสัตว์สันดาร<br />\nสว่างกระจ่างใจมล<br />\nธรรมได้นับโดยมรรคผล เป็นแปดพึงยล<br />\nและเก้ากับทั้งนฤพาน<br />\nสมญาโลกอุดาพิสดาร อันลึกโอฬาร<br />\nพิสุทธิ์พิเศษสุกใส<br />\nอีกธรรมต้นทางครรไล นามขนานขานไข<br />\nปฏิบัติปริยัติเป็นสอง<br />\nคือทางดำเนินดุจคลอง ให้ล่วงลุปอง<br />\nยังโลกอุดาโดยตรง<br />\nข้าขอโอนอ่อนอุตมงค์ นบธรรมจำนงค<br />\nด้วยจิตและกายวาจา (กราบ)<br />\n(นำ)สงฆ์ใดสาวกศาสดา (รับ)รับปฏิบัติมา<br />\nแต่องค์สมเด็จภควันต์<br />\nเห็นแจ้งจตุสัจเสร็จบรร- ลุทางที่อัน<br />\nระงับและดับทุกข์ภัย<br />\nโดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร ปัญญาผ่องใส<br />\nสะอาดและปราศมัวหมอง<br />\nเหินห่างทางข้าศึกปอง บ มิลำพอง<br />\nด้วยกายและวาจาใจ<br />\nเป็นเนื้อนาบุญอันไพ ศาลแด่โลกัย<br />\nและเกิดพิบูลย์พูนผล<br />\nสมญาเอารสทศพล มีคุณอนนต์<br />\nอเนกจะนับเหลือตรา<br />\nข้าฯ ขอนบหมุ่พระศรา- พกทรงคุณา<br />\nนุคุณประดุจรำพัน<br />\nด้วยเดชบุญข้าอภิวันท์ พระไตรรัตน์อัน<br />\nอุดมดิเรกนิรัติศัย<br />\nจงช่วยขจัดโพยภัย อันตรายใดใด<br />\nจงดับและกลับเสื่อมสูญ ฯ (กราบ 3 ครั้ง)</p>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</div>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<div width=\"480\" height=\"385\">\n<div name=\"movie\" value=\"http://www.youtube.com/v/FbkxO-tpzt4?fs=1&amp;hl=en_US\">\n</div>\n<div name=\"allowFullScreen\" value=\"true\">\n</div>\n<div name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\">\n</div>\n<p>\n</p></div>\n', created = 1715607653, expire = 1715694053, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c7737d756f9a99733a336864c951f0e4' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:78ee58812060b56ffb45951f2f75fdcb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><!--[endif]--><!--[endif]--><div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/11.jpg\" width=\"450\" height=\"202\" />\n</div>\n<div>\n<a href=\"/node/83406\"><img src=\"/files/u31927/1_1.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89721\"><img src=\"/files/u31927/2_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89711\"><img src=\"/files/u31927/3_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a><a href=\"/node/89709\"><img src=\"/files/u31927/4_0.jpg\" width=\"170\" height=\"80\" /></a>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/2720.jpg\" width=\"304\" height=\"229\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg\" title=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/2/2720.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\n</div>\n<div style=\"background-color: #ffffff\" align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/kan1.jpg\" width=\"200\" height=\"71\" />\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #800000\"></span></p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/uuuuu.gif\" width=\"40\" height=\"52\" /><span style=\"color: #000000\"><span style=\"color: #993300\"><span style=\"color: #800000\"><u><b>การบริหารจิต</b></u></span><b> </b></span> หมายถึง การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง โดยเริ่มจากการฝึกฝนจิตให้เกิดสติและฝึกสมาธิให้เกิดขึ้นในจิต<br />\n</span>\n</p>\n<p>\nในการที่จะให้จิตมีสติได้นั้น ผู้ฝึกต้องมีวิธีการดังนี้คือ การตั้งใจให้มีสติปสัมปชัญญะอยู่เสมอ การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วนและการมีใจน้อมไปในการมีสติคืออยากจะมีสติมั่นคง กล่าวคือ\n</p>\n<p>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การตั้งใจให้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ </b> คือ ผู้ฝึกจะต้องตั้งใจกำหนดรู้สึกตัวอยู่ทุกขณะไม่ว่าจะทำอะไรก็ต้องใคร่ครวญทำช้าๆ อย่ารวดเร็วเกินไป เช่น ในขณะเดิน ยืน นั่ง นอน จะต้องพยายามให้ตัวสติระลึกอยู่ตลอดเวลาทุกๆ อิริยาบถ และมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เสมอ เมื่อตั้งใจปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวก็จะทำให้ผู้นั้นมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง</b> คือ พยายามเข้าสมาคมกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคงด้วยการทำ การพุด และการแสดงออกอื่นๆ ยกตัวอย่าง เช่น การเข้าไปพบปะสนทนากับพระสงฆ์ผู้ฝึกสมาธิมาดีแล้ว โดยพิจารณาจากการพูดและการกระทำ ท่านจะอยู่ในลักษณะสำรวมระมัดระวังอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทำให้เราผู้เข้าร่วมสมาคมด้วยเกิดการตั้งสติและมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวสำรวมระมัดระวังตัวเช่นเดียวกับท่าน<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วย</b> คือ คนใดที่มีสติฟั่นเฟือน หลงๆ ลืมๆ ซึ่งมีการกระทำการพูดผิดๆ ถูกๆ อยู่ตลอดนั้น เราไม่ควรจะไปคบด้วย เพราะการสมาคมกับคนประเภทนี้บ่อยๆ เข้าบางทีจะทำให้เราติดโรคสติฟั่นเฟือนได้ เว้นได้แต่เข้าไปคบด้วยความสงสาร เพื่อจะแนะนำเขาในบางครั้งบางคราวเท่านั้น<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u31927/kapook-16341-8526.gif\" width=\"19\" height=\"19\" /><span style=\"color: #800000\"><span style=\"color: #000000\"><b>การมีใจน้อมไปในการมีสติ </b> คืออยากเป็นคนมีสติมั่นคง โดยตัวเราเองต้องพยายามขวนขวายปลุกใจให้เห็นคุณค่าในการมีสติสัมปชัญญะแล้วปฏิบัติธรรมเพื่อนำจิตของตนให้เป็นสมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิในขั้นต้น แม้เพียงขณิกสมาธิอันเป็นสมาธิชั่วขณะที่เกิดขึ้นกับคนทั่วๆ ไปในการปฏิบัติงานในชีวิตประจำวัน เท่านี้ก็จะทำให้เราเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะดีขึ้นอย่างแน่นอน<br />\n</span></span>\n</p>\n<p>\nนอกจากนี้แล้วพระพุทธเจ้ายังได้ทรงแสดงวิธีการฝึกสติให้สมบูรณ์ไว้ในสติปัฏฐาน ๔ อย่าง\n</p>\n<p>\nกล่าวคือ การดำรงสติไว้ที่ฐานมี ๔ อย่าง ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม และกำหนดพิจารณาฐานทั้ง ๔ เหล่านั้น เช่น กายานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณากายเป็นอารมณ์ เวทนานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนาเป็นอารมณ์ จิตตานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาจิตเป็นอารมณ์ และธัมมานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรมเป็นอารมณ์\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u31927/f62.gif\" width=\"350\" height=\"52\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n</p>', created = 1715607653, expire = 1715694053, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:78ee58812060b56ffb45951f2f75fdcb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การบริหารจิต

การบริหารจิต หมายถึง การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง โดยเริ่มจากการฝึกฝนจิตให้เกิดสติและฝึกสมาธิให้เกิดขึ้นในจิต

ในการที่จะให้จิตมีสติได้นั้น ผู้ฝึกต้องมีวิธีการดังนี้คือ การตั้งใจให้มีสติปสัมปชัญญะอยู่เสมอ การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วนและการมีใจน้อมไปในการมีสติคืออยากจะมีสติมั่นคง กล่าวคือ

การตั้งใจให้มีสติสัมปชัญญะอยู่เสมอ คือ ผู้ฝึกจะต้องตั้งใจกำหนดรู้สึกตัวอยู่ทุกขณะไม่ว่าจะทำอะไรก็ต้องใคร่ครวญทำช้าๆ อย่ารวดเร็วเกินไป เช่น ในขณะเดิน ยืน นั่ง นอน จะต้องพยายามให้ตัวสติระลึกอยู่ตลอดเวลาทุกๆ อิริยาบถ และมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่เสมอ เมื่อตั้งใจปฏิบัติตามวิธีดังกล่าวก็จะทำให้ผู้นั้นมีสติสัมปชัญญะสมบูรณ์

การคบกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคง คือ พยายามเข้าสมาคมกับคนผู้มีสติปัญญามั่นคงด้วยการทำ การพุด และการแสดงออกอื่นๆ ยกตัวอย่าง เช่น การเข้าไปพบปะสนทนากับพระสงฆ์ผู้ฝึกสมาธิมาดีแล้ว โดยพิจารณาจากการพูดและการกระทำ ท่านจะอยู่ในลักษณะสำรวมระมัดระวังอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทำให้เราผู้เข้าร่วมสมาคมด้วยเกิดการตั้งสติและมีสติสัมปชัญญะรู้ตัวสำรวมระมัดระวังตัวเช่นเดียวกับท่าน

การไม่คบคนที่มีจิตใจฟุ้งซ่านปั่นป่วย คือ คนใดที่มีสติฟั่นเฟือน หลงๆ ลืมๆ ซึ่งมีการกระทำการพูดผิดๆ ถูกๆ อยู่ตลอดนั้น เราไม่ควรจะไปคบด้วย เพราะการสมาคมกับคนประเภทนี้บ่อยๆ เข้าบางทีจะทำให้เราติดโรคสติฟั่นเฟือนได้ เว้นได้แต่เข้าไปคบด้วยความสงสาร เพื่อจะแนะนำเขาในบางครั้งบางคราวเท่านั้น

การมีใจน้อมไปในการมีสติ คืออยากเป็นคนมีสติมั่นคง โดยตัวเราเองต้องพยายามขวนขวายปลุกใจให้เห็นคุณค่าในการมีสติสัมปชัญญะแล้วปฏิบัติธรรมเพื่อนำจิตของตนให้เป็นสมาธิ เมื่อจิตเป็นสมาธิในขั้นต้น แม้เพียงขณิกสมาธิอันเป็นสมาธิชั่วขณะที่เกิดขึ้นกับคนทั่วๆ ไปในการปฏิบัติงานในชีวิตประจำวัน เท่านี้ก็จะทำให้เราเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะดีขึ้นอย่างแน่นอน

นอกจากนี้แล้วพระพุทธเจ้ายังได้ทรงแสดงวิธีการฝึกสติให้สมบูรณ์ไว้ในสติปัฏฐาน ๔ อย่าง

กล่าวคือ การดำรงสติไว้ที่ฐานมี ๔ อย่าง ได้แก่ กาย เวทนา จิต ธรรม และกำหนดพิจารณาฐานทั้ง ๔ เหล่านั้น เช่น กายานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณากายเป็นอารมณ์ เวทนานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาเวทนาเป็นอารมณ์ จิตตานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาจิตเป็นอารมณ์ และธัมมานุปัสสนา ตั้งสติกำหนดพิจารณาธรรมเป็นอารมณ์

สร้างโดย: 
นางสาวพัชรภรณ์ บับพาน สตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพฯและพระอาจารย์มหาถวิล จารุเตโช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 255 คน กำลังออนไลน์