• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:def9c978e6f5acda48615d11e7821869' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82647\"><img height=\"79\" width=\"145\" src=\"/files/u31659/J_YELLOW3.gif\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">........</span><img height=\"319\" width=\"227\" src=\"/files/u31659/WELCOME_PACKPEED3.gif\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" /><span style=\"color: #ffffff\">.......</span><a href=\"/node/82646\"><img height=\"79\" width=\"145\" src=\"/files/u31659/J_GREEN2.gif\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/89693\"><img height=\"79\" width=\"145\" src=\"/files/u31659/J_BUBU3.gif\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" /></a><span style=\"color: #ffffff\">...............</span><a href=\"/node/89692\"><img height=\"79\" width=\"145\" src=\"/files/u31659/J_BLUE2.gif\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"20\" width=\"328\" src=\"/files/u31659/line.jpg\" border=\"0\" style=\"border: #d0e67a 0px solid\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"213\" width=\"400\" src=\"/files/u31659/adrenal_gland.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 347px; height: 179px; border: #d0e67a 0px solid\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n    <b>* ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง จึงเรียกว่าต่อมหมวกไต แต่ละต่อมประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ<br />\n     - ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์ ( adrenal cortex ) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แตกต่าง 3 ชนิด<br />\n     - ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )<br />\n            ซึ่งทั้งสองส่วนจะผลิตฮอร์โมนพวกสารสเตอรอยด์ที่ทำหน้าที่ต่างกัน<br />\n    * การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้องอาศัยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามากระตุ้น<br />\n    * ต่อมหมวกไตมีความสำคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะ<br />\n      ควบคุมเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรท ไขมันและโปรตีน รักษาระดับสารน้ำในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อ<br />\n      เหตุการณ์ต่างๆทั้งในชีวิตประจำวันและยามฉุกเฉิน</b>\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\nฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก<br />\n     \n</p>\n<p>\nต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 3 กลุ่มคือ\n</p>\n<p>\n    * ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids )<br />\n    * ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid)<br />\n    * ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone )\n</p>\n<p>\n1.ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์<br />\n     <br />\n    ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) &lt;&lt;ดูภาพ&gt;&gt;<br />\n    เป็นฮอร์โมนที่จำเป็น(essential hormone) ที่มีความสำคัญต่อชีวิต ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ซึ่งเป็นฮอร์โมนจำเป็นจะมีผลอย่างมากต่อเซลล์ของร่างกาย\n</p>\n<p>\n    อวัยวะเป้าหมาย : เซลล์ตับ\n</p>\n<p>\n    หน้าที่ : เพิ่มระดับน้ำตาลในกระแสเลือด โดยจะกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดไขมันและกรดอะมิโนบางตัวเป็นกลูโคส<br />\n    และเก็บสะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน แล้วจะเปลี่ยนจากไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเพื่อปล่อยเข้าสู่กระแสเลือดเมื่อต้องการเพิ่ม<br />\n    ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดซึ่งเป็นขบวนการที่สำคัญ\n</p>\n<p>\n    ความผิดปกติ : ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจะทำให้เกิด โรคคูชชิง ( Cushing’s syndrome) พบในผู้ป่วยที่มีเนื้องอกของต่อมหมวกไตส่วนนอกหรือได้รับการรักษาด้วยยาหรือ ฮอร์โมนที่มีคอร์ติโคสเตรอยด์เป็นส่วนผสม<br />\n    เพื่อป้องกันอาการแพ้ อักเสบติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิงโดยมีความผิดปกติเกี่ยวกับ\n</p>\n<p>\n        * เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงขึ้น<br />\n        * กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา<br />\n        * อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลำตัว ใบหน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา &lt;&lt;ดูภาพ&gt;&gt;\n</p>\n<p>\n2.ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์<br />\n     \n</p>\n<p>\n    ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ แอลโดสเตอโรน&lt;&lt;ดูภาพ&gt;&gt;<br />\n    (aldosterone) ทำหน้าที่ในการควบคุมความสมดุลของน้ำและแร่ธาตุในร่างกาย\n</p>\n<p>\n    อวัยวะเป้าหมาย : ไต ( ท่อหน่วยไต )\n</p>\n<p>\n    หน้าที่ : ช่วยในการทำงานของไต\n</p>\n<p>\n        * ในการดูดน้ำและNa+ กลับเข้าสู่ท่อหน่วยไต<br />\n        * ขับ K+ ออกจากท่อหน่วยไต<br />\n        * ควบคุมความสมดุลของฟอสเฟต\n</p>\n<p>\n    ความผิดปกติ : ถ้าขาด แอลโดสเตอโรน aldosteroneจะทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือดในร่างกายลดลงจนอาจทำให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่ำ\n</p>\n<p>\n3.ฮอร์โมนเพศ<br />\n     <br />\n    ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อย เท่านั้นเมื่อเปรียบเทียบกับที่สร้างจากอวัยวะเพศดังนั้น\n</p>\n<p>\n        * ในวัยผู้ใหญ่ เมื่อหลั่งฮอร์โมนนี้ออกมามากจะไม่พบความผิดปกติ แต่ในวัยเด็ก ถ้าเป็นผู้ชาย จะทำให้เป็นหนุ่มเร็ว<br />\n          กว่ากำหนด<br />\n        * ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไต ส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจ<br />\n          เกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทำให้เกิดลักษณะของเพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย<br />\n          มีการสร้างโปรตีนที่ทำให้แขนขาใหญ่ มีหนวดเครา เสียงห้าว ไม่มีประจำเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า&lt;&lt;ดูภาพ&gt;&gt;\n</p>\n<p>\n...........ถ้าต่อมหมวกไตด้านนอก ถูกทำลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนทำให้เป็น โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease )<br />\nผู้ที่เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้<br />\nฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน<br />\n     \n</p>\n<p>\nต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla ) : ต่อมหมวกไตส่วนในเป็นทั้งต่อมไร้ท่อและเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทำงานเมื่อเผชิญหน้ากับ ภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและออกกำลังกาย สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ\n</p>\n<p>\n    * ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone )<br />\n    * ฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) หรือ นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone )\n</p>\n<p>\n1.ฮอร์โมนเอพิเนฟริน<br />\n     <br />\n    แหล่งที่สร้าง : ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )\n</p>\n<p>\n    อวัยวะเป้าหมาย : ตับ , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หัวใจ\n</p>\n<p>\n    หน้าที่ :\n</p>\n<p>\n        * เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทำมีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด<br />\n           การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายมีพลังมากขึ้น<br />\n        * กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดลำเลียงออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น<br />\n        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆขยายตัว<br />\n        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและช่องท้องหดตัว\n</p>\n<p>\n2.ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน\n</p>\n<p>\n    แหล่งที่สร้าง : ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )\n</p>\n<p>\n    อวัยวะเป้าหมาย : ตับ , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หัวใจ\n</p>\n<p>\n    หน้าที่ :\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<b>        * เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทำมีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด<br />\n           การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายมีพลังมากขึ้น<br />\n        * กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดลำเลียงออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น<br />\n        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆหดหรือบีบตัว</b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b><img height=\"50\" width=\"560\" src=\"/files/u31659/pole-orange-palette.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 566px; height: 9px; border: #d0e67a 0px solid\" /></b>\n</p>\n', created = 1726710577, expire = 1726796977, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:def9c978e6f5acda48615d11e7821869' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ADRENAL GLAND

...............

...............

 

 

 

    * ต่อมหมวกไตตั้งอยู่ที่ด้านบนของไตทั้งสองข้าง จึงเรียกว่าต่อมหมวกไต แต่ละต่อมประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้นคือ
     - ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์ ( adrenal cortex ) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อที่แตกต่าง 3 ชนิด
     - ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )
            ซึ่งทั้งสองส่วนจะผลิตฮอร์โมนพวกสารสเตอรอยด์ที่ทำหน้าที่ต่างกัน
    * การสร้างฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอกต้องอาศัยฮอร์โมน ACTH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้ามากระตุ้น
    * ต่อมหมวกไตมีความสำคัญอย่างยิ่ง ถ้าร่างกายขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ ฮอร์โมนในกลุ่มนี้จะ
      ควบคุมเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรท ไขมันและโปรตีน รักษาระดับสารน้ำในร่างกายและช่วยให้ร่างกายต่อสู้กับความเครียดต่อ
      เหตุการณ์ต่างๆทั้งในชีวิตประจำวันและยามฉุกเฉิน

ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก
     

ต่อมหมวกไตด้านนอกหรืออะดรีนัลคอร์เทกซ์ (adrenal cortex) สร้างฮอร์โมนที่สำคัญ 3 กลุ่มคือ

    * ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids )
    * ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid)
    * ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone )

1.ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์
     
    ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ ( glucocorticoids ) ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ คอร์ติซอล (cortisol) <<ดูภาพ>>
    เป็นฮอร์โมนที่จำเป็น(essential hormone) ที่มีความสำคัญต่อชีวิต ถ้าขาดฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ซึ่งเป็นฮอร์โมนจำเป็นจะมีผลอย่างมากต่อเซลล์ของร่างกาย

    อวัยวะเป้าหมาย : เซลล์ตับ

    หน้าที่ : เพิ่มระดับน้ำตาลในกระแสเลือด โดยจะกระตุ้นเซลล์ตับให้เปลี่ยนกรดไขมันและกรดอะมิโนบางตัวเป็นกลูโคส
    และเก็บสะสมไว้ในรูปของไกลโคเจน แล้วจะเปลี่ยนจากไกลโคเจนให้เป็นกลูโคสเพื่อปล่อยเข้าสู่กระแสเลือดเมื่อต้องการเพิ่ม
    ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดซึ่งเป็นขบวนการที่สำคัญ

    ความผิดปกติ : ถ้ามีฮอร์โมนกลุ่มนี้มากเกินไปจะทำให้เกิด โรคคูชชิง ( Cushing’s syndrome) พบในผู้ป่วยที่มีเนื้องอกของต่อมหมวกไตส่วนนอกหรือได้รับการรักษาด้วยยาหรือ ฮอร์โมนที่มีคอร์ติโคสเตรอยด์เป็นส่วนผสม
    เพื่อป้องกันอาการแพ้ อักเสบติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน เกิดขึ้นได้ทั้งชายและหญิงโดยมีความผิดปกติเกี่ยวกับ

        * เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต ไขมันและโปรตีนทำให้ระดับน้ำตาลในกระแสเลือดสูงขึ้น
        * กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมันตามบริเวณแขนขา
        * อ้วน มีไขมันสะสมแกนกลางลำตัว ใบหน้ากลมคล้ายดวงจันทร์ หน้าท้องแตกลาย บริเวณต้นคอมีหนอกยื่นออกมา <<ดูภาพ>>

2.ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์
     

    ฮอร์โมนมินเนอราโลคอร์ติคอยด์ (mineralocorticoid) ฮอร์โมนที่สำคัญในกลุ่มนี้ได้แก่ แอลโดสเตอโรน<<ดูภาพ>>
    (aldosterone) ทำหน้าที่ในการควบคุมความสมดุลของน้ำและแร่ธาตุในร่างกาย

    อวัยวะเป้าหมาย : ไต ( ท่อหน่วยไต )

    หน้าที่ : ช่วยในการทำงานของไต

        * ในการดูดน้ำและNa+ กลับเข้าสู่ท่อหน่วยไต
        * ขับ K+ ออกจากท่อหน่วยไต
        * ควบคุมความสมดุลของฟอสเฟต

    ความผิดปกติ : ถ้าขาด แอลโดสเตอโรน aldosteroneจะทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและโซเดียมไปพร้อมกับปัสสาวะ ส่งผลให้เลือดในร่างกายลดลงจนอาจทำให้ผู้ป่วยตายเพราะความดันเลือดต่ำ

3.ฮอร์โมนเพศ
     
    ฮอร์โมนเพศ ( sex hormone ) ซึ่งสร้างปริมาณเพียงเล็กน้อย เท่านั้นเมื่อเปรียบเทียบกับที่สร้างจากอวัยวะเพศดังนั้น

        * ในวัยผู้ใหญ่ เมื่อหลั่งฮอร์โมนนี้ออกมามากจะไม่พบความผิดปกติ แต่ในวัยเด็ก ถ้าเป็นผู้ชาย จะทำให้เป็นหนุ่มเร็ว
          กว่ากำหนด
        * ส่วนในเพศหญิง เนื่องจากต่อมหมวกไต ส่วนนอกนี้ผลิตแอนโดรเจน (androgen) ถ้ามีการผลิตฮอร์โมนนี้มากซึ่งอาจ
          เกิดจากมีเนื้องอกที่ต่อมหมวกไต จะทำให้เกิดลักษณะของเพศชายได้ คือมีพฤติกรรมคล้ายผู้ชาย
          มีการสร้างโปรตีนที่ทำให้แขนขาใหญ่ มีหนวดเครา เสียงห้าว ไม่มีประจำเดือน มีขนขึ้นตามตัวและใบหน้า<<ดูภาพ>>

...........ถ้าต่อมหมวกไตด้านนอก ถูกทำลายจะไม่สามารถสร้างฮอร์โมนทำให้เป็น โรคแอดดิสัน ( Addison’s disease )
ผู้ที่เป็นโรคนี้ร่างกายจะซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน
     

ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla ) : ต่อมหมวกไตส่วนในเป็นทั้งต่อมไร้ท่อและเป็นส่วนของประสาทซิมพาเทติก จะทำงานเมื่อเผชิญหน้ากับ ภาวะเครียด ตื่นเต้น ตกใจ กลัว หนีภัย เมื่อเจ็บปวดและออกกำลังกาย สร้างฮอร์โมน 2 ชนิด คือ

    * ฮอร์โมนเอพิเนฟริน ( epinephrine hormone ) หรือ อะดรีนาลิน (adrenalin hormone )
    * ฮอร์โมนนอร์อิพิเนฟริน ( norepinephrine hormone ) หรือ นอร์อะดรีนาลิน (noradrenalin hormone )

1.ฮอร์โมนเอพิเนฟริน
     
    แหล่งที่สร้าง : ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )

    อวัยวะเป้าหมาย : ตับ , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หัวใจ

    หน้าที่ :

        * เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทำมีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด
           การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายมีพลังมากขึ้น
        * กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดลำเลียงออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น
        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆขยายตัว
        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณผิวหนังและช่องท้องหดตัว

2.ฮอร์โมนนอร์เอพิเนฟริน

    แหล่งที่สร้าง : ต่อมหมวกไตด้านในหรืออะดรีนัลเมดัลลา ( adrenal medulla )

    อวัยวะเป้าหมาย : ตับ , หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ,หัวใจ

    หน้าที่ :

        * เปลี่ยน ไกลโคเจนในตับให้เป็นกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดทำมีระดับกลูโคสเพิ่มขึ้นในกระแสเลือด
           การเผาผลาญอาหารเพิ่มมากขึ้น ทำให้ร่างกายมีพลังมากขึ้น
        * กระตุ้นให้หัวใจบีบตัวแรงและเร็วขึ้น ทำให้เลือดลำเลียงออกซิเจนและกลูโคสไปให้เซลล์ร่างกายได้มากขึ้น
        * หลอดเลือดแดงขนาดเล็กที่บริเวณอวัยวะภายในต่างๆหดหรือบีบตัว

สร้างโดย: 
ภาณุมาศ ตันเจริญ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 513 คน กำลังออนไลน์