ดาวพฤหัสบดี


http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_jupiter_3.jpg


              Jovian cloud model รูปแบบเมฆของดาวพฤหัส
              ระหว่างชั้นของดาวพฤหัสมีความหนามากนับ 10 ไมล์ของชั้น Upper cloud layer(ชั้นสูง) และมีลักษณะ เหมือนหมอกทึบ ส่วนชั้น Heights in the lower cloud layers (ชั้นผิวเหนือชั้นต่ำ) มีสีฟ้าใส กระจัดกระจายบางๆ โดยมีสีแดงเข้มอยู่ในชั้นถัดลงมา และมีสีขาวผสมทั้งหนาและบาง ผุดขึ้นมาเป็นริ้วยาวตามแนวสลับสีน้ำเงินเข้ม ส่วนที่มีความสว่างจะเป็นพื้นที่ที่แห้ง

      

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_jupiter_5.jpg

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_jupiter_4.jpg

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_jupiter_6.jpg

เมฆหมอกสีต่างๆเกิดขึ้นได้อย่างไร
               แถบสีแต่ละช่วง Spectrum ของสีแดง สีเหลือง สีน้ำตาล สีน้ำเงินผสมกลมกลืนกับสีขาว ด้วยเหตุก๊าซ Hydrogen และก๊าซ Helium เป็นตัวการส่วนผสมสำคัญของบรรยากาศ ทำให้เกิดสีหลากหลายด้วยคุณสมบัติเฉพาะจากธาตุสารประกอบเล็กๆทั้งหมด เช่น Sulfur และวัตถุดิบOrganic (อินทรีย์เคมี) จะเห็นต่างกันจากแต่ละกรณีของ ระยะความสูงที่หนาแน่นและอุณหภูมิ สีน้ำเงินแสดงถึงความลึก (Deepest levels) เป็นหลุมจากด้านบนลงไปและสีน้ำตาลแสดงถึงส่วนที่เหนือชั้นถัดขึ้นมา (Higher levels) มีเมฆสีขาวผสมผสานอยู่ด้านบนขึ้นมาอีก สำหรับชั้น Higher levels รวมถึง Great Red Spot ด้วยขนาด Great Red Spot ยาว 40,000 กิโลเมตร กว้าง 14,000 กิโลเมตร ความหนาเมฆหมอก 24 กิโลเมตรเป็นลักษณะวังวน เหมือนสะดือทะเลขนาดใหญ่โตมหาศาล เรียกว่า Maelstrom(ห้วงมหาภัย) การไหลรวมกันในพื้นที่ใหญ่ ก่อให้เกิด วัฐจักรสภาพอากาศ ทุกๆ 6 ปี ด้วยการเปลี่ยนแปลงขนาด สีที่ต่างออกไป ยังมีการถกเถียงกันในกรณีนี้ว่า Great Red Spot อาจเปลี่ยนแปลงด้วยเงื่อนไขทางเคมีจาก Phosporous (ส่วนประกอบของฟอสฟอรัส) มีในบริเวณชั้น Upper clouds เกิดปฏิกิริยา Oxideจากการนำพาความร้อน ภายในของดาวพฤหัสเอง แสง Ultraviolet ดวงอาทิตย์ ก็เป็นต้นเหตุทางเคมี แสดงการตอบสนองในเกิดการแตกตัว ของ Phosporousให้เกิดสีแดงในสภาพแวดล้อมบริเวณชั้น Upper clouds โดย มีส่วนน้อยของ Organic (อินทรีย์เคมี) จึงไม่เห็นเป็นสีอื่น

 

วงแหวนดาวพฤหัส
          เดิมที่เดียว เรารู้ว่าดาวเสาร์มีวงแหวน การสำรวจใหม่หลายปี พบดาวพฤหัสแสดงวงแหวนแบบแผ่นจาน (Ring disk) ลักษณะเลือนๆ เรียกว่า Three main parts แบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ
    1) Bright ring ความกว้าง 6,000 กิโลเมตร ห่างจากดาวพฤหัส 58,000 กิโลเมตร
    2) Diffuse ring เป็นส่วนต่อด้านล่างของ Bright ring โดย Bright ring และ Diffuse ring ทับซ้อนกันเหมือนขนมชั้น ทั้งสองมีความหนา 30 กิโลเมตร
    3) Halo เป็นลักษณะกลศาสตร์ี่เกิดระหว่าง 2 วงแหวนดังกล่าว มีความหนาราว 20,000 กิโลเมตร
          ทั้งหมดของวงแหวน หมุนโคจรรอบดาวพฤหัส ใช้เวลาเพียง 5-7 ชั่วโมงเพราะว่าวงแหวนเป็นลักษณะเม็ดฝุ่นขนาดเล็ก เหมือนอนุภาคฝุ่นควันดำ มีส่วนประกอบSilicate ขนาดเล็กมาก จึงเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว และยังผลักดันกันออกนอกวงโคจรสู่อวกาศด้วย

 

 

http://www.sunflowercosmos.org/glossary/glossary_images/panet_profile_jupiter_2.jpg

 

อนาคตของดาวพฤหัส
          องค์ประกอบทั่วไป มีก๊าซ Hydrogen และก๊าซ Helium เป็นส่วนใหญ่ นอกนั้นเป็นก๊าซ Methane ก๊าซ Ethane และ ก๊าซ Ammonia ผสมอยู่ด้วยเป็นส่วนน้อยโดยทั้งหมดรวมกัน เป็นพลังงานตอบสนอง จากระบบของดวงอาทิตย์ ซึ่งแสดงออกมาเป็นความร้อน ตั้งแต่ครั้งก่อกำเนิดและการพัฒนาการมาเป็นระยะๆมีความเป็นไปได้ว่าอีกราว 10 ล้านปีข้างหน้า Gaseous (อากาศธาตุ หรือก๊าซที่เป็นเชื้อเพลิง) ของดาวพฤหัสจากลดลง 10 เท่าจากจุดศูนย์กลาง (ขนาดปัจจุบัน)โดยมวลจะยุบตัวลง ด้วยแรงแรงดึงดูดของตนเอง ขณะที่ยุบตัวลงตามลำดับเกิดFrictional heat (การขัดสีกันด้วยความร้อน) เกิดอุณหภูมิสูงถึง 50,000 Kelvinsการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างช้าๆ จากกลุ่มก๊าซหมอกของดาวพฤหัสที่จะนำความร้อนออกสู่อวกาศ 

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 540 คน กำลังออนไลน์