• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:595148a55ae2cb78f7c264be9be148a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<img height=\"300\" width=\"300\" src=\"/files/u41158/earth_1.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" style=\"width: 362px; height: 397px\" /><span style=\"color: #993300\">โครงสร้างของโลก <br />\n              โครงสร้างของโลก สามารถแบ่งออกเป็นชั้นๆ โดยอาศัยลักษณะการเกิดแผ่นดินไหวซึ่งวัดได้จากคลื่นใต้พิภพ ดังนี้ (ภาพที่ 4-5)<br />\n     1. ชั้นเปลือกโลก (Earth crust) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุด ส่วนที่บางที่สุดอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ และส่วนที่หนาที่สุดอยู่ที่แนวยอดเขา แบ่งเป็น 2 ส่วน<br />\n         1.1. เปลือกโลกส่วนนอก ประกอบด้วยธาตุ Si ประมาณ 65-75% และ Al ประมาณ 25-35% มีสีจาง จึงเรียกชั้นนี้ว่า หินไซอัล (Sial) ได้แก่ หินแกรนิต ผิวนอกสุดประกอบด้วยดิน หินตะกอน มีความหนาประมาณ 6-35 km<br />\n         1.2. เปลือกโลกส่วนล่าง ประกอบด้วยธาตุ Si ประมาณ 40-50% และ Mg ประมาณ 50-60% มีสีเข้ม จึงเรียกชั้นนี้ว่า ชั้นหินไซมา (Sima) ได้แก่ บะซอลต์ ติดต่อกับชั้นหินหนืดประกอบด้วยหินที่มีความแข็งไม่ต่อเนื่องเรียกว่า “โมโฮโรวิซิก” (Mohorovicic) มีความหนา ประมาณ 2,880 km มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 3<br />\n     2. ชั้นแมนเทิล (Mantle) อยู่ลึกถัดจากชั้นเปลือกโลก หนาประมาณ 3,000 km ประกอบด้วยหินหนืด ร้อนจัด หนืดร้อนแดงอยู่ส่วนนอกและหนืดร้อนขาวอยู่ส่วนใน ประกอบด้วยธาตุ Fe Si และ Al หลอมละลาย<br />\nปนอยู่ในหิน เช่น หินเพอริโดไทต์ (peridotite) หินอัลตราเบสิก (ultrabasic) หินหนืดเหล่านี้เรียกว่า แมกมา (Magma) ถ้าไหลออกมาภายนอกเรียกว่า ลาวา (Lava)<br />\n      3. ชั้นแก่นโลก (Core) อยู่ลึกถัดจากชั้นแมนเทิลเป็นชั้นในสุด หนาประมาณ 3,440 km ประกอบด้วยหินแข็ง มีธาตุ Fe และ Ni เป็นองค์ประกอบ มีอุณหภูมิและความถ่วงจำเพาะสูงมาก แบ่งเป็น 2 ส่วน <br />\n          3.1. แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) อยู่ในระดับความลึก 2,900-5,000 km ประกอบด้วยหินหนืดร้อนจัดมีอุณหภูมิประมาณ 5,000-6,000 °C และความถ่วงจำเพาะ = 12<br />\n          3.2. แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) อยู่ในระดับความลึก 5,000 km ประกอบด้วยหินแข็งร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ 6,000 °C ขึ้นไป</span> \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://kunkrupreeda.exteen.com/images/earth.jpg\">http://kunkrupreeda.exteen.com/images/earth.jpg</a>\n</p>\n<p>\n<br />\n                <span style=\"color: #000080\">การหมุนรอบตัวเองของโลก (Rotation of earth) โดยหมุนจากทิศตุวันตกไปทิศตะวันออก หรือทวนเข็มนาฬิกา ทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น<br />\n1. ดวงอาทิตย์ และดาวต่าง ๆ ขึ้นทางทิศตะวันออกเสมอ<br />\n2. เกิดการไหลของกระแสน้ำอุ่นและกระแสน้ำเย็น<br />\n3. ระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลง<br />\n4. เกิดกลางวันและกลางคืน<br />\n5. การเปลี่ยนแปลงของแผ่นเปลือกโลก </span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 103px; height: 98px\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719377606, expire = 1719464006, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:595148a55ae2cb78f7c264be9be148a5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โลก

โครงสร้างของโลก
              โครงสร้างของโลก สามารถแบ่งออกเป็นชั้นๆ โดยอาศัยลักษณะการเกิดแผ่นดินไหวซึ่งวัดได้จากคลื่นใต้พิภพ ดังนี้ (ภาพที่ 4-5)
     1. ชั้นเปลือกโลก (Earth crust) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุด ส่วนที่บางที่สุดอยู่ที่มหาสมุทรแปซิฟิกทางตะวันออกของฟิลิปปินส์ และส่วนที่หนาที่สุดอยู่ที่แนวยอดเขา แบ่งเป็น 2 ส่วน
         1.1. เปลือกโลกส่วนนอก ประกอบด้วยธาตุ Si ประมาณ 65-75% และ Al ประมาณ 25-35% มีสีจาง จึงเรียกชั้นนี้ว่า หินไซอัล (Sial) ได้แก่ หินแกรนิต ผิวนอกสุดประกอบด้วยดิน หินตะกอน มีความหนาประมาณ 6-35 km
         1.2. เปลือกโลกส่วนล่าง ประกอบด้วยธาตุ Si ประมาณ 40-50% และ Mg ประมาณ 50-60% มีสีเข้ม จึงเรียกชั้นนี้ว่า ชั้นหินไซมา (Sima) ได้แก่ บะซอลต์ ติดต่อกับชั้นหินหนืดประกอบด้วยหินที่มีความแข็งไม่ต่อเนื่องเรียกว่า “โมโฮโรวิซิก” (Mohorovicic) มีความหนา ประมาณ 2,880 km มีความถ่วงจำเพาะประมาณ 3
     2. ชั้นแมนเทิล (Mantle) อยู่ลึกถัดจากชั้นเปลือกโลก หนาประมาณ 3,000 km ประกอบด้วยหินหนืด ร้อนจัด หนืดร้อนแดงอยู่ส่วนนอกและหนืดร้อนขาวอยู่ส่วนใน ประกอบด้วยธาตุ Fe Si และ Al หลอมละลาย
ปนอยู่ในหิน เช่น หินเพอริโดไทต์ (peridotite) หินอัลตราเบสิก (ultrabasic) หินหนืดเหล่านี้เรียกว่า แมกมา (Magma) ถ้าไหลออกมาภายนอกเรียกว่า ลาวา (Lava)
      3. ชั้นแก่นโลก (Core) อยู่ลึกถัดจากชั้นแมนเทิลเป็นชั้นในสุด หนาประมาณ 3,440 km ประกอบด้วยหินแข็ง มีธาตุ Fe และ Ni เป็นองค์ประกอบ มีอุณหภูมิและความถ่วงจำเพาะสูงมาก แบ่งเป็น 2 ส่วน
          3.1. แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core) อยู่ในระดับความลึก 2,900-5,000 km ประกอบด้วยหินหนืดร้อนจัดมีอุณหภูมิประมาณ 5,000-6,000 °C และความถ่วงจำเพาะ = 12
          3.2. แก่นโลกชั้นใน (Inner Core) อยู่ในระดับความลึก 5,000 km ประกอบด้วยหินแข็งร้อนจัด มีอุณหภูมิประมาณ 6,000 °C ขึ้นไป
 

 

http://kunkrupreeda.exteen.com/images/earth.jpg


                การหมุนรอบตัวเองของโลก (Rotation of earth) โดยหมุนจากทิศตุวันตกไปทิศตะวันออก หรือทวนเข็มนาฬิกา ทำให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น
1. ดวงอาทิตย์ และดาวต่าง ๆ ขึ้นทางทิศตะวันออกเสมอ
2. เกิดการไหลของกระแสน้ำอุ่นและกระแสน้ำเย็น
3. ระดับน้ำทะเลเปลี่ยนแปลง
4. เกิดกลางวันและกลางคืน
5. การเปลี่ยนแปลงของแผ่นเปลือกโลก

 

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 602 คน กำลังออนไลน์