• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:3183753618dd57ad36fc66b54dec00e3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #993300\"></span><span style=\"color: #993300\"></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"224\" width=\"224\" src=\"/files/u41158/sun-spot.jpg\" align=\"left\" border=\"0\" />จุดดวงอาทิตย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">           เมื่อดูดวงอาทิตย์ด้วยกล้องโทรทรรศน์ติดตั้งแผ่นกรองแสง เราจะมองเห็นจุดสีคล้ำบนโฟโตสเฟียร์ซึ่งเรียกว่า “จุดดวงอาทิตย์” (Sunspots) มีมากมายหลายจุด มากบ้าง น้อยบ้าง เปลี่ยนแปลงไป บางครั้งก็เกิดขึ้นนานนับเดือน   จุดเหล่านี้มีขนาดประมาณโลกของเราหรือใหญ่กว่า จุดเหล่านี้มิได้มืดแต่มีความสว่างประมาณ 10 เท่าของดวงจันทร์เต็มดวง มีอุณหภูมิประมาณ 4,500 เคลวิน </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #ff00ff\">          จุดดวงอาทิตย์เกิดจากการที่สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์บิดเบือน เนื่องจากดวงอาทิตย์มีสถานะเป็นก๊าซ แต่ละส่วนหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วไม่เท่ากัน (Differential rotation) กล่าวคือในการหมุนหนึ่งรอบบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรจะใช้เวลา 25 วัน ในขณะที่บริเวณใกล้ขั้วทั้งสองใช้เวลานานถึง 36 วัน  ความแตกต่างในการหมุนรอบตัวเองเช่นนี้ มีผลทำให้สนามแม่เหล็กบิดเบือน  ในบริเวณที่สนามแม่เหล็กมีกำลังสูง  เส้นแรงแม่เหล็กจะกักอนุภาคก๊าซร้อนที่พุ่งขึ้นมาไว้มิให้ออกนอกเขตของเส้นแรง  เมื่อก๊าซร้อนเย็นตัวลงก็จะจมลง ณ ตำแหน่งเดิม ทำให้เรามองเห็นเป็นสีคล้ำเพราะบริเวณนั้นจะมีอุณหภูมิ</span><span style=\"color: #ff00ff\">ต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:PKgeq5_5j-gzEM::&amp;t=1&amp;usg=__07QUhm50BnU6jcQPsrzJ2RHgq3k\">http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:PKgeq5_5j-gzEM::&amp;t=1&amp;usg=__07QUhm50BnU6jcQPsrzJ2RHgq3k</a>=</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff00ff\">                จุดดวงอาทิตย์มักปรากฏให้เห็นในบริเวณละติจูดที่ 30 องศาเหนือและใต้  และมักปรากฏให้เห็นเป็นคู่เช่นเดียวกับขั้วแม่เหล็ก จุดดวงอาทิตย์มีปรากฏให้เห็นมากเป็นวัฏจักรทุกๆ 11 ปี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><img height=\"205\" width=\"501\" src=\"/files/u41158/graph_sunspot.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210082.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210082.jpg</a></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #ff00ff\"></span></p>\n<p>\n<br />\n       <span style=\"color: #008000\">การหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์<br />\n      ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งของดวงอาทิตย์ คือ การที่มีกลุ่มจุดเกิดขึ้น กลุ่มจุดเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็มีการ เปลี่ยนแปลงและในที่สุดจะสลายตัวหมดไป ขณะเดียวกันก็มีกลุ่มจุดใหม่เกิดขึ้นอย่างไรก็ตามกลุ่มจุดบนดวงอาทิตย์มี อายุอยู่นานพอที่จะใช้เป็นเครื่องติดตามสังเกตดูได้ว่า ดวงอาทิตย์มีการหมุนรอบตัวเองเป็นรอบ ๆ เช่นเดียวกับที่ โลกหมุนรอบตัวเองวันละรอบ เมื่อเราตามสังเกตการเคลื่อนที่ของกลุ่มจุด หรือจุดบนดวงอาทิตย์ไปเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายวัน ก็จะได้พบว่า ดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเองครบรอบในเวลาประมาณหนึ่งเดือน การหมุนรอบตัวเองนี้มีทิศทางตามการหมุน รอบตัวเองของดาวเคราะห์ต่าง ๆ และตามทิศทางซึ่งดาวเคราะห์ต่าง ๆ นั้นโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ สิ่งที่น่าสนใจก็คือ พื้น ผิวดวงอาทิตย์ที่ละติจูดต่าง ๆ หมุนครบรอบในเวลาไม่เท่ากัน แถบศูนย์สูตร หมุนด้วยความเร็วสูงกว่าแถบละติจูดสูงขึ้นไป ดัง จะเห็นได้จากตารางรายการคาบ หรือเวลาที่ใช้หมุนครบรอบของดวงอาทิตย์ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><img height=\"216\" width=\"512\" src=\"/files/u41158/sun03.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210081.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210081.jpg</a> </span></p>\n<p>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/82234\"><img height=\"125\" width=\"129\" src=\"/files/u41158/Home.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 96px; height: 93px\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1727446549, expire = 1727532949, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:3183753618dd57ad36fc66b54dec00e3' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ดวงอาทิตย์

จุดดวงอาทิตย์

           เมื่อดูดวงอาทิตย์ด้วยกล้องโทรทรรศน์ติดตั้งแผ่นกรองแสง เราจะมองเห็นจุดสีคล้ำบนโฟโตสเฟียร์ซึ่งเรียกว่า “จุดดวงอาทิตย์” (Sunspots) มีมากมายหลายจุด มากบ้าง น้อยบ้าง เปลี่ยนแปลงไป บางครั้งก็เกิดขึ้นนานนับเดือน   จุดเหล่านี้มีขนาดประมาณโลกของเราหรือใหญ่กว่า จุดเหล่านี้มิได้มืดแต่มีความสว่างประมาณ 10 เท่าของดวงจันทร์เต็มดวง มีอุณหภูมิประมาณ 4,500 เคลวิน


          จุดดวงอาทิตย์เกิดจากการที่สนามแม่เหล็กของดวงอาทิตย์บิดเบือน เนื่องจากดวงอาทิตย์มีสถานะเป็นก๊าซ แต่ละส่วนหมุนรอบตัวเองด้วยความเร็วไม่เท่ากัน (Differential rotation) กล่าวคือในการหมุนหนึ่งรอบบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรจะใช้เวลา 25 วัน ในขณะที่บริเวณใกล้ขั้วทั้งสองใช้เวลานานถึง 36 วัน  ความแตกต่างในการหมุนรอบตัวเองเช่นนี้ มีผลทำให้สนามแม่เหล็กบิดเบือน  ในบริเวณที่สนามแม่เหล็กมีกำลังสูง  เส้นแรงแม่เหล็กจะกักอนุภาคก๊าซร้อนที่พุ่งขึ้นมาไว้มิให้ออกนอกเขตของเส้นแรง  เมื่อก๊าซร้อนเย็นตัวลงก็จะจมลง ณ ตำแหน่งเดิม ทำให้เรามองเห็นเป็นสีคล้ำเพราะบริเวณนั้นจะมีอุณหภูมิต่ำกว่าบริเวณโดยรอบ

http://t2.gstatic.com/images?q=tbn:PKgeq5_5j-gzEM::&t=1&usg=__07QUhm50BnU6jcQPsrzJ2RHgq3k=

                จุดดวงอาทิตย์มักปรากฏให้เห็นในบริเวณละติจูดที่ 30 องศาเหนือและใต้  และมักปรากฏให้เห็นเป็นคู่เช่นเดียวกับขั้วแม่เหล็ก จุดดวงอาทิตย์มีปรากฏให้เห็นมากเป็นวัฏจักรทุกๆ 11 ปี

http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210082.jpg


       การหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์
      ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งของดวงอาทิตย์ คือ การที่มีกลุ่มจุดเกิดขึ้น กลุ่มจุดเหล่านี้เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็มีการ เปลี่ยนแปลงและในที่สุดจะสลายตัวหมดไป ขณะเดียวกันก็มีกลุ่มจุดใหม่เกิดขึ้นอย่างไรก็ตามกลุ่มจุดบนดวงอาทิตย์มี อายุอยู่นานพอที่จะใช้เป็นเครื่องติดตามสังเกตดูได้ว่า ดวงอาทิตย์มีการหมุนรอบตัวเองเป็นรอบ ๆ เช่นเดียวกับที่ โลกหมุนรอบตัวเองวันละรอบ เมื่อเราตามสังเกตการเคลื่อนที่ของกลุ่มจุด หรือจุดบนดวงอาทิตย์ไปเรื่อย ๆ เป็นเวลาหลายวัน ก็จะได้พบว่า ดวงอาทิตย์หมุนรอบตัวเองครบรอบในเวลาประมาณหนึ่งเดือน การหมุนรอบตัวเองนี้มีทิศทางตามการหมุน รอบตัวเองของดาวเคราะห์ต่าง ๆ และตามทิศทางซึ่งดาวเคราะห์ต่าง ๆ นั้นโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ สิ่งที่น่าสนใจก็คือ พื้น ผิวดวงอาทิตย์ที่ละติจูดต่าง ๆ หมุนครบรอบในเวลาไม่เท่ากัน แถบศูนย์สูตร หมุนด้วยความเร็วสูงกว่าแถบละติจูดสูงขึ้นไป ดัง จะเห็นได้จากตารางรายการคาบ หรือเวลาที่ใช้หมุนครบรอบของดวงอาทิตย์

http://www.vcharkarn.com/uploads/209/210081.jpg

สร้างโดย: 
นายจำเริญ บุญยืน,นางสาวกนกพร รัตนเจริญพร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 269 คน กำลังออนไลน์