• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)', 'node/47913', '', '18.119.97.172', 0, 'fe52dc877353654a6fa562e78d405879', 183, 1716899556) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b05dbcb756adba09c0189fe0cf8bf8fb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div align=\"center\">\n<a href=\"/\" title=\"การถ่ายทอดกระแสประสาท\"><img src=\"/files/u40568/anigif_4.gif\" width=\"220\" height=\"150\" /></a> \n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/nerve_impulse.gif\" width=\"428\" height=\"198\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\">   </span><span style=\"color: #000080\"> <a href=\"http://www.freewebs.com/soaring_sphincter_travel_agency/nervoussystem.htm\" title=\"http://www.freewebs.com/soaring_sphincter_travel_agency/nervoussystem.htm\">http://www.freewebs.com/soaring_sphincter_travel_agency/nervoussystem.htm</a> </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000080\"><b>การถ่ายทอดกระแสประสาท</b><br />\nเมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ารอยต่อระหว่างเซลล์ประสาทที่เรียกว่าไซแนปส์์นั้นจะมีขนาด 0.02 ไมโครเมตร คั่นอยู่ ทำให้กระแสประสาทไม่สามารถข้ามผ่านไซแนปส์ไปได้ ที่ปลายแอกซอนจะมีถุงขนาดเล็กและไมโทคอนเดรียสะสมอยู่มาก<br />\nภายในถุงเหล่านี้จะบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มาถึงที่ปลายแอกซอน ถุงเล็ก ๆ ดังกล่าวจะเคลื่อนตัวไปรวมกับเยื่อหุ้มเชลล์ตรงบริเวณไซแนปส์ และปล่อยสารสื่อประสาทออกมาเพื่อกระตุ้นเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ถัดไป<br />\nทำให้เซลล์ประสาทที่ถูกกระตุ้นมีกระแสประสาทเกิดขึ้นและถูกถ่ายทอดต่อจนไปถึงปลายทาง เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาทที่เยื่อหุ้มปลายประสาทแอกซอนเข้าสู่ ช่องไซแนปส์ สารสื่อประสาทจะไปจับกับโปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มเชลล์ประสาทหลังไซแนปส์<br />\nทำให้เกิดการเคลื่่อนที่ของไอออนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทของไซแนปส์ และทำให้เกิดการส่งกระแสประสาทต่อไป  </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\"><img src=\"/files/u40568/I10-40-synapse.jpg\" width=\"302\" height=\"281\" /></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #000080\">http://universe-review.ca/I10-40-synapse.jpg </span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000080\">     สารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์ จะถูกสลายโดยเอนไซม์ สารที่ได้จากการสลายอาจจะนำกลับเข้าไปสร้างสารสื่อประสาทใหม่<br />\nบางส่วนกำจัดออกทางระบบเลือด เอนไซม์จึงถูกกระตุ้นเฉพาะเวลาที่แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมาในช่วงสั้น ๆ เท่านั้น <br />\nสารสื่อประสาทพบมากบริเวณปลายแอกซอน ทำหน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง<br />\nปัจจุบันพบว่าสารสื่อประสาทมีหลายชนิด เช่น แอซิติลโคลีน (acetylcholine)นอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine) เอนดอร์ฟิน (endorphine)<br />\nสารเคมีและยาหลายชนิดมีผลต่อการทำงานของระบบประสาทโดยไปมีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่น สารพิษจากแบคทีเรียบางชนิดไปยับยั้งการปล่อยสารสื่อประสาทจากแอกซอนทำให้กระแสประสาทถ่ายทอดไม่ได้ จึงเกิดอาการอัมพาตขึ้น<br />\nยาระงับประสาททำให้สารสื่อประสาทที่ปล่อยออกมีน้อย กระแสประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลง ทำให้มีอาการสงบ ไม่วิตกกังวล<br />\nสารจำำพวกนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตามีนจะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทำให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว<br />\nยาฆ่าแมลงบางชนิดสามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสารทำให้สารสื่อประสาทยังคงอยู่ การนำกระแสประสาทจึงเกิดขึ้นใหม่ไม่ได้ การทำงานของระบบประสาทจึงผิดปกติและเป็นอันตราย</span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/F02_04_0.gif\" width=\"298\" height=\"208\" />        <img src=\"/files/u40568/I10-87-synapse.jpg\" width=\"238\" height=\"220\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000080\">                  http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/               <a href=\"http://universe-review.ca/I10-87-synapse.jpg\" title=\"http://universe-review.ca/I10-87-synapse.jpg\">http://universe-review.ca/I10-87-synapse.jpg</a><br />\n</span>\n</div>\n<div>\n<span style=\"color: #000080\">                  science04/46/2/nerve/content/nerve_impulse4.html </span>\n</div>\n<div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40568/431.gif\" width=\"459\" height=\"52\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<a href=\"/node/89111\" title=\"ย้อนกลับ\"><img src=\"/files/u40568/2_2.gif\" width=\"122\" height=\"75\" /></a> \n</div>\n', created = 1716899576, expire = 1716985976, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b05dbcb756adba09c0189fe0cf8bf8fb' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

การถ่ายทอดกระแสประสาท

 
 
 
การถ่ายทอดกระแสประสาท
เมื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน พบว่ารอยต่อระหว่างเซลล์ประสาทที่เรียกว่าไซแนปส์์นั้นจะมีขนาด 0.02 ไมโครเมตร คั่นอยู่ ทำให้กระแสประสาทไม่สามารถข้ามผ่านไซแนปส์ไปได้ ที่ปลายแอกซอนจะมีถุงขนาดเล็กและไมโทคอนเดรียสะสมอยู่มาก
ภายในถุงเหล่านี้จะบรรจุสารสื่อประสาท เมื่อกระแสประสาทเคลื่อนที่มาถึงที่ปลายแอกซอน ถุงเล็ก ๆ ดังกล่าวจะเคลื่อนตัวไปรวมกับเยื่อหุ้มเชลล์ตรงบริเวณไซแนปส์ และปล่อยสารสื่อประสาทออกมาเพื่อกระตุ้นเยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ถัดไป
ทำให้เซลล์ประสาทที่ถูกกระตุ้นมีกระแสประสาทเกิดขึ้นและถูกถ่ายทอดต่อจนไปถึงปลายทาง เมื่อสารสื่อประสาทถูกปล่อยออกมาจากถุงบรรจุสารสื่อประสาทที่เยื่อหุ้มปลายประสาทแอกซอนเข้าสู่ ช่องไซแนปส์ สารสื่อประสาทจะไปจับกับโปรตีนตัวรับที่เยื่อหุ้มเชลล์ประสาทหลังไซแนปส์
ทำให้เกิดการเคลื่่อนที่ของไอออนผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้เกิด การเปลี่ยนแปลงความต่างศักย์ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทของไซแนปส์ และทำให้เกิดการส่งกระแสประสาทต่อไป 
http://universe-review.ca/I10-40-synapse.jpg
     สารสื่อประสาทที่เหลืออยู่ในช่องไซแนปส์ จะถูกสลายโดยเอนไซม์ สารที่ได้จากการสลายอาจจะนำกลับเข้าไปสร้างสารสื่อประสาทใหม่
บางส่วนกำจัดออกทางระบบเลือด เอนไซม์จึงถูกกระตุ้นเฉพาะเวลาที่แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมาในช่วงสั้น ๆ เท่านั้น
สารสื่อประสาทพบมากบริเวณปลายแอกซอน ทำหน้าที่เป็นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง
ปัจจุบันพบว่าสารสื่อประสาทมีหลายชนิด เช่น แอซิติลโคลีน (acetylcholine)นอร์เอพิเนฟริน (norepinephrine) เอนดอร์ฟิน (endorphine)
สารเคมีและยาหลายชนิดมีผลต่อการทำงานของระบบประสาทโดยไปมีผลต่อการถ่ายทอดกระแสประสาทที่ไซแนปส์ เช่น สารพิษจากแบคทีเรียบางชนิดไปยับยั้งการปล่อยสารสื่อประสาทจากแอกซอนทำให้กระแสประสาทถ่ายทอดไม่ได้ จึงเกิดอาการอัมพาตขึ้น
ยาระงับประสาททำให้สารสื่อประสาทที่ปล่อยออกมีน้อย กระแสประสาทจึงส่งไปยังสมองน้อยลง ทำให้มีอาการสงบ ไม่วิตกกังวล
สารจำำพวกนิโคติน คาเฟอีน แอมเฟตามีนจะไปกระตุ้นให้แอกซอนปล่อยสารสื่อประสาทออกมามาก ทำให้เกิดการตื่นตัว หัวใจเต้นเร็ว
ยาฆ่าแมลงบางชนิดสามารถยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ที่จะมาสลายสารสื่อประสารทำให้สารสื่อประสาทยังคงอยู่ การนำกระแสประสาทจึงเกิดขึ้นใหม่ไม่ได้ การทำงานของระบบประสาทจึงผิดปกติและเป็นอันตราย
       
                  http://www.thaigoodview.com/library/contest2551/               http://universe-review.ca/I10-87-synapse.jpg
                  science04/46/2/nerve/content/nerve_impulse4.html
สร้างโดย: 
ครูกัลยารัตน์ เมธีวีรวงศ์ และ นางสาวกนกวรรณ เกษมชัยชุติพันธ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 158 คน กำลังออนไลน์