• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a8b36bef29114cc1dc849ecc638aa567' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40049/1__0.jpg\" width=\"350\" height=\"262\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\nชื่อ                       ก้ามปู\n</div>\n<p>ชื่อสามัญ             Rain Tree, Monkey Pod</p>\n<p>\nชื่อวิทยาศาสตร์    Samanea saman Merr.</p>\n<p>\nวงศ์                      MIMOSACEAE</p>\n<p>ชื่ออื่นๆ               ก้ามกราม ก้ามกุ้ง จามจุรี</p>\n<p>\nฉำฉา ลัง สารสา สำสา ตุ๊ดตู่</p>\n<p>ลักษณะทั่วไป</p>\n<p>\nจามจุรี เป็นไม้ประดับและไม้ที่ให้ร่มสวยงาม มีลำต้นขนาดใหญ่ มีเรื่อนยอดแผ่กว้าง มีถิ่นกำเนิดในแม็กซิโก กัวเตมาลา เปรู โบลิเวีย บราซิล มีทั้งที่ปลูกและขึ้นเองตามธรรมชาติ ในอเมริกาแถบร้อนตั้งแต่แม็กซิโกลงไปทางตอนใต้ทางอินดิสตะวันตกและในแถบ ยุโรปรวมทั้งเอเซีย เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ ความสูงประมาณ 15-20 เมตร  ใบ เป็นใบผสมแบบขนนกสองชั้น ทั้งใบยาวประมาณ 25-40 ซม. ใบประกอบด้วยช่อใบ 4 คู่ ใบย่อย 2-10 คู่ต่อหนึ่งช่อใบ ใบย่อย เกิดบนก้านใบซึ่งแตกจากก้านใหญ่ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแต่เบี้ยว ใบย่อยด้านปลายก้านใบจะใหญ่ที่สุด ย่อยหนาปานกลาง ด้านหน้าใบสี เขียวเข้มเป็นมัน ด้านหลังใบมีสีเขียวนวลและมีขนเล็กน้อย  ดอก เป็นช่อดอกทรงกลม แต่ละช่อรวมกันเป็นช่อใหญ่ ช่อดอกเกิดที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเล็กมาก แต่ละช่อดอกมีดอกตัวเมียดอกเดียว และล้อมรอบด้วยดอกตัวผู้เป็นจำนวนมาก ดอกบานมีสีชมพูซึ่งเป็นสีของเกสรตัวผู้ จามจุรีออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ผล เป็นฝักแบน เมื่อแก่ก็จะไม่แตก ฝักแก่มีสีน้ำตาลดำ ขนาดกว้าง1.5-2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ภายในฝักมีเนื้อนิ่มรสหวาน ฝักหนึ่งๆ มีเมล็ด 15-25 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลดำยาว 0.5-0.8 ซม. ฝักแก่ระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคม มีเรือนยอดแผ่กว้างเป็นรูปร่มนิยมปลูกเป็นไม้ให้ร่มตามถนนหรือในสวนสาธารณะ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเป็นพันธุ์ไม้ที่เป็น สัญลักษณ์หรือเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งธงประจำมหาวิทยาลัยแห่งนี้คือ สีชมพู เหมือนกับสีของดอกจามจุรี</p>\n<p>\nส่วนที่เป็นพิษ</p>\n<p>\nเมล็ด</p>\n<p>\nสารพิษและสารเคมีอื่นๆ</p>\n<p>\nsaponin, albuminoid</p>\n<p>\nการเกิดพิษ</p>\n<p>\nถ้ารับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการอาเจียน ปวดท้อง ปวดศรีษะ มีไข้ ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย</p>\n<p>\nการรักษา</p>\n<p>\nล้างท้อง ให้รับประทานพวก demulcents เช่น นมและไข่ขาว ระวังการเสียน้ำและ electrolyte balance ถ้าสูญเสียมากต้องให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n    <a href=\"/node/83434/\"><img src=\"/files/u40049/HomeIcon1.jpg\" width=\"300\" height=\"300\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u40049/101516__kalon.jpg\" width=\"356\" height=\"389\" />\n</div>\n<p>\nเฟิร์นข้าหลวง</p>\n<p>\nชื่อสามัญ              Bird’s nest fern</p>\n<p>\nชื่อวิทยาศาสตร์      Asplenium nidus</p>\n<p>\nตระกูล   POLYPODIACEAE</p>\n<p>\nถิ่นกำเนิด</p>\n<p>\nเกิดอยู่ทั่วไปในแถบที่มีอากาศร้อน<br />\nและอบอุ่น เช่น เอเซีย ออสเตรเลีย</p>\n<p>\nลักษณะทั่วไป</p>\n<p>\nเฟิร์นชนิดนี้ ฝรั่งเรียกว่า “Bird’s nest fern” ชอบอาศัยอยู่ตามคาคบ ไม้ใหญ่ในเขตอบอุ่นที่มีความชื้นสูง ถือว่าเป็นลักษณะของกาฝาก ใบของเฟิร์นข้าหลวง จะมีสีเขียวอ่อน ขอบใบหยักเป็นคลื่น ก้านใบจะมีสีน้ำตาลเข้ม การเรียงตัวของใบจะเรียงตัวแบบเกลียวคล้ายดอกกุหลาบ ใบที่เกิดใหม่จะอ่อนและเปราะหักได้ง่ายแต่พอเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะมีความ เหนียวและหนามาก เมื่อนำมาปลูกภายในอาคารบ้านเรือนจะต้องคอยทำความสะอาดเช็ดถูสิ่งสกปรกและ ฝุ่นละอองออกจากใบบ้าง เดือนละครั้งก็ยังดี เฟิร์นข้าหลวงเป็นพืชที่ชอบความชื้นสูงถ้าอากาศแห้งแล้งควรฉีดสเปรย์ให้ใบ ของมันอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้งเพราะการฉีดละอองน้ำจะทำให้ใบของมันสดชื่น อยู่ตลอด</p>\n<p>การดูแลรักษา</p>\n<p>\nแสง  ชอบอยู่ในร่มและแดดส่องถึงได้บ้างเล็กน้อย</p>\n<p>\nอุณหภูมิ ชอบอุณหภูมิ ประมาณ 18- 24 องศาเซลเซียส</p>\n<p>\nความชื้น ต้องการความชื้นสูง</p>\n<p>น้ำ ในระยะแรกของการเจริญเติบโตต้องให้น้ำอย่างเต็มที่ และลดปริมาณลงในฤดูหนาวปกติก็ควรจะให้ 2 วันต่อครั้ง</p>\n<p>\nดินปลูก ดินร่วน 1 ส่วน ใบไม้ผุ 1 ส่วน ทรายละเอียด 1 ส่วน ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก 1 ส่วน (ควรใช้ปุ๋ยเก่าๆ ค้างปี เศษอิฐหัก 1 ส่วน ปูนขาว 1/2 ส่วน</p>\n<p>\nปุ๋ย ควรละลายปุ๋ยผสมน้ำรดเดือนละครั้ง ถ้าต้องการเร่งการเจริญเติบโตในช่วงแรกก็ใช้ปุ๋ยเคมีสูตรเสมอ เช่น 16 - 16 - 16 ละลายน้ำรดเดือนละ 2 ครั้ง</p>\n<p>\nกระถาง ควรกระถางปากกว้าง แต่ไม่จำเป็นต้องลึกนัก</p>\n<p>\nการขยายพันธุ์ แยกกอ เพาะโดยใช้สปอร์ (spore)</p>\n<p>\nโรคและแมลง  มด เพลี้ยอ่อน เพลี้ยไฟ ส่วนโรคไม่ค่อยพบ</p>\n<p>\nการป้องกันกำจัด มด โรยด้วยยาผงคลอเดนไปที่รัง หรือทางเดิน เพลี้ยอ่อน ใช้ยาเซวินผล 1/2 ช้อนชา ละลายน้ำ 1 แกลลอน ฉีดพ่นให้ทั่ว เพลี้ยไฟ ใช้เช่นเดียวกับเพลี้ยอ่อน </p>\n<p>\n   <a href=\"/node/83434/\"><img src=\"/files/u40049/HomeIcon1.jpg\" width=\"300\" height=\"300\" /></a></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40049/min_makam_0.jpg\" width=\"450\" height=\"298\" />\n</p>\n<p>ชื่อ                  :    เฟิร์นใบมะขาม</p>\n<p>ชื่อวิทยาศาสตร์ :  Nephrolepis cordifolia (L.) C.Presl.</p>\n<p>ชื่อท้องถิ่น : เฟิร์นใบมะขาม</p>\n<p>ชื่อวงศ์:  AGAVACEAE</p>\n<p>ลักษณะวิสัย : ไม้พุ่ม</p>\n<p>ลักษณะพิเศษของพืช : ไม้ประดับในร่ม</p>\n<p>ลักษณะทั่วไป</p>\n<p>\nเฟิรนใบมะขามเป็นไม้ประดับที่มีความสูงไม่เกิน0.50เมตรชอบแสงปานกลางชอบความ ชื้นปานกลางชอบดินที่มี อินทรีย์วัตถุสูงลำต้นมีเหง้าและไหลเลื้อยและงอกเป็นไม้ใหม่ได้ตลอดเวลามีใบ ประกอบแบบขนนกชั้นเดียวออกดอก เรียงตรงกันข้ามตลอดทั้งแผ่นใบ กลุ่มของอัปสปอร์มีเยื่อคลุมเป็นไม้คลุมดิน สูง 10- 20 เซนติเมตร ใบลักษณะคล้ายใบมะขามจัดปรกขอบภาชนะด้านหน้าหรือส่วนอื่นๆแล้วแต่ความสูง ขยายพันธุ์ด้วยการแยกไหล หรือหน่อใบประกอบแบบขนนกขอบจักตื้นถิ่นกำเนิดในเขตร้อนหรือกึ่งร้อนในไทยพบ ทางภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักพบตามซอกหิน พื้นดิน หรือที่ลาดชัน ไปถึงคาคบไม้สูงๆ เป็นชนิดที่นิยมปลูกกันมากที่สุด สามารถตัดใบไป\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n   <a href=\"/node/83434/\"><img src=\"/files/u40049/HomeIcon1.jpg\" width=\"300\" height=\"300\" /></a>\n</p>\n', created = 1728207322, expire = 1728293722, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a8b36bef29114cc1dc849ecc638aa567' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c7083ceb52bdd54324cf4ac1a1da3c24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u40049/1__0.jpg\" width=\"350\" height=\"262\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div>\nชื่อ                       ก้ามปู\n</div>\n<p>ชื่อสามัญ             Rain Tree, Monkey Pod</p>\n<p>\nชื่อวิทยาศาสตร์    Samanea saman Merr.</p>\n<p>\nวงศ์                      MIMOSACEAE</p>\n<p>ชื่ออื่นๆ               ก้ามกราม ก้ามกุ้ง จามจุรี</p>\n<p>\nฉำฉา ลัง สารสา สำสา ตุ๊ดตู่</p>\n<p>ลักษณะทั่วไป</p>\n<p>\nจามจุรี เป็นไม้ประดับและไม้ที่ให้ร่มสวยงาม มีลำต้นขนาดใหญ่ มีเรื่อนยอดแผ่กว้าง มีถิ่นกำเนิดในแม็กซิโก กัวเตมาลา เปรู โบลิเวีย บราซิล มีทั้งที่ปลูกและขึ้นเองตามธรรมชาติ ในอเมริกาแถบร้อนตั้งแต่แม็กซิโกลงไปทางตอนใต้ทางอินดิสตะวันตกและในแถบ ยุโรปรวมทั้งเอเซีย เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ ความสูงประมาณ 15-20 เมตร  ใบ เป็นใบผสมแบบขนนกสองชั้น ทั้งใบยาวประมาณ 25-40 ซม. ใบประกอบด้วยช่อใบ 4 คู่ ใบย่อย 2-10 คู่ต่อหนึ่งช่อใบ ใบย่อย เกิดบนก้านใบซึ่งแตกจากก้านใหญ่ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแต่เบี้ยว ใบย่อยด้านปลายก้านใบจะใหญ่ที่สุด ย่อยหนาปานกลาง ด้านหน้าใบสี เขียวเข้มเป็นมัน ด้านหลังใบมีสีเขียวนวลและมีขนเล็กน้อย  ดอก เป็นช่อดอกทรงกลม แต่ละช่อรวมกันเป็นช่อใหญ่ ช่อดอกเกิดที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเล็กมาก แต่ละช่อดอกมีดอกตัวเมียดอกเดียว และล้อมรอบด้วยดอกตัวผู้เป็นจำนวนมาก ดอกบานมีสีชมพูซึ่งเป็นสีของเกสรตัวผู้ จามจุรีออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ผล เป็นฝักแบน เมื่อแก่ก็จะไม่แตก ฝักแก่มีสีน้ำตาลดำ ขนาดกว้าง1.5-2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ภายในฝักมีเนื้อนิ่มรสหวาน ฝักหนึ่งๆ มีเมล็ด 15-25 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลดำยาว 0.5-0.8 ซม. ฝักแก่ระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคม มีเรือนยอดแผ่กว้างเป็นรูปร่มนิยมปลูกเป็นไม้ให้ร่มตามถนนหรือในสวนสาธารณะ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเป็นพันธุ์ไม้ที่เป็น สัญลักษณ์หรือเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งธงประจำมหาวิทยาลัยแห่งนี้คือ สีชมพู เหมือนกับสีของดอกจามจุรี</p>\n<p>\nส่วนที่เป็นพิษ</p>\n<p>\nเมล็ด</p>\n<p>\nสารพิษและสารเคมีอื่นๆ</p>\n<p>\nsaponin, albuminoid</p>\n<p>\nการเกิดพิษ</p>\n<p>\nถ้ารับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการอาเจียน ปวดท้อง ปวดศรีษะ มีไข้ ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย</p>\n<p>\nการรักษา</p>\n<p>\nล้างท้อง ให้รับประทานพวก demulcents เช่น นมและไข่ขาว ระวังการเสียน้ำและ electrolyte balance ถ้าสูญเสียมากต้องให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n    <a href=\"/node/83434/\"><img src=\"/files/u40049/HomeIcon1.jpg\" width=\"300\" height=\"300\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1728207322, expire = 1728293722, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c7083ceb52bdd54324cf4ac1a1da3c24' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เฟิร์น

 

ชื่อ                       ก้ามปู

ชื่อสามัญ             Rain Tree, Monkey Pod

ชื่อวิทยาศาสตร์    Samanea saman Merr.

วงศ์                      MIMOSACEAE

ชื่ออื่นๆ               ก้ามกราม ก้ามกุ้ง จามจุรี

ฉำฉา ลัง สารสา สำสา ตุ๊ดตู่

ลักษณะทั่วไป

จามจุรี เป็นไม้ประดับและไม้ที่ให้ร่มสวยงาม มีลำต้นขนาดใหญ่ มีเรื่อนยอดแผ่กว้าง มีถิ่นกำเนิดในแม็กซิโก กัวเตมาลา เปรู โบลิเวีย บราซิล มีทั้งที่ปลูกและขึ้นเองตามธรรมชาติ ในอเมริกาแถบร้อนตั้งแต่แม็กซิโกลงไปทางตอนใต้ทางอินดิสตะวันตกและในแถบ ยุโรปรวมทั้งเอเซีย เป็นไม้ผลัดใบขนาดใหญ่ ความสูงประมาณ 15-20 เมตร  ใบ เป็นใบผสมแบบขนนกสองชั้น ทั้งใบยาวประมาณ 25-40 ซม. ใบประกอบด้วยช่อใบ 4 คู่ ใบย่อย 2-10 คู่ต่อหนึ่งช่อใบ ใบย่อย เกิดบนก้านใบซึ่งแตกจากก้านใหญ่ ใบย่อยรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนแต่เบี้ยว ใบย่อยด้านปลายก้านใบจะใหญ่ที่สุด ย่อยหนาปานกลาง ด้านหน้าใบสี เขียวเข้มเป็นมัน ด้านหลังใบมีสีเขียวนวลและมีขนเล็กน้อย  ดอก เป็นช่อดอกทรงกลม แต่ละช่อรวมกันเป็นช่อใหญ่ ช่อดอกเกิดที่ปลายกิ่ง กลีบดอกเล็กมาก แต่ละช่อดอกมีดอกตัวเมียดอกเดียว และล้อมรอบด้วยดอกตัวผู้เป็นจำนวนมาก ดอกบานมีสีชมพูซึ่งเป็นสีของเกสรตัวผู้ จามจุรีออกดอกระหว่างเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม ผล เป็นฝักแบน เมื่อแก่ก็จะไม่แตก ฝักแก่มีสีน้ำตาลดำ ขนาดกว้าง1.5-2 ซม. ยาว 12-20 ซม. ภายในฝักมีเนื้อนิ่มรสหวาน ฝักหนึ่งๆ มีเมล็ด 15-25 เมล็ด เมล็ดสีน้ำตาลดำยาว 0.5-0.8 ซม. ฝักแก่ระหว่างเดือนตุลาคม-มกราคม มีเรือนยอดแผ่กว้างเป็นรูปร่มนิยมปลูกเป็นไม้ให้ร่มตามถนนหรือในสวนสาธารณะ ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเป็นพันธุ์ไม้ที่เป็น สัญลักษณ์หรือเป็นต้นไม้ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งธงประจำมหาวิทยาลัยแห่งนี้คือ สีชมพู เหมือนกับสีของดอกจามจุรี

ส่วนที่เป็นพิษ

เมล็ด

สารพิษและสารเคมีอื่นๆ

saponin, albuminoid

การเกิดพิษ

ถ้ารับประทานเข้าไปจะทำให้เกิดอาการอาเจียน ปวดท้อง ปวดศรีษะ มีไข้ ตาพร่า กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย

การรักษา

ล้างท้อง ให้รับประทานพวก demulcents เช่น นมและไข่ขาว ระวังการเสียน้ำและ electrolyte balance ถ้าสูญเสียมากต้องให้น้ำเกลือทางเส้นเลือด

 

   

 

 

สร้างโดย: 
เสาวลักษณ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 399 คน กำลังออนไลน์