• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:fc1e093bba42c222f56ae8fdb6fc4dd7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <img height=\"276\" width=\"370\" src=\"/files/u40051/b_thatian.png\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n  <a href=\"/node/82310\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/home.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82631\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/tanon.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82632\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/klong.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82633\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/sapan.png\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/82644\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/trok.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82650\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/wad.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82653\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/otherplace.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82654\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/aboutme.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82655\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/source.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"164\" width=\"291\" src=\"/files/u40051/tha_tianold.png\" border=\"0\" /><img height=\"205\" width=\"271\" src=\"/files/u40051/tha_tiannew.png\" border=\"0\" style=\"width: 204px; height: 162px\" />  <br />\nภาพเปรียบเทียบท่าเตียนในอดีตและปัจจุบัน<br />\nที่มา : <a href=\"http://i192.photobucket.com/albums/z222/jenifaae/1.jpg\">http://i192.photobucket.com/albums/z222/jenifaae/1.jpg</a><br />\n<a href=\"http://www.oursiam.in.th/content/pictures/thatian_1_2.jpg\">http://www.oursiam.in.th/content/pictures/thatian_1_2.jpg</a>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/QOsg-j3UQMw\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/QOsg-j3UQMw\"></embed>\n</object></div>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=QOsg-j3UQMw\">http://www.youtube.com/watch?v=QOsg-j3UQMw</a>\n</p>\n<p>\n<strong>ท่าเตียน</strong></p>\n<p>       ท่าเตียนแห่งนี้เป็นชุมชนมาตั้งสมัยอยุธยาแล้วเรียกว่า<em>ชุมชนบางกอก</em> ในสมัยรัตนโกสินทร์บริเวณท่าเตียนแห่งนี้เคยเป็นตลาดท้ายสนมหรือตลาดท้ายวังมาก่อน และเป็นตลาดที่มีความคึกคัก มีเรือมาจอดเทียบท่าส่งของ และค้าขายกันเต็มท่า ซึ่งนอกจากจะเป็นศูนย์กลางตลาด ขนส่งสินค้าทางการเกษตรที่ใหญ่ที่สุดของกรุงเทพฯ แล้วยังถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญในการคมนาคมทางน้ำอีกด้วย ไม่ว่าใครจะเดินทางไปไหนมาไหนหรือจะไป ต่างประเทศ ก็ตามก็ต้องมาขึ้นลงเรือที่ท่านี้ทั้งสิ้นและตลอดสองฟาก ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาก็เต็มไปด้วยเรือนแพ ของชาวบ้านที่มาอาศัยอยู่และค้าขายในแถบนี้<br />\n       คำว่า ท่าเตียน ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่นอนว่า ชื่อนี้มาจากไหน ใครเป็นผู้ตั้ง มีแต่คำบอกเล่าหรือคำสันนิษฐานสืบต่อกันมาเป็น ๒ ประการ คือ<br />\n    <strong>   <em>ประการแรก</em></strong> สาเหตุที่เรียกสถานที่บริเวณนี้ว่าท่าเตียน เพราะเดิมเคยเป็นบริเวณที่มีทั้งวังที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ บ้านเรือนเสนาบดีชั้นผู้ใหญ่ผู้น้อย เรือนราษฎร โรงงานหลวง ตั้งอยู่อย่างแออัด เป็นแนวยาวตามริมน้ำเจ้าพระยา จากมุมพระบรมราชวังด้านใต้จนถึงตีนท่าน้ำวัดโพธิ อันเป็นท่าจอดเรือข้ามฟากไปวัดแจ้ง  จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่บริเวณนี้ ปรากฏความเสียหายบันทึกไว้ในพระราชพงศาวดารว่า<br />\n        “...เพลิงไหม้ ๕  ๑ ค่ำ ว่า เวลายามเศษ ไฟไหม้เสียหายจำนวนมาก เป็นเรือนหม่อมเจ้าในกรมสุรินทร์รักษ์ ๒๘ หลัง โรงพระองค์เจ้ามหาหงส์ ๓ หลัง เรือน ๑๓ หลัง เรือนข้าราชการและราษฎร ๔๔ หลัง ศาลาวัดสองหลังครึ่ง โรงงานของในหลวง ๑ ประตูท่าช้างล่าง ตัวไม้ในโรงเรือนที่จะใช้สร้างวังและพระอารามหลวงกว่าร้อยต้น... ”     <br />\n เพลิงไหม้ในครั้งนั้นกินเนื้อที่กว้างขวางมาก เป็นเหตุให้บริเวณนั้นราบเตียนโล่งผิดตาจากเดิม จนคนทั่วไปใช้เป็นที่หมายเรียกลักษณะเด่นของบริเวณนั้นว่า “ท่าเตียน”<br />\n        <em><strong>ประการที่สอง</strong></em> มีผู้สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “ฮาเตียน” ซึ่งเป็นชื่อเมืองหนึ่งในประเทศญวน ชาวญวนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในไทยหลายครั้งหลายหน และกระจายอยู่ทั่วไปในพระนครและธนบุรี มีชาวญวนบางคนซึ่งเห็นภูมิภาคบริเวณนี้คล้ายคลึงกับภูมิภาคส่วนหนึ่งของประเทศฮาเตียนที่เคยอยู่อาศัย จึงเรียกบริเวณนั้นว่า ฮาเตียน เพื่อให้คลาบความคิดถึงถิ่นฐานที่เคยอยู่ ต่อมาจึงเพี้ยนเป็นสำเนียงไทยว่า “ท่าเตียน”<br />\n ทั้งข้อสันนิษฐานและคำเล่าลือทั้ง ๒ ประการนี้ก็ยังไม่ปรากฏหลักฐานยืนยันอย่างชัดเจน\n</p>\n', created = 1715605827, expire = 1715692227, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:fc1e093bba42c222f56ae8fdb6fc4dd7' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติสถานที่ “ท่าเตียน”

 

           
        

 
ภาพเปรียบเทียบท่าเตียนในอดีตและปัจจุบัน
ที่มา : http://i192.photobucket.com/albums/z222/jenifaae/1.jpg
http://www.oursiam.in.th/content/pictures/thatian_1_2.jpg

ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=QOsg-j3UQMw

ท่าเตียน

       ท่าเตียนแห่งนี้เป็นชุมชนมาตั้งสมัยอยุธยาแล้วเรียกว่าชุมชนบางกอก ในสมัยรัตนโกสินทร์บริเวณท่าเตียนแห่งนี้เคยเป็นตลาดท้ายสนมหรือตลาดท้ายวังมาก่อน และเป็นตลาดที่มีความคึกคัก มีเรือมาจอดเทียบท่าส่งของ และค้าขายกันเต็มท่า ซึ่งนอกจากจะเป็นศูนย์กลางตลาด ขนส่งสินค้าทางการเกษตรที่ใหญ่ที่สุดของกรุงเทพฯ แล้วยังถือได้ว่าเป็นเมืองท่าที่สำคัญในการคมนาคมทางน้ำอีกด้วย ไม่ว่าใครจะเดินทางไปไหนมาไหนหรือจะไป ต่างประเทศ ก็ตามก็ต้องมาขึ้นลงเรือที่ท่านี้ทั้งสิ้นและตลอดสองฟาก ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาก็เต็มไปด้วยเรือนแพ ของชาวบ้านที่มาอาศัยอยู่และค้าขายในแถบนี้
       คำว่า ท่าเตียน ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่นอนว่า ชื่อนี้มาจากไหน ใครเป็นผู้ตั้ง มีแต่คำบอกเล่าหรือคำสันนิษฐานสืบต่อกันมาเป็น ๒ ประการ คือ
       ประการแรก สาเหตุที่เรียกสถานที่บริเวณนี้ว่าท่าเตียน เพราะเดิมเคยเป็นบริเวณที่มีทั้งวังที่ประทับของพระบรมวงศานุวงศ์ บ้านเรือนเสนาบดีชั้นผู้ใหญ่ผู้น้อย เรือนราษฎร โรงงานหลวง ตั้งอยู่อย่างแออัด เป็นแนวยาวตามริมน้ำเจ้าพระยา จากมุมพระบรมราชวังด้านใต้จนถึงตีนท่าน้ำวัดโพธิ อันเป็นท่าจอดเรือข้ามฟากไปวัดแจ้ง  จนถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เกิดเพลิงไหม้ครั้งใหญ่บริเวณนี้ ปรากฏความเสียหายบันทึกไว้ในพระราชพงศาวดารว่า
        “...เพลิงไหม้ ๕  ๑ ค่ำ ว่า เวลายามเศษ ไฟไหม้เสียหายจำนวนมาก เป็นเรือนหม่อมเจ้าในกรมสุรินทร์รักษ์ ๒๘ หลัง โรงพระองค์เจ้ามหาหงส์ ๓ หลัง เรือน ๑๓ หลัง เรือนข้าราชการและราษฎร ๔๔ หลัง ศาลาวัดสองหลังครึ่ง โรงงานของในหลวง ๑ ประตูท่าช้างล่าง ตัวไม้ในโรงเรือนที่จะใช้สร้างวังและพระอารามหลวงกว่าร้อยต้น... ”    
 เพลิงไหม้ในครั้งนั้นกินเนื้อที่กว้างขวางมาก เป็นเหตุให้บริเวณนั้นราบเตียนโล่งผิดตาจากเดิม จนคนทั่วไปใช้เป็นที่หมายเรียกลักษณะเด่นของบริเวณนั้นว่า “ท่าเตียน”
        ประการที่สอง มีผู้สันนิษฐานว่ามาจากคำว่า “ฮาเตียน” ซึ่งเป็นชื่อเมืองหนึ่งในประเทศญวน ชาวญวนได้อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในไทยหลายครั้งหลายหน และกระจายอยู่ทั่วไปในพระนครและธนบุรี มีชาวญวนบางคนซึ่งเห็นภูมิภาคบริเวณนี้คล้ายคลึงกับภูมิภาคส่วนหนึ่งของประเทศฮาเตียนที่เคยอยู่อาศัย จึงเรียกบริเวณนั้นว่า ฮาเตียน เพื่อให้คลาบความคิดถึงถิ่นฐานที่เคยอยู่ ต่อมาจึงเพี้ยนเป็นสำเนียงไทยว่า “ท่าเตียน”
 ทั้งข้อสันนิษฐานและคำเล่าลือทั้ง ๒ ประการนี้ก็ยังไม่ปรากฏหลักฐานยืนยันอย่างชัดเจน

สร้างโดย: 
นางมาลัยวรรณ จันทร และ นางสาวนิรชา ชินพันธ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 227 คน กำลังออนไลน์