• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f964ec62212aca57292f98538d05caf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"276\" width=\"370\" src=\"/files/u40051/b_damrong_pitthaya.png\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82310\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/home.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82631\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/tanon.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82632\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/klong.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82633\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/sapan.png\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/82644\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/trok.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82650\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/wad.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82653\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/otherplace.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82654\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/aboutme.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/nod/82655\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/source.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"197\" width=\"260\" src=\"/files/u40051/spdamrong.png\" border=\"0\" />   <img height=\"236\" width=\"321\" src=\"/files/u40051/spdamrong_n.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 299px; height: 194px\" />\n</div>\n<p>\n                          สะพานดำรงสถิตย์ในอดีต (สะพานเหล็กบน)                             สะพานดำรงสถิตย์ในปัจจุบัน <br />\n      ที่มา : <a href=\"http://www.bunnag.in.th/images/home/m-26.jpg\">http://www.bunnag.in.th/images/home/m-26.jpg</a>   ที่มา :<a href=\"http://img167.imageshack.us/img167/9707/shopmap04lj2.jpg\">http://img167.imageshack.us/img167/9707/shopmap04lj2.jpg</a>\n</p>\n<p>\n      แรกเริ่มเดิมที ก่อนรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ จนถึงต้นรัชกาลที่ ๔ สะพานข้ามคลองรอบพระนครชั้นใน (คลองบางลำพู-โอ่งอ่าง ซึ่งขุดในรัชกาลที่ ๑) และสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม (คลองรอบพระนครชั้นนอกขุดในรัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๓๙๕) ล้วนเป็นสะพานไม้ทั้งสิ้น จนกระทั่งถึง พ.ศ.๒๔๐๔ จึงได้มีการสร้างสะพานเหล็กขึ้นสองแห่งเป็นครั้งแรก คือ สะพานเหล็กบนข้ามคลองบางลำพู-โอ่งอ่าง เชื่อมต่อระหว่างถนนเจริญกรุง ในกำแพงพระนครกับนอกกำแพงพระนคร เป็นสะพานเหล็กไขให้เปิดปิดได้ เพราะสมัยก่อนโน้นยังมีขบวนเรือแห่พระราชพิธีอยู่ กับโปรดฯให้รื้อสะพานหันเดิม ซึ่งเป็นสะพานไม้หันได้ สร้างเป็นสะพานเหล็กแบบเดียวกันอีกสะพานหนึ่ง <br />\n      สมัยนั้นยังไม่ได้พระราชทานชื่อสะพาน ชาวบ้านจึงเรียกสะพานเหล็กที่สร้างใหม่ (ยังไม่มีบนและล่าง) ว่า ‘สะพานเหล็ก’ บ้าง ‘ตะพานเหล็ก’ บ้าง ส่วนตรงสะพานหันเดิม ยังคงเรียกว่า สะพานหัน-ตะพานหัน ตามที่เคยเรียกกันมา (แม้ต่อมาจะเปลี่ยนรูปสะพานเป็นสะพานโค้งขายของสองฟาก คนก็ยังเรียกกันว่าสะพานหัน จนทุกวันนี้) <br />\n      ในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๔ จดเรื่องการสร้างสะพานเหล็กสองสะพานนี้ไว้ว่า “การถนนแล้วยังไม่มีสพาน (คือทำถนนเจริญกรุงเสร็จแล้ว-จุลลดาฯ) ได้บอกบุญขุนนางและเจ๊สัวตามแต่ผู้ใดจะศรัทธา รับทำสพานข้ามคลองที่ตรงถนนใหม่ข้ามท่านเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (คือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ในรัชกาลที่ ๕) ที่สมุหพระกลาโหมรับทำสพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุงริมวังเจ้าเขมรข้าม คิดทั้งเหล็กสพานค่าจ้าง ค่าไม้ ค่าอิฐ รวมเป็นเงิน ๑๖๐ ชั่ง ที่สะพานหันเก่าข้ามคลองรอบกรุงลงไปวัดจักรวรรดิ์ ทำสะพานเหล็กอีกสะพานหนึ่งเป็นของหลวง ราคาเครื่องเหล็กที่สั่งเข้ามาก็เหมือนกัน” <br />\n      ต่อมาตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สะพานไม้เก่าข้ามคลองผดุงกรุงเกษมตอนใกล้จะออกแม่น้ำเจ้าพระยาตอนปลายๆ คลอง ตำบลสี่พระยา ซึ่งเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์สร้างถวายเช่นกัน มีพวกฝรั่งร้องเรียนว่าสะพานไม่แข็งแรง พวกฝรั่งต้องนั่งรถม้าบ้าง ขี่ม้าบ้าง ข้ามไปข้ามมาบ่อยๆ เกรงว่าจะเกิดอันตราย พระบาทสมเด็จพระพระพุทธเจ้าหลวงจึงโปรดฯให้เปลี่ยนเป็นสะพานเหล็กแบบเดียวกับสะพานเหล็ก ๒ สะพานแรก ชาวบ้านจึงเรียกสะพานเหล็กแห่งนี้ว่า สะพานเหล็กล่าง และเรียกสะพานเหล็กเดิมว่า สะพานเหล็กบนเป็นคู่กัน <br />\n      ถึงรัชกาลที่ ๕ โดยเหตุที่วังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตั้งแต่เริ่มเสด็จออกวังอยู่ตรงที่ริมเชิงสะพานเหล็กบน จึงโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อสะพานเหล็กบนว่า ‘สะพานดำรงสถิตย์’ <br />\n      วังของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงฯ ดังกล่าวเป็นที่บ้านของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) ผู้เป็นขรัวตาของสมเด็จฯ ทรงได้รับมรดก และประทับอยู่ ณ วังริมเชิงสะพานดังกล่าว จึงได้สร้างวังวรดิศที่ถนนหลานหลวง และย้ายไปประทับที่วังวรดิศต่อมาจนสิ้นพระชนม์ <br />\n      ส่วนสะพานเหล็กล่างนั้นอยู่ใกล้วังตลาดน้อยของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงจึงทรงพระราชทานชื่อว่า ‘สะพานพิทยเสถียร’ คล้องจองกัน\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"242\" width=\"321\" src=\"/files/u40051/sppitthaya_n.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 263px; height: 204px\" />   <img height=\"248\" width=\"321\" src=\"/files/u40051/sppitthaya_n2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 290px; height: 205px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nสะพานพิทยเสถียรในปัจจุบัน (สะพานเหล็กล่าง)<br />\nที่มา : <a href=\"http://www.reurnthai.com/index.php?action=dlattach;topic=3175.0;attach=13084;image\">http://www.reurnthai.com/index.php?action=dlattach;topic=3175.0;attach=13084;image</a><br />\n                        <a href=\"http://www.thaiscooter.com/forums/attachment.php?attachmentid=142452&amp;stc=1&amp;d=1167093374\">http://www.thaiscooter.com/forums/attachment.php?attachmentid=142452&amp;stc=1&amp;d=1167093374</a>\n</div>\n', created = 1715324100, expire = 1715410500, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f964ec62212aca57292f98538d05caf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติสถานที่ “สะพานดำรงสถิตย์ - สะพานพิทยเสถียร”

 

         
        

  

                          สะพานดำรงสถิตย์ในอดีต (สะพานเหล็กบน)                             สะพานดำรงสถิตย์ในปัจจุบัน 
      ที่มา : http://www.bunnag.in.th/images/home/m-26.jpg   ที่มา :http://img167.imageshack.us/img167/9707/shopmap04lj2.jpg

      แรกเริ่มเดิมที ก่อนรัชสมัยรัชกาลที่ ๔ จนถึงต้นรัชกาลที่ ๔ สะพานข้ามคลองรอบพระนครชั้นใน (คลองบางลำพู-โอ่งอ่าง ซึ่งขุดในรัชกาลที่ ๑) และสะพานข้ามคลองผดุงกรุงเกษม (คลองรอบพระนครชั้นนอกขุดในรัชกาลที่ ๔ พ.ศ.๒๓๙๕) ล้วนเป็นสะพานไม้ทั้งสิ้น จนกระทั่งถึง พ.ศ.๒๔๐๔ จึงได้มีการสร้างสะพานเหล็กขึ้นสองแห่งเป็นครั้งแรก คือ สะพานเหล็กบนข้ามคลองบางลำพู-โอ่งอ่าง เชื่อมต่อระหว่างถนนเจริญกรุง ในกำแพงพระนครกับนอกกำแพงพระนคร เป็นสะพานเหล็กไขให้เปิดปิดได้ เพราะสมัยก่อนโน้นยังมีขบวนเรือแห่พระราชพิธีอยู่ กับโปรดฯให้รื้อสะพานหันเดิม ซึ่งเป็นสะพานไม้หันได้ สร้างเป็นสะพานเหล็กแบบเดียวกันอีกสะพานหนึ่ง
      สมัยนั้นยังไม่ได้พระราชทานชื่อสะพาน ชาวบ้านจึงเรียกสะพานเหล็กที่สร้างใหม่ (ยังไม่มีบนและล่าง) ว่า ‘สะพานเหล็ก’ บ้าง ‘ตะพานเหล็ก’ บ้าง ส่วนตรงสะพานหันเดิม ยังคงเรียกว่า สะพานหัน-ตะพานหัน ตามที่เคยเรียกกันมา (แม้ต่อมาจะเปลี่ยนรูปสะพานเป็นสะพานโค้งขายของสองฟาก คนก็ยังเรียกกันว่าสะพานหัน จนทุกวันนี้)
      ในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ ๔ จดเรื่องการสร้างสะพานเหล็กสองสะพานนี้ไว้ว่า “การถนนแล้วยังไม่มีสพาน (คือทำถนนเจริญกรุงเสร็จแล้ว-จุลลดาฯ) ได้บอกบุญขุนนางและเจ๊สัวตามแต่ผู้ใดจะศรัทธา รับทำสพานข้ามคลองที่ตรงถนนใหม่ข้ามท่านเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (คือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค) ในรัชกาลที่ ๕) ที่สมุหพระกลาโหมรับทำสพานเหล็กข้ามคลองรอบกรุงริมวังเจ้าเขมรข้าม คิดทั้งเหล็กสพานค่าจ้าง ค่าไม้ ค่าอิฐ รวมเป็นเงิน ๑๖๐ ชั่ง ที่สะพานหันเก่าข้ามคลองรอบกรุงลงไปวัดจักรวรรดิ์ ทำสะพานเหล็กอีกสะพานหนึ่งเป็นของหลวง ราคาเครื่องเหล็กที่สั่งเข้ามาก็เหมือนกัน”
      ต่อมาตอนต้นรัชกาลที่ ๕ สะพานไม้เก่าข้ามคลองผดุงกรุงเกษมตอนใกล้จะออกแม่น้ำเจ้าพระยาตอนปลายๆ คลอง ตำบลสี่พระยา ซึ่งเจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์สร้างถวายเช่นกัน มีพวกฝรั่งร้องเรียนว่าสะพานไม่แข็งแรง พวกฝรั่งต้องนั่งรถม้าบ้าง ขี่ม้าบ้าง ข้ามไปข้ามมาบ่อยๆ เกรงว่าจะเกิดอันตราย พระบาทสมเด็จพระพระพุทธเจ้าหลวงจึงโปรดฯให้เปลี่ยนเป็นสะพานเหล็กแบบเดียวกับสะพานเหล็ก ๒ สะพานแรก ชาวบ้านจึงเรียกสะพานเหล็กแห่งนี้ว่า สะพานเหล็กล่าง และเรียกสะพานเหล็กเดิมว่า สะพานเหล็กบนเป็นคู่กัน
      ถึงรัชกาลที่ ๕ โดยเหตุที่วังของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตั้งแต่เริ่มเสด็จออกวังอยู่ตรงที่ริมเชิงสะพานเหล็กบน จึงโปรดเกล้าฯพระราชทานชื่อสะพานเหล็กบนว่า ‘สะพานดำรงสถิตย์’
      วังของสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงฯ ดังกล่าวเป็นที่บ้านของพระยาอัพภันตริกามาตย์ (ดิศ โรจนดิศ) ผู้เป็นขรัวตาของสมเด็จฯ ทรงได้รับมรดก และประทับอยู่ ณ วังริมเชิงสะพานดังกล่าว จึงได้สร้างวังวรดิศที่ถนนหลานหลวง และย้ายไปประทับที่วังวรดิศต่อมาจนสิ้นพระชนม์
      ส่วนสะพานเหล็กล่างนั้นอยู่ใกล้วังตลาดน้อยของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขุนพิทยลาภพฤฒิธาดา พระบาทสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวงจึงทรงพระราชทานชื่อว่า ‘สะพานพิทยเสถียร’ คล้องจองกัน

  
สะพานพิทยเสถียรในปัจจุบัน (สะพานเหล็กล่าง)
ที่มา : http://www.reurnthai.com/index.php?action=dlattach;topic=3175.0;attach=13084;image
                        http://www.thaiscooter.com/forums/attachment.php?attachmentid=142452&stc=1&d=1167093374
สร้างโดย: 
นางมาลัยวรรณ จันทร และ นางสาวนิรชา ชินพันธ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 286 คน กำลังออนไลน์