• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:070f883185232922039d94f2d36817f1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <img height=\"276\" width=\"370\" src=\"/files/u40051/b_padung.png\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82310\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/home.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82631\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/tanon.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82632\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/klong.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82633\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/sapan.png\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/82644\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/trok.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82650\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/wad.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82653\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/otherplace.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82654\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/aboutme.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82655\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/source.png\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /><img height=\"192\" width=\"271\" src=\"/files/u40051/klpadung_old.png\" border=\"0\" /><br />\nคลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ในอดีต<br />\nที่มา : <a href=\"http://i216.photobucket.com/albums/cc281/siamsouth/klong1.jpg\">http://i216.photobucket.com/albums/cc281/siamsouth/klong1.jpg</a><br />\n <img height=\"166\" width=\"340\" src=\"/files/u40051/klpadung_n.jpg\" border=\"0\" /><br />\nคลองผดุงกรุงเกษมในปัจจุบัน<br />\nที่มา : <a href=\"https://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=418124\">https://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=418124</a>\n</p>\n<p>\n<strong>คลองผดุงกรุงเกษม</strong>\n</p>\n<p><strong></strong><strong></strong></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"425\" height=\"350\">\n <param name=\"width\" value=\"425\" />\n <param name=\"height\" value=\"350\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/zYUsA0CzszE\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"425\" height=\"350\" src=\"http://www.youtube.com/v/zYUsA0CzszE\"></embed>\n</object></div>\n<p align=\"center\">\n<br />\nที่มา : <a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=zYUsA0CzszE\">http://www.youtube.com/watch?v=zYUsA0CzszE</a>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n<br />\n        ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประชากรไทยได้เพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าเมื่อแรกสร้างพระนครใหม่ ๆ หลายเท่า จากเอกสารที่เขียนโดย เซอร์ จอห์น เบาริง (Sir John Bowring) ในหนังสือราชอาณาจักรและพลเมืองสยามว่า มีประชากรประมาณ ๖ ล้านคน (รอง ศยามานนท์ ๒๕๒๕ : ๓๐๕) เป็นผลให้เกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นของเส้นทางคมนาคม ไม่ว่าทางน้ำหรือทางบก และภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีแบบเบาริง พ.ศ. ๒๓๙๘เป็นต้นมา สถานกงสุลต่าง ๆ ส่วนมากจะตั้งอยู่ใกล้หรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้มีการติดต่อหรือเดินทางสัญจร ไปมาระหว่างคนต่างชาติกับคนไทย ประกอบกับพระองค์ทรงเห็นความสำคัญของ การคมนาคม จึงได้มีพระราชดำริโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองขึ้น ดังปรากฏในพระราชพงศาวดาร (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๐๔ : ๗๐ อ้างถึงใน รอง ศยามานนท์ ๒๕๒๕ : ๓๐๘) ความว่า <br />\n         “... ทุกวันนี้บ้านเมืองเจริญขึ้น ผู้คนก็มากกว่าเมื่อแรกสร จึงโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ซึ่งว่าที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง เจ้าหมื่นไวยวรนารถเป็นกงสี จ้างจีนขุดคลองคูพระนครออกไปอีกชั้นหนึ่ง ปากคลองข้างทิศใต้ออกไปริมวัดแก้วฟ้า ปากคลองข้างทิศเหนือออกไปริมวัดเทวราชกุญชร เป็นแนวขนานกับคลองรอบกรุง ซึ่งขุดไว้ครั้งรัชกาลที่ ๑ คลอง กว้าง ๑๐ วา ลึก ๖ ศอก ยาว ๑๓๗ เส้น ๑๐ วา สิ้นค่าใช้จ่าย ๓๙๑ ชั่ง ๑๓ ตำลึง ๑ บาท ๑ เฟื้อง...”<br />\n        พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามคลองที่ขุดขึ้นว่า คลองผดุงกรุงเกษม นับเป็นคลองที่สำคัญ เป็นคลองที่ชักน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยามาหล่อเลี้ยงพื้นที่สองฟากคลอง ทำให้เหมาะแก่การทำสวนยิ่งขึ้น และอาณาเขตของกรุงรัตนโกสินทร์ขยายพื้นที่ออกไป มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวหรือประมาณ ๕,๕๕๒ไร่ (กรมศิลปากร ๒๕๒๕  : ๕๗) บริเวณระหว่างคลองรอบกรุงกับคลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งเดิมเป็นที่อยู่นอกเมืองของประชาชน และเป็นย่านการค้าและที่อยู่อาศัยของชาวจีน กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของพระนคร อย่างไรก็ดีหลังจากการขุดคลองผดุงกรุงเกษมเสร็จแล้ว ก็ยังไม่เพียงพอต่อการคมนาคมทางเรือ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1715323533, expire = 1715409933, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:070f883185232922039d94f2d36817f1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติสถานที่ “คลองผดุงกรุงเกษม”

  

         
        

 

 
คลองผดุงกรุงเกษมบริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ในอดีต
ที่มา : http://i216.photobucket.com/albums/cc281/siamsouth/klong1.jpg
 
คลองผดุงกรุงเกษมในปัจจุบัน
ที่มา : https://www.myfirstbrain.com/thaidata/image.asp?ID=418124

คลองผดุงกรุงเกษม


ที่มา : http://www.youtube.com/watch?v=zYUsA0CzszE


        ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ประชากรไทยได้เพิ่มจำนวนมากขึ้นกว่าเมื่อแรกสร้างพระนครใหม่ ๆ หลายเท่า จากเอกสารที่เขียนโดย เซอร์ จอห์น เบาริง (Sir John Bowring) ในหนังสือราชอาณาจักรและพลเมืองสยามว่า มีประชากรประมาณ ๖ ล้านคน (รอง ศยามานนท์ ๒๕๒๕ : ๓๐๕) เป็นผลให้เกิดการขยายตัวเพิ่มขึ้นของเส้นทางคมนาคม ไม่ว่าทางน้ำหรือทางบก และภายหลังการลงนามในสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีแบบเบาริง พ.ศ. ๒๓๙๘เป็นต้นมา สถานกงสุลต่าง ๆ ส่วนมากจะตั้งอยู่ใกล้หรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ทำให้มีการติดต่อหรือเดินทางสัญจร ไปมาระหว่างคนต่างชาติกับคนไทย ประกอบกับพระองค์ทรงเห็นความสำคัญของ การคมนาคม จึงได้มีพระราชดำริโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองขึ้น ดังปรากฏในพระราชพงศาวดาร (เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ ๒๕๐๔ : ๗๐ อ้างถึงใน รอง ศยามานนท์ ๒๕๒๕ : ๓๐๘) ความว่า 
         “... ทุกวันนี้บ้านเมืองเจริญขึ้น ผู้คนก็มากกว่าเมื่อแรกสร จึงโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ซึ่งว่าที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง เจ้าหมื่นไวยวรนารถเป็นกงสี จ้างจีนขุดคลองคูพระนครออกไปอีกชั้นหนึ่ง ปากคลองข้างทิศใต้ออกไปริมวัดแก้วฟ้า ปากคลองข้างทิศเหนือออกไปริมวัดเทวราชกุญชร เป็นแนวขนานกับคลองรอบกรุง ซึ่งขุดไว้ครั้งรัชกาลที่ ๑ คลอง กว้าง ๑๐ วา ลึก ๖ ศอก ยาว ๑๓๗ เส้น ๑๐ วา สิ้นค่าใช้จ่าย ๓๙๑ ชั่ง ๑๓ ตำลึง ๑ บาท ๑ เฟื้อง...”
        พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานนามคลองที่ขุดขึ้นว่า คลองผดุงกรุงเกษม นับเป็นคลองที่สำคัญ เป็นคลองที่ชักน้ำจากแม่น้ำเจ้าพระยามาหล่อเลี้ยงพื้นที่สองฟากคลอง ทำให้เหมาะแก่การทำสวนยิ่งขึ้น และอาณาเขตของกรุงรัตนโกสินทร์ขยายพื้นที่ออกไป มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นอีกเท่าตัวหรือประมาณ ๕,๕๕๒ไร่ (กรมศิลปากร ๒๕๒๕  : ๕๗) บริเวณระหว่างคลองรอบกรุงกับคลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งเดิมเป็นที่อยู่นอกเมืองของประชาชน และเป็นย่านการค้าและที่อยู่อาศัยของชาวจีน กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของพระนคร อย่างไรก็ดีหลังจากการขุดคลองผดุงกรุงเกษมเสร็จแล้ว ก็ยังไม่เพียงพอต่อการคมนาคมทางเรือ

 

สร้างโดย: 
นางมาลัยวรรณ จันทร และ นางสาวนิรชา ชินพันธ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 228 คน กำลังออนไลน์