• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2217323e3760eb71f19e8723e21c2220' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n <img height=\"276\" width=\"370\" src=\"/files/u40051/b_sathorn.png\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/82310\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/home.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82631\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/tanon.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82632\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/klong.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82633\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/sapan.png\" border=\"0\" /></a><br />\n<a href=\"/node/82644\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/trok.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82650\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/wad.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82653\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/otherplace.png\" border=\"0\" /></a>   <a href=\"/node/82654\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/aboutme.png\" border=\"0\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\" style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82655\"><img height=\"50\" width=\"140\" src=\"/files/u40051/source.png\" border=\"0\" /></a> \n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"179\" width=\"250\" src=\"/files/u40051/klsathorn_old.png\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nคลองสาทรในอดีต\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://horamahawed.com/ckfinder/userfiles/images/story/1.jpg\">http://horamahawed.com/ckfinder/userfiles/images/story/1.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"209\" width=\"271\" src=\"/files/u40051/klsathorn_new.png\" border=\"0\" style=\"width: 263px; height: 180px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nคลองสาทรในปัจจุบัน<br />\nที่มา : <a href=\"http://www.bloggang.com/data/p/penicillin/picture/1255591877.jpg\">http://www.bloggang.com/data/p/penicillin/picture/1255591877.jpg</a>\n</div>\n<p>\n<strong>คลองสาธร ถนนสาธร<br />\n</strong><br />\n       คลองสาทรและถนนสาทรมีที่มา คือ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๘ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าข้าวของประเทศรุ่งเรืองมาก มีชาวจีนและฝรั่งเข้ามาค้าขายมากขึ้น แต่การคมนาคม  การขนส่งมีความยากลำบาก ทางราชการต้องการพัฒนาที่ดิน และขุดคลองเป็นจำนวนมาก จึงเชิญชวนเอกชนทำการขุดคลอง โดยจะยกสิทธิ์ในที่ดินสองฟากคลองเป็นการตอบแทน ต่อมาเจ้าสัวยม ได้ร่วมกันจัดตั้ง บริษัทขุดคลองและคูนาสยาม จ้างกรรมกรจีนทำการขุดคลองขนาดใหญ่ จากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับคลองถนนตรง (คลองวัดหัวลำโพง)  คลองที่ขุดขึ้นนั้น ชาวบ้านเรียกชื่อตามนามของผู้ขุดว่า “คลองเจ้าสัวยม” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ ๕ เรียก “คลองนายยม” และได้นำดินที่ขุดคลองทำถนน ทั้ง ๒ ฝั่งคลองด้วย จึงเรียกชื่อถนนตามชื่อคลองด้วย ภายหลังเจ้าสัวยมได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงสาทรราชายุกต์ ราษฎรพากันเรียกคลองขุดใหม่นี้ว่า “คลองสาทร” ส่วนที่ดินที่ได้จากขุดคลอง นำมาถมสองฟาก และตัดเป็นถนนสาทรเหนือ และถนนสาทรใต้ ในภายหลัง\n</p>\n<p>\n<strong>สาทร หรือ สาธร ?</strong>\n</p>\n<p>\n<strong>      </strong>  คงมีหลายๆ คน ที่ผ่านไปแถวเขตสาทรและเห็นป้ายร้านค้าบางแห่งสะกด &quot;สาทร&quot; ด้วย &quot;ท ทหาร&quot; แต่บางที่ก็เขียน &quot;สาธร&quot; โดยใช้ &quot;ธ ธง&quot; ทั้งนี้ก็มีคนเถียงกันว่าสรุปจะใช้ตัวไหนกันแน่<br />\n        เดิมทีชื่อเขตสาทรนั้นสะกดด้วย &quot;ธ&quot; แต่คำว่า &quot;สาธร&quot; ไม่มีประวัติความเป็นมาและความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ แต่คลองสาทรกับ ถนนสาทร มีประวัติความเป็นมา จากบรรดาศักดิ์ขุนนาง ในสมัยในรัชกาลที่๕ คือ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๑ มีคหบดีจีนชื่อ เจ้าสัวยม บุตรพระยาพิศลสมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม) อุทิศที่ดินของตนและทำการขุดคลองขึ้น จากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ไปบรรจบคลองวัดหัวลำโพง นำดินที่ขุดคลองทำถนนทั้งสองฝั่งคลอง คนทั่วไปเรียก “คลองเจ้าสัวยม” เมื่อเจ้าสัวยมได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงสาทรราชายุกต์ คลองและถนนทั่งสองฝั่ง เรียกว่า “คลองสาทร” และ “ถนนสาทร”<br />\n        ต่อมาเมื่อการเขียนภาษาไทย ได้มีการเขียนผิดเพี้ยนไปเป็น “สาธร” จนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่งเป็นการเขียนชื่อคลอง และถนนสาทร ผิดไปจากความเป็นมาในอดีต เมื่อจัดตั้งสำนักงานเขตขึ้น ได้นำชื่อถนนสาทรมาใช้เป็นชื่อเขตสาทร  โดยใช้ &quot;ธ ธง&quot; จึงทำให้ไม่ถูกต้องด้วย เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่า การเขียนชื่อเขตสาธร คลองสาธร และ ถนนสาธรเหนือ – ใต้ ไม่ถูกต้องตามประวัติความเป็นมา ของคลองและถนน ซึ่งหลักฐานว่าคำว่า “สาทร” ใช้ ท ทหาร ทั้งหมด กรุงเทพมหานครจึงได้เสนอ กระทรวงมหาดไทย โดยคณะกรรมการพิจารณาร่างกฎหมาย ของกระทรวงมหาดไทย คณะที่ ๒ พิจารณาแล้วเห็นว่า คำว่า “สาธร” ไม่มีความหมาย และคำแปลตามหลักภาษาไทย  ส่วนคำว่า “สาทร” มีความหมายและคำแปลว่า “เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่”  ตามหลักภาษาไทย ในพจนานุกรม และเป็นคำที่มาจากบรรดาศักดิ์ของ หลวงสาทรราชายุกต์ (เจ้าสัวยม)  ซึ่งตามประวัติอักขรานุกรม ขุนนางในสมัยรัชกาลที่ ๕ จะใช้ ท ทหาร ทั้งหมด เมื่อเขตสาทรจัดตั้งขึ้น  และใช้ชื่อคลองสาทร และถนนสาทร เป็นชื่อสำนักงานเขต โดยใช้ &quot;ธ ธง&quot;  จึงเป็นการเขียนไม่ตรง กับที่มาชื่อบรรดาศักดิ์ และหลักภาษาไทย  กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๒ เปลี่ยนแปลงชื่อ “เขตสาธร” เป็น “เขตสาทร” ตามหลักฐานดังกล่าว<br />\n        ดังนั้น ชื่อสำนักงานเขตสาทร ต้องใช้ ท ทหาร และถนนสาทรเหนือ - ใต้ ตลอดจนซอยแยก จากถนนสาทร ต้องเขียนป้ายชื่อ เป็น ท ทหาร ทั้งหมด ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๓๕ ง. ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ตั้งแต่วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๒ เป็นต้นไป “สาธร” เป็น “สาทร”  ที่ถูกต้อง ตามหลักฐานประวัติศาสตร์ ความเป็นมาแต่อดีต  และถูกต้องตามหลักภาษาไทย ซึ่งจะเป็นสำนักงานเขตสาทรที่เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” ราษฎรในพื้นที่ตามอำนาจหน้าที่สืบไป</p>\n<p> \n</p>\n', created = 1715226684, expire = 1715313084, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2217323e3760eb71f19e8723e21c2220' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติสถานที่ "คลองสาทรและถนนสาทร "

  

         
        

 

คลองสาทรในอดีต
คลองสาทรในปัจจุบัน
ที่มา : http://www.bloggang.com/data/p/penicillin/picture/1255591877.jpg

คลองสาธร ถนนสาธร

       คลองสาทรและถนนสาทรมีที่มา คือ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๘ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กิจการค้าข้าวของประเทศรุ่งเรืองมาก มีชาวจีนและฝรั่งเข้ามาค้าขายมากขึ้น แต่การคมนาคม  การขนส่งมีความยากลำบาก ทางราชการต้องการพัฒนาที่ดิน และขุดคลองเป็นจำนวนมาก จึงเชิญชวนเอกชนทำการขุดคลอง โดยจะยกสิทธิ์ในที่ดินสองฟากคลองเป็นการตอบแทน ต่อมาเจ้าสัวยม ได้ร่วมกันจัดตั้ง บริษัทขุดคลองและคูนาสยาม จ้างกรรมกรจีนทำการขุดคลองขนาดใหญ่ จากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ไปบรรจบกับคลองถนนตรง (คลองวัดหัวลำโพง)  คลองที่ขุดขึ้นนั้น ชาวบ้านเรียกชื่อตามนามของผู้ขุดว่า “คลองเจ้าสัวยม” พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ รัชกาลที่ ๕ เรียก “คลองนายยม” และได้นำดินที่ขุดคลองทำถนน ทั้ง ๒ ฝั่งคลองด้วย จึงเรียกชื่อถนนตามชื่อคลองด้วย ภายหลังเจ้าสัวยมได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็น หลวงสาทรราชายุกต์ ราษฎรพากันเรียกคลองขุดใหม่นี้ว่า “คลองสาทร” ส่วนที่ดินที่ได้จากขุดคลอง นำมาถมสองฟาก และตัดเป็นถนนสาทรเหนือ และถนนสาทรใต้ ในภายหลัง

สาทร หรือ สาธร ?

        คงมีหลายๆ คน ที่ผ่านไปแถวเขตสาทรและเห็นป้ายร้านค้าบางแห่งสะกด "สาทร" ด้วย "ท ทหาร" แต่บางที่ก็เขียน "สาธร" โดยใช้ "ธ ธง" ทั้งนี้ก็มีคนเถียงกันว่าสรุปจะใช้ตัวไหนกันแน่
        เดิมทีชื่อเขตสาทรนั้นสะกดด้วย "ธ" แต่คำว่า "สาธร" ไม่มีประวัติความเป็นมาและความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕ แต่คลองสาทรกับ ถนนสาทร มีประวัติความเป็นมา จากบรรดาศักดิ์ขุนนาง ในสมัยในรัชกาลที่๕ คือ เมื่อปีพุทธศักราช ๒๔๓๑ มีคหบดีจีนชื่อ เจ้าสัวยม บุตรพระยาพิศลสมบัติบริบูรณ์ (เจ้าสัวยิ้ม) อุทิศที่ดินของตนและทำการขุดคลองขึ้น จากแม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออก ไปบรรจบคลองวัดหัวลำโพง นำดินที่ขุดคลองทำถนนทั้งสองฝั่งคลอง คนทั่วไปเรียก “คลองเจ้าสัวยม” เมื่อเจ้าสัวยมได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงสาทรราชายุกต์ คลองและถนนทั่งสองฝั่ง เรียกว่า “คลองสาทร” และ “ถนนสาทร”
        ต่อมาเมื่อการเขียนภาษาไทย ได้มีการเขียนผิดเพี้ยนไปเป็น “สาธร” จนกระทั่งปัจจุบัน ซึ่งเป็นการเขียนชื่อคลอง และถนนสาทร ผิดไปจากความเป็นมาในอดีต เมื่อจัดตั้งสำนักงานเขตขึ้น ได้นำชื่อถนนสาทรมาใช้เป็นชื่อเขตสาทร  โดยใช้ "ธ ธง" จึงทำให้ไม่ถูกต้องด้วย เมื่อตรวจสอบแล้วพบว่า การเขียนชื่อเขตสาธร คลองสาธร และ ถนนสาธรเหนือ – ใต้ ไม่ถูกต้องตามประวัติความเป็นมา ของคลองและถนน ซึ่งหลักฐานว่าคำว่า “สาทร” ใช้ ท ทหาร ทั้งหมด กรุงเทพมหานครจึงได้เสนอ กระทรวงมหาดไทย โดยคณะกรรมการพิจารณาร่างกฎหมาย ของกระทรวงมหาดไทย คณะที่ ๒ พิจารณาแล้วเห็นว่า คำว่า “สาธร” ไม่มีความหมาย และคำแปลตามหลักภาษาไทย  ส่วนคำว่า “สาทร” มีความหมายและคำแปลว่า “เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่”  ตามหลักภาษาไทย ในพจนานุกรม และเป็นคำที่มาจากบรรดาศักดิ์ของ หลวงสาทรราชายุกต์ (เจ้าสัวยม)  ซึ่งตามประวัติอักขรานุกรม ขุนนางในสมัยรัชกาลที่ ๕ จะใช้ ท ทหาร ทั้งหมด เมื่อเขตสาทรจัดตั้งขึ้น  และใช้ชื่อคลองสาทร และถนนสาทร เป็นชื่อสำนักงานเขต โดยใช้ "ธ ธง"  จึงเป็นการเขียนไม่ตรง กับที่มาชื่อบรรดาศักดิ์ และหลักภาษาไทย  กระทรวงมหาดไทยจึงได้ประกาศ ลงวันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๒ เปลี่ยนแปลงชื่อ “เขตสาธร” เป็น “เขตสาทร” ตามหลักฐานดังกล่าว
        ดังนั้น ชื่อสำนักงานเขตสาทร ต้องใช้ ท ทหาร และถนนสาทรเหนือ - ใต้ ตลอดจนซอยแยก จากถนนสาทร ต้องเขียนป้ายชื่อ เป็น ท ทหาร ทั้งหมด ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี้ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๑๑๖ ตอนพิเศษ ๓๕ ง. ลงวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ ตั้งแต่วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๔๒ เป็นต้นไป “สาธร” เป็น “สาทร”  ที่ถูกต้อง ตามหลักฐานประวัติศาสตร์ ความเป็นมาแต่อดีต  และถูกต้องตามหลักภาษาไทย ซึ่งจะเป็นสำนักงานเขตสาทรที่เอื้อเฟื้อ เอาใจใส่ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” ราษฎรในพื้นที่ตามอำนาจหน้าที่สืบไป

 

สร้างโดย: 
นางมาลัยวรรณ จันทร และ นางสาวนิรชา ชินพันธ์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 334 คน กำลังออนไลน์