• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7abf56ac712dbf6d659f687552782a6e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"120\" width=\"320\" src=\"/files/u39966/asia.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88025\" title=\"เข้าสู่เนื้อหา\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/2.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88241\" title=\"อ้างอิง\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/4.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<hr id=\"null\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"302\" width=\"432\" src=\"/files/u39966/wofld1.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\">รูปภาพจาก </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><a target=\"_blank\" href=\"http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php\">http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php</a></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><a target=\"_blank\" href=\"http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php\"></a></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">       เอเชีย (Asia) มาจากคำว่า  อาซู (Asu) ในภาษาอัสซีเรียน แปลว่า ดินแดนแห่งดวงตะวันขึ้น (ตะวันออก) ใช้เรียกดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของอาณาจักรอัสซีเรียนมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน เอเชียได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่างหรือทวีปแห่งความตรงข้าม (a continent of contrast) หรือ ทวีปแห่งความเป็นที่สุด(a continent of extremes)มียอดเขาเอเวอเรสต์ในเทือกเขาหิมาลัยสูงที่สุดในโลก สูง 8,848 เมตร (2,928 ฟุต) มีพื้นแผ่นดินที่ต่ำที่สุด คือ ทะเลเดดซี อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 400 เมตร (1,312 ฟุต)  และเหวทะเลมาเรียนาซึ่งลึกที่สุดในโลก มีอากาศหนาวเย็นที่สุด ได้แก่ตอนเหนือของไซบีเรีย  มีอากาศร้อนและแห้งแล้งที่สุดจนเป็นทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และมีฝนตกชุกที่สุดในแคว้นอัสสัมของอินเดีย นอกจากนี้ยังเป็นทวีปที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทุกทวีป ขณะที่เขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไม่มีผู้คนอาศัยอยู่เลย  ความเป็นอยู่ของประชากรก็มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่ฐานะดีจนถึงยากจนแร้นแค้น เอเชียจึงได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่าง</span>\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><strong>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"120\" width=\"320\" src=\"/files/u39966/asia.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88025\" title=\"เข้าสู่เนื้อหา\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/2.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88241\" title=\"อ้างอิง\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/4.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<hr id=\"null\" />\n \n</div>\n<p></p></strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><strong>ลักษณะภูมิประเทศ</strong>แบ่งออกเป็น 6 เขต คือ  </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><img height=\"468\" width=\"450\" src=\"/files/u39966/asia5.jpg\" border=\"0\" /></span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"> </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\">รูปภาพจาก  </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #339966\"><a href=\"http://202.143.128.66/~aanuza/krupannee/m2/asia5.gif\">http://202.143.128.66/~aanuza/krupannee/m2/asia5.gif</a></span></span> \n</div>\n<p>&gt; </p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          1. เขตที่ราบต่ำทางเหนือ คือบริเวณตอนบนของทวีปซึ่งอยู่ในเขตสหภาพโซเวียต(เดิม) ในเขตไซบีเรีย ส่วนใหญ่เป็นเขตโครงสร้างหินเก่า ที่เรียกว่า แองการาชีลด์ มีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบขนาดใหญ่ มีแม่น้ำอ็อบ แม่น้ำเยนิเซ และแม่น้ำลีนา ไหลผ่าน บริเวณมีอาณาเขตกว้างขวางมากไม่ค่อยมีผู้คนอาศัยอยู่ เพราะอากาศหนาวเย็นมาก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          2. เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ   ได้แก่ดินแดนแถบลุ่มแม่น้ำต่างๆซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ และมักมีดินอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก ได้แก่</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">           -  ในเอเชียตะวันออก ได้แก่ที่ราบลุ่มแม่น้ำฮวงโห ที่ราบลุ่มแม่น้ำแยงซีเกียง ในประเทศจีน</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">            -  ในเอเชียใต้  ได้แก่  ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ ในประเทศปากีสถาน  ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาในประเทศอินเดีย  และที่ราบลุ่มแม่น้ำพรหมบุตร ในบัง                คลาเทศ</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">            -  เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกรีส ที่ราบลุ่มแม่น้ำยูเฟรตีส ในประเทศอิรัก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">            -  เอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ได้แก่  ที่ราบลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง ในประเทศกัมพูชาและเวียตนาม ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดงในประเทศเวียตนาม                      ที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในประเทศไทย ที่ราบลุ่มแม่น้ำสาละวินตอนล่าง ที่ราบลุ่มแม่น้ำอิระวดี ในประเทศพม่า</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          3.  เขตเทือกเขาสูง  เป็นเขตหินใหม่  ตอนกลางประกอบด้วยที่ราบสูงและเทือกเขามากมายส่วนใหญ่เป็นเทือกเขาที่แยกตัวไปจากจุดรวมเทือกเขาที่เรียกว่า  “ปามีร์นอต (Pamir Knot)” หรือภาษาพื้นเมืองเรียกว่า  “ปามีร์ดุนยา (Pamir Dunya) แปลว่า หลังคาโลก”</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #808080\"> จุดรวมเทือกเขาปาร์มีนอต อาจแยกได้ดังนี้</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาหิมาลัย เทือกเขาอาระกันโยมา และเทือกเขาที่มีแนวต่อลงมาทางใต้ มีบางส่วนที่จมหายไปในทะเล และบางส่วนโผล่พ้นขึ้นมาเป็นเกาะในมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิค ถัดจากเทือกเขาหิมาลัยไปทางเหนือ มีเทือกเขาที่แยกไปทางตะวันออก ได้แก่ เทือกเขาคุนลุน เทือกเขานานชาน  และแนวที่แยกไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาคินแกน    </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เทือกเขายาโบลนอย เทือกเขาสตาโนวอย และเทือกเขาโกลีมา</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          เทือกเขาที่แยกไปทางทิศตะวันตก แยกเป็นแนวเหนือและแนวใต้ ได้แก่ เทือกเขาฮินดูกูช เทือกเขาเอลบูรซ ส่วนแนวทิศใต้ ได้แก่ เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส เมื่อเทือกเขา 2 แนวนี้มาบรรจบกันที่อาร์เมเนียนนอตแล้ว ยังแยกออกเป็นอีก 2 แนว ในเขตประเทศตุรกี คือแนวเป็นเทือกเขาปอนติก และแนวใต้เป็นเทือกเขาเตารัส</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          4. เขตที่ราบสูงตอนกลางทวีป  เป็นที่ราบสูงในเขตหินใหม่ ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต ซึ่งมีขนาดใหญ่และสูงที่สุดในโลก ที่ราบสูงยูนาน ทางใต้ของจีน และที่ราบสูงที่มีลักษณะเหมือนแอ่งคือ  ที่ราบสูงตากลามากัน (Takla Makan) ซึ่งอยู่ระหว่างเทือกเขาเทียนชาน กับเทือกเขาคุนลุน แต่อยู่สูงจากระดับน้ำทะเลมาก และมีอากาศแห้งแล้งเป็นเขตทะเลทราย</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          5. เขตที่ราบสูงทางตอนใต้และตะวันตกเฉียงใต้  ได้แก่ ที่ราบสูงขนาดใหญ่ทางตอนใต้ของทวีปเอเชียมีความสูงน้อยกว่าที่ราบสูงทางตอนกลางของทวีป ได้แก่ ที่ราบสูงเดคคาน ในอินเดีย  ที่ราบสูงอิหร่านในอิหร่านและอัฟกานิสถาน ที่ราบสูงอนาโตเลีย ในตุรกี ที่ราบสูงอาหรับในซาอุดิอาระเบีย</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          6. เขตหมู่เกาะภูเขาไฟ เป็นเขตหินใหม่ คือ บริเวณหมู่เกาะอันเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟทั้งที่ดับแล้วและที่ยังคุกรุ่นอยู่ในเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้</span>\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><strong> </strong> \n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<strong><img height=\"120\" width=\"320\" src=\"/files/u39966/asia.jpg\" border=\"0\" /> </strong>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82245\"><strong><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/1.jpg\" border=\"0\" /></strong></a><a href=\"/node/88025\" title=\"เข้าสู่เนื้อหา\"><strong><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/2.jpg\" border=\"0\" /></strong></a><a href=\"/node/88241\" title=\"อ้างอิง\"><strong><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/3.jpg\" border=\"0\" /></strong></a><a href=\"/node/88245\"><strong><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/4.jpg\" border=\"0\" /></strong></a><strong> </strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong> </strong><strong><span style=\"color: #99ccff\"> เขตภูมิอากาศ</span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          1.   ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น   เขตภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้นอยู่ระหว่างละติจูดที่ 10 องศาเหนือ ถึง 10 องศาใต้ ได้แก่ ภาคใต้ของประเทศไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟิลิปปินส์ มีความแตกต่างของอุณหภูมิระหว่างกลางวันและกลางคืนไม่มากนัก มีปริมาณน้ำฝนมากกว่า 2,000 มิลลิเมตร (80 นิ้ว) ต่อปี และมีฝนตกตลอดปี</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          <span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span>เป็นป่าดงดิบซึ่งไม่มีฤดูที่ผลัดใบและมีต้นไม้หนาแน่นส่วนบริเวณปากแม่น้ำและ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ชายฝั่งทะเลมีพืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าชายเลน</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          2. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน หรือร้อนชื้นแถบมรสุม เป็นดินอด้นที่อยู่เหนือละติจูด 10 องศาเหนือขึ้นไป มีฤดูแล้งและฤดูฝนสลับกันประมาณปีละ เดือน ได้แก่ บริเวณคาบสมุทรอินเดีย และคาบสมุทรอินโดจีน  </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เขตนี้เป็นเขตที่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม ปริมาณน้ำฝนจะสูงในบริเวณด้านต้นลม (Winward side)  </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">และมีฝนตกน้อยในด้านปลายลม (Leeward side)  หรือเรียกว่า เขตเงาฝน(Rain shadow)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นป่ามรสุม หรือป่าไม้ผลัดใบในเขตร้อน พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้ใบกว้าง และเป็นไม้เนื้อแข็งที่มีค่าในทางเศรษฐกิจ หรือป่าเบญจพรรณ เช่น ไม้สัก ไม้จันทน์ ไม้ประดู่ เป็นต้น ป่ามรสุม    มีลักษณะเป็นป่าโปร่งมากกว่าป่าไม้ในเขตร้อนชื้น บางแห่งมีไม้ขนาดเล็กขึ้นปกคลุมบริเวณดินชั้นล่าง และบางแห่งเป็นป่าไผ่ หรือ หญ้า ปะปนอยู่</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          3. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเมืองร้อน มีลักษณะอากาศคล้ายเขตมรสุม มีฤดูแล้งกับฤดูฝน แต่ปริมาณน้ำฝนน้อยกว่า คือ ประมาณ 1,000-1,500  มิลลิเมตร (40-60 นิ้ว)ต่อปี  อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ21 องศาเซลเซียส(70 องศาสฟาเรนไฮต์) อุณหภูมิกลางคืนเย็นกว่ากลางวัน ได้แก่ บริเวณ  ตอนกลางของอินเดีย พม่า และคาบสมุทรอินโดจีน</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นป่าโปร่งแบบเบญจพรรณ ถัดเข้าไปตอนใน จะเป็นทุ่งหญ้าสูงตั้งแต่ 60-360 เซนติเมตร (2-12 ฟุต) ซึ่งจะงอกงามดีในฤดูฝน แต่แห้งเฉาตายในฤดูหนาว เพราะช่วงนี้อากาศแห้งแล้ง</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         4. ภูมิอากาศแบบมรสุมเขตอบอุ่น อยู่ในเขตอบอุ่นแต่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม มีฝนตกในฤดูร้อน </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ฤดูหนาวค่อนข้างหนาว ได้แก่ บริเวณภาคตะวันตกของจีน ภาคใต้ของญี่ปุ่น คาบสมุทรเกาหลี ฮ่องกง ตอนเหนือของอินเดีย ในลาว และตอนเหนือของเวียตนาม</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นไม้ผลัดใบหรือไม้ผสม มีทั้งไม้ใบใหญ่ที่ผลัดใบ และไม้สนที่ไม่ผลัดใบ ในเขตจีน เกาหลี ทางใต้ของเขตนี้เป็นป่าไม้ผลัดใบ ส่วนทางเหนือมีอากาศหนาวกว่าป่าไม้ผสมและป่าไม้ผลัดใบ เช่น </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ต้นโอ๊ก เมเปิล ถ้าขึ้นไปทางเหนืออากาศหนาวเย็น จะเป็นป่าสนที่มีใบเขียวตลอดปี</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          5. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นภาคพื้นทวีป  ได้แก่ทางเหนือและตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน เกาหลีเหนือ ภาคเหนือของญี่ปุ่น และตะวันออกเฉียงใต้ของไซบีเรีย มีฤดูร้อนที่อากาศร้อน กลางวันยาวกว่ากลางคืน นาน 5-6 เดือน เป็นเขตปลูกข้าวโพดได้ดี เพราะมีฝนตกในฤดูร้อน ประมาณ 750-1,000  มม.(30-40)นิ้วต่อปี ฤดูหนาวอุณหภูมิเฉลี่ยถึง 7 องศาเซลเซียส (18 องศาฟาเรนไฮต์) เป็นเขตที่ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิมีมาก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นป่าผสมระหว่างไม้ผลัดใบและป่าสน ลึกเข้าไปเป็นทุ่งหญ้า สามารถเพาะปลูก</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ข้าวโพด ข้าวสาลี และเลี้ยงสัตว์พวกโคนมได้ ส่วนแถบชายทะเลมีการทำป่าไม้บ้างเล็กน้อย </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          6. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายแถบอบอุ่น  มีอุณหภูมิสูงมากในฤดูร้อน และอุณหภูมิต่ำมากในฤดูหนาว มีฝนตกบ้างในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน ได้แก่ ภาคตะวันตกของคาบสมุทรอาหรับ ตอนกลางของประเทศตุรกี ตอนเหนือของภาคกลางของอิหร่าน ในมองโกเลีย ทางตะวันตกเฉียงเหนือของจีน</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นทุ่งหญ้าสั้น (Steppe) ทุ่งหญ้าดังกล่าวมีการชลประทานเข้าถึงใช้เพาะปลูก  ข้าวสาลี ข้าวฟ่าง ฝ้าย และเลี้ยงสัตว์ได้ดี</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          7. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย   มีความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิกลางวันกับกลางคืน และฤดูร้อนกับ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ฤดูหนาวมาก ได้แก่ ดินแดนที่อยู่ภายในทวีปที่มีเทือกเขาปิดล้อม ทำให้อิทธิพลจากมหาสมุทรเข้าไปไม่ถึง ปริมาณฝนตกน้อยกว่าปีละ 250 มม.(10นิ้ว) ได้แก่บริเวณ คาบสมุทรอาหรับ ทะเลทรายโกบี ทะเลทรายธาร์ และที่ราบสูงทิเบต ที่ราบสูงอิหร่าน บริเวณที่มีน้ำและต้นไม้ขึ้น เรียกว่า โอเอซิส  (Oasis)</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็นอินทผลัม ตะบองเพชร และไม้ประเภทมีหนาม ชายขอบทะเลทราย        </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ส่วนใหญ่เป็นทุ่งหญ้าสลับป่าโปร่ง มีการเลี้ยงสัตว์ประเภทที่เลี้ยงไว้ใช้เนื้อ และทำการเพาะปลูกต้องอาศัย</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">การชลประทานช่วย</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          8. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน  มีอากาศในฤดูร้อน ร้อนและแห้งแล้ง  ใน เลบานอน ซีเรีย</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">อิสราเอล และตอนเหนือของอิรัก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็น ไม้ต้นเตี้ย ไม้พุ่มมีหนาม ต้นไม้เปลือกหนาที่ทนต่อความแห้งแล้งในฤดูร้อนได้ดี พืชที่เพาะปลูก ได้แก่ ส้มองุ่น และ มะกอก</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         9. ภูมิอากาศแบบไทกา (กึ่งขั้วโลก)  มีฤดูหนาวยาวนานและหนาวจัด ฤดูร้อนสั้น มีน้ำค้างแข็งได้ทุกเวลา และ  ฝนตกในรูปของหิมะ ได้แก่ ดินแดนทางภาคเหนือของทวีปบริเวณไซบีเรีย</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">          </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็น ป่าสน  เป็นแนวยาวทางเหนือของทวีป ที่เรียกว่า ไทกา (Taiga) หรือป่าสนของไซบีเรีย</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">        10. ภูมิอากาศแบบทุนดรา (ขั้วโลก)  เขตนี้มีฤดูหนาวยาวนานมาก อากาศหนาวจัด มีหิมะปกคลุม</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">ตลอดปี ไม่มีฤดูร้อน</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"> </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\">         พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็น พวกตะไคร่น้ำ และ มอสส์</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\"><br />\n</span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">         11  ภูมิอากาศแบบที่สูง  ในเขตที่สูงอุณหภูมิจะลดลงตามระดับความสูงในอัตราความสูงเฉลี่ยประมาณ 1 องศาเซลเซียสต่อความสูง 10 เมตร จึงปรากฎว่ายอดเขาสูงบางแห่งแม้จะอยู่ในเขตร้อน ก็มีหิมะปกคลุมทั้งปี หรือเกือบตลอดปี  ได้แก่ ที่ราบสูงทิเบต เทือกเขาหิมาลัย  เทือกเขาคุนลุน และเทือกเขาเทียนชาน ซึ่งมีความสูงประมาณ 5,000-8,000 เมตร จากระดับน้ำทะเล มีหิมะปกคลุมและมีอากาศหนาวเย็นแบบขั้วโลก </span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">           </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #99cc00\"> พืชพรรณธรรมชาติ</span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">เป็น  พวกตะไคร่น้ำ และ มอส</span> \n</div>\n<p></p></span>\n</div>\n', created = 1720080245, expire = 1720166645, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7abf56ac712dbf6d659f687552782a6e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:14528715b9d3b8fbad2014d058373b7c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<img height=\"120\" width=\"320\" src=\"/files/u39966/asia.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/82245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/1.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88025\" title=\"เข้าสู่เนื้อหา\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/2.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88241\" title=\"อ้างอิง\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/3.jpg\" border=\"0\" /></a><a href=\"/node/88245\"><img height=\"100\" width=\"120\" src=\"/files/u39966/4.jpg\" border=\"0\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<hr id=\"null\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"302\" width=\"432\" src=\"/files/u39966/wofld1.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\">รูปภาพจาก </span><span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><a target=\"_blank\" href=\"http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php\">http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php</a></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"font-family: Tahoma; color: #000000; webkit-border-horizontal-spacing: 2px; webkit-border-vertical-spacing: 2px\"><a target=\"_blank\" href=\"http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php\"></a></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-style-span\" style=\"color: #999999\">       เอเชีย (Asia) มาจากคำว่า  อาซู (Asu) ในภาษาอัสซีเรียน แปลว่า ดินแดนแห่งดวงตะวันขึ้น (ตะวันออก) ใช้เรียกดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของอาณาจักรอัสซีเรียนมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน เอเชียได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่างหรือทวีปแห่งความตรงข้าม (a continent of contrast) หรือ ทวีปแห่งความเป็นที่สุด(a continent of extremes)มียอดเขาเอเวอเรสต์ในเทือกเขาหิมาลัยสูงที่สุดในโลก สูง 8,848 เมตร (2,928 ฟุต) มีพื้นแผ่นดินที่ต่ำที่สุด คือ ทะเลเดดซี อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 400 เมตร (1,312 ฟุต)  และเหวทะเลมาเรียนาซึ่งลึกที่สุดในโลก มีอากาศหนาวเย็นที่สุด ได้แก่ตอนเหนือของไซบีเรีย  มีอากาศร้อนและแห้งแล้งที่สุดจนเป็นทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และมีฝนตกชุกที่สุดในแคว้นอัสสัมของอินเดีย นอกจากนี้ยังเป็นทวีปที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทุกทวีป ขณะที่เขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไม่มีผู้คนอาศัยอยู่เลย  ความเป็นอยู่ของประชากรก็มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่ฐานะดีจนถึงยากจนแร้นแค้น เอเชียจึงได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่าง</span>\n</div>\n', created = 1720080245, expire = 1720166645, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:14528715b9d3b8fbad2014d058373b7c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ลักษณะเอเชีย


รูปภาพจาก http://travel.sanook.com/foreign/foreign6.php
       เอเชีย (Asia) มาจากคำว่า  อาซู (Asu) ในภาษาอัสซีเรียน แปลว่า ดินแดนแห่งดวงตะวันขึ้น (ตะวันออก) ใช้เรียกดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของอาณาจักรอัสซีเรียนมาตั้งแต่สมัยกรีกและโรมัน เอเชียได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่างหรือทวีปแห่งความตรงข้าม (a continent of contrast) หรือ ทวีปแห่งความเป็นที่สุด(a continent of extremes)มียอดเขาเอเวอเรสต์ในเทือกเขาหิมาลัยสูงที่สุดในโลก สูง 8,848 เมตร (2,928 ฟุต) มีพื้นแผ่นดินที่ต่ำที่สุด คือ ทะเลเดดซี อยู่ต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 400 เมตร (1,312 ฟุต)  และเหวทะเลมาเรียนาซึ่งลึกที่สุดในโลก มีอากาศหนาวเย็นที่สุด ได้แก่ตอนเหนือของไซบีเรีย  มีอากาศร้อนและแห้งแล้งที่สุดจนเป็นทะเลทรายที่เอเชียตะวันตกเฉียงใต้ และมีฝนตกชุกที่สุดในแคว้นอัสสัมของอินเดีย นอกจากนี้ยังเป็นทวีปที่มีประชากรมากที่สุดในโลก และส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเขตชนบท และมีความหนาแน่นมากกว่าทุกทวีป ขณะที่เขตทะเลทรายในเขตเอเชียแทบไม่มีผู้คนอาศัยอยู่เลย  ความเป็นอยู่ของประชากรก็มีความแตกต่างกันมากตั้งแต่ฐานะดีจนถึงยากจนแร้นแค้น เอเชียจึงได้ชื่อว่าเป็นทวีปแห่งความแตกต่าง
สร้างโดย: 
ครูพีรทิพย์ สุคันธเมศวร์ , แก้วตา เรือนอินทร์ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 594 คน กำลังออนไลน์