• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:61877df1e83b9de587b9c36040450bd5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img height=\"210\" width=\"718\" src=\"/files/u40691/1_copy.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/81902\" title=\"หน้าหลักประเพณีของไทย\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/01.jpg\" /></a><a href=\"/node/87512\" title=\"ประเพณีไทยของภาคกลาง\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/03.jpg\" /></a><a href=\"/node/87515\" title=\"ประเพณีไทยของภาคเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/02.jpg\" /></a><a href=\"/node/87517\" title=\"ประเพณีไทยของภาคใต้\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/04.jpg\" /></a><a href=\"/node/87518\" title=\"ประเพณีไทยของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"150\" src=\"/files/u40691/05.jpg\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ed6d26\"><span style=\"background-color: #ccffcc\">                         ประเพณีการแข่งขันว่าว จ.สตูล                          </span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #ed6d26\"><span style=\"background-color: #ccffcc\"></span></span>\n</p>\n<div height=\"385\" width=\"480\">\n<div value=\"http://www.youtube.com/v/KM8Pp77qww4?fs=1&amp;hl=en_US\" name=\"movie\">\n</div>\n<div value=\"true\" name=\"allowFullScreen\">\n</div>\n<div value=\"always\" name=\"allowscriptaccess\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<object classid=\"clsid:d27cdb6e-ae6d-11cf-96b8-444553540000\" codebase=\"http://download.macromedia.com/pub/shockwave/cabs/flash/swflash.cab#version=6,0,40,0\" width=\"480\" height=\"385\">\n <param name=\"width\" value=\"480\" />\n <param name=\"src\" value=\"http://www.youtube.com/v/KM8Pp77qww4?fs=1&amp;hl=en_US\" />\n <param name=\"height\" value=\"385\" />\n <param name=\"allowfullscreen\" value=\"true\" />\n <param name=\"allowscriptaccess\" value=\"always\" />\n <embed type=\"application/x-shockwave-flash\" width=\"480\" src=\"http://www.youtube.com/v/KM8Pp77qww4?fs=1&amp;hl=en_US\" height=\"385\" allowfullscreen=\"true\" allowscriptaccess=\"always\"></embed>\n</object></div>\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #ed6d26\">           ประเพณีการแข่งขันว่าวจัดขึ้นในต้นสัปดาห์แรกเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี<br />\n           การแข่งขันว่าวประเพณีจังหวัดสตูล เริ่มมีวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙ โดยคณะครู-อาจาย์โรงเรียนสตูลวิทยา และชาวบ้านตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ริเริ่มจัดการแข่งขัน เนื่องจากช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ลงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ลมว่าวกำลังพัดย่านท้องที่สนามบิน และในจังหวัดภาคใต้ เหมาะแก่การเล่นว่าว ซึ่งเป็นการละเล่นพื้นเมืองที่ลงทุนน้อย เล่นง่าย เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ประดิษฐ์ว่าวประเภทต่างๆ ขึ้นมา ประกอบคนชาวไทยเป็นนักประดิษฐ์ ช่างคิด ช่างทำ เห็นควายอยู่ในนาที่กำลังเก็บเกี่ยวจึงได้จำลองหน้าตาของควายลงในตัวว่าว ขณะที่ว่าวลอยกลางอากาศส่วนหางจะอยู่บน ส่วนหัว เขา จมูก หู อยู่ส่วนล่าง ว่าวมีเสียงดัง อยู่ไม่นิ่ง ส่ายไปมาเหมือนนิสัยบ้าบิ่นของควาย ชาวบ้านจึงเรียกว่าวควาย เป็นสัญลักษณ์ของการเล่นว่าวในจังหวัดสตูล เป็นที่นิยมของประชาชนในจังหวัดใกล้เคียง เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ<br />\n       อดีตว่าวเป็นเครื่องมือวัด ลม เป็นอุปกรณ์เสี่ยงทายถึงความเจริญก้าวหน้าของท้องถิ่นนิทาน หรือตำนานของไทย เช่น เรื่องแก้วหน้าม้า ว่าวสมัยก่อน พระมหากษัตริย์ให้ความสนใจมากหากว่าวตกลงบ้านใคร เจ้าของบ้านจะได้รับรางวัลเป็นสิ่งตอบแทน ชาวจีนใช้ว่าวทำสงคราม ชาวฝรั่ง เช่น เบ็ญจามิน แพรงกิน ใช้ว่าวทดลองทางวิทยาศาสตร์<br />\n      ว่าวจุฬา - ปักเป้า เป็นว่าวที่พระราชาทรงโปรด จัดให้มีการแข่งขันท้องสนามหลวง ว่าวจุฬา แต่ละตัวที่จัดทำขึ้นต้องมีพิธีกรรมหลายอย่าง เช่น การค้นหาไม้ไผ่ที่แก่จัด อยู่กลางกอไผ่ มีอายุที่กำหนดไว้ เมื่อตัดไม้ไผ่แล้วต้องไปแช่น้ำระยะหนึ่ง จึงจะมาตกแต่ง มีการรมควันเพื่อให้ไม้ไผ่ทนทาน ไม่มีมอด แมลงมาชอนไช การตกแต่งโครงว่าว การผูกเชือก การติดกระดาษ ล้วนแต่ใช้ภูมิปัญญาไทย บางครั้งต้องมีการเซ่นไหว้ เพื่อให้มีชัยชนะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ed6d26\">ขอบคุณข้อมูลจาก : <a href=\"http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0698\"><u>http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0698</u></a> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ed6d26\">                         <a href=\"http://watkoh.com/kratoo/printer_friendly_posts.asp?TID=1915\"><u>http://watkoh.com/kratoo/printer_friendly_posts.asp?TID=1915</u></a> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ed6d26\">ขอบคุณรูปภาพจาก : <a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=KM8Pp77qww4&amp;feature=related\"><u>http://www.youtube.com/watch?v=KM8Pp77qww4&amp;feature=related</u></a></span>\n</p>\n', created = 1716782177, expire = 1716868577, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:61877df1e83b9de587b9c36040450bd5' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีการแข่งขันว่าว จ.สตูล

 

                         ประเพณีการแข่งขันว่าว จ.สตูล                         

           ประเพณีการแข่งขันว่าวจัดขึ้นในต้นสัปดาห์แรกเดือนกุมภาพันธ์ ของทุกปี
           การแข่งขันว่าวประเพณีจังหวัดสตูล เริ่มมีวันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๑๙ โดยคณะครู-อาจาย์โรงเรียนสตูลวิทยา และชาวบ้านตำบลคลองขุด อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ริเริ่มจัดการแข่งขัน เนื่องจากช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ลงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หรือ ลมว่าวกำลังพัดย่านท้องที่สนามบิน และในจังหวัดภาคใต้ เหมาะแก่การเล่นว่าว ซึ่งเป็นการละเล่นพื้นเมืองที่ลงทุนน้อย เล่นง่าย เป็นภูมิปัญญาชาวบ้านที่ประดิษฐ์ว่าวประเภทต่างๆ ขึ้นมา ประกอบคนชาวไทยเป็นนักประดิษฐ์ ช่างคิด ช่างทำ เห็นควายอยู่ในนาที่กำลังเก็บเกี่ยวจึงได้จำลองหน้าตาของควายลงในตัวว่าว ขณะที่ว่าวลอยกลางอากาศส่วนหางจะอยู่บน ส่วนหัว เขา จมูก หู อยู่ส่วนล่าง ว่าวมีเสียงดัง อยู่ไม่นิ่ง ส่ายไปมาเหมือนนิสัยบ้าบิ่นของควาย ชาวบ้านจึงเรียกว่าวควาย เป็นสัญลักษณ์ของการเล่นว่าวในจังหวัดสตูล เป็นที่นิยมของประชาชนในจังหวัดใกล้เคียง เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
       อดีตว่าวเป็นเครื่องมือวัด ลม เป็นอุปกรณ์เสี่ยงทายถึงความเจริญก้าวหน้าของท้องถิ่นนิทาน หรือตำนานของไทย เช่น เรื่องแก้วหน้าม้า ว่าวสมัยก่อน พระมหากษัตริย์ให้ความสนใจมากหากว่าวตกลงบ้านใคร เจ้าของบ้านจะได้รับรางวัลเป็นสิ่งตอบแทน ชาวจีนใช้ว่าวทำสงคราม ชาวฝรั่ง เช่น เบ็ญจามิน แพรงกิน ใช้ว่าวทดลองทางวิทยาศาสตร์
      ว่าวจุฬา - ปักเป้า เป็นว่าวที่พระราชาทรงโปรด จัดให้มีการแข่งขันท้องสนามหลวง ว่าวจุฬา แต่ละตัวที่จัดทำขึ้นต้องมีพิธีกรรมหลายอย่าง เช่น การค้นหาไม้ไผ่ที่แก่จัด อยู่กลางกอไผ่ มีอายุที่กำหนดไว้ เมื่อตัดไม้ไผ่แล้วต้องไปแช่น้ำระยะหนึ่ง จึงจะมาตกแต่ง มีการรมควันเพื่อให้ไม้ไผ่ทนทาน ไม่มีมอด แมลงมาชอนไช การตกแต่งโครงว่าว การผูกเชือก การติดกระดาษ ล้วนแต่ใช้ภูมิปัญญาไทย บางครั้งต้องมีการเซ่นไหว้ เพื่อให้มีชัยชนะ

ขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0698

                         http://watkoh.com/kratoo/printer_friendly_posts.asp?TID=1915

ขอบคุณรูปภาพจาก : http://www.youtube.com/watch?v=KM8Pp77qww4&feature=related

สร้างโดย: 
คุณครูรัตนา สถิตานนท์และนางสาวนัฐพร ชุณหเจริญเวช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 300 คน กำลังออนไลน์