• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('คณิตศาสตร์, ช่วงชั้น 4 (ม.4-6)', 'taxonomy/term/1,14', '', '18.188.221.90', 0, 'c53ce41fec38616b8e3cf80a5f09df09', 208, 1716102142) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:1ca1854d95071b4a12ffab300a7f95e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n <img height=\"210\" width=\"713\" src=\"/files/u40691/1_copy.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/81902\" title=\"หน้าหลักประเพณีของไทย\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/01.jpg\" /></a><a href=\"/node/87512\" title=\"ประเพณีไทยของภาคกลาง\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/03.jpg\" /></a><a href=\"/node/87515\" title=\"ประเพณีไทยของภาคเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/02.jpg\" /></a><a href=\"/node/87517\" title=\"ประเพณีไทยของภาคใต้\"><img height=\"75\" width=\"120\" src=\"/files/u40691/04.jpg\" /></a><a href=\"/node/87518\" title=\"ประเพณีไทยของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ\"><img height=\"75\" width=\"150\" src=\"/files/u40691/05.jpg\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">                                ประเพณีลากพระ(ชักพระ) จ.นครศรีธรรมราช                                    </span> \n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"http://i410.photobucket.com/albums/pp184/Badbadz362/Pimai/DSC_014.jpg\"><img height=\"1\" width=\"1\" src=\"http://songkhlatoday.com/upload/pics/551000013228903.jpg\" border=\"0\" /></a><img height=\"300\" width=\"400\" src=\"/files/u40691/008.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 372px; height: 266px\" />\n</p>\n<p>\n         ประเพณีลากพระ(ชักพระ)จะทำกันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวมและวันรุ่งขึ้น แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด<br />\nประเพณีลากพระ(ชักพระ) ถือเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตามความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน  <br />\n       <u>พิธีกรรม</u><br />\n๑. การแต่งนมพระ<br />\nนมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมทำ ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นมพระ ลากพระทางน้ำ เรียกว่า &quot;เรือพระ&quot; นมพระสร้างเป็นร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทำเป็นรูปพญานาค มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทำฝาผนัง ตกแต่งลวดลายระบายสีสวย รอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทำอุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัวพญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวนโพน กลอง ระฆัง ฆ้อง ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่งของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่งอย่างบรรจงดูแลเป็นพิเศษ เพราะความสง่าได้สัดส่วนของนมพระขึ้นอยู่กับยอดนม<br />\n๒. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ<br />\nพระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ พุทธบริษัทจะสรงน้ำพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนนมพระ แล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไปดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ ชาวบ้านจะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตรหน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ ในตอนนี้บางวัดจะทำพิธีทางไสยศาสตร์เพื่อให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย<br />\n๓. การลากพระ<br />\nใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครื่องตีให้จังหวะเร้าใจในการลากพระ คนลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลากพระเพื่อผ่อนแรง\n</p>\n<p>\nขอบคุณข้อมูลจาก :<u> </u><a href=\"http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0675\"><u>http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0675</u></a> \n</p>\n<p>\n                       : <a href=\"http://personal.swu.ac.th/students/hm471010130/web/page19.htm\"><u>http://personal.swu.ac.th/students/hm471010130/web/page19.htm</u></a>   \n</p>\n<p>\nขอบคุณรูปภาพจาก : <a href=\"http://songkhlatoday.com/upload/pics/551000013228903.jpg\"><u>http://songkhlatoday.com/upload/pics/551000013228903.jpg</u></a>\n</p>\n', created = 1716102162, expire = 1716188562, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:1ca1854d95071b4a12ffab300a7f95e9' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประเพณีลากพระ(ชักพระ) จ.นครศรีธรรมราช

 

                                ประเพณีลากพระ(ชักพระ) จ.นครศรีธรรมราช                                     

         ประเพณีลากพระ(ชักพระ)จะทำกันในวันออกพรรษา คือวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ โดยตกลงนัดหมายลากพระไปยังจุดศูนย์รวมและวันรุ่งขึ้น แรม ๒ ค่ำ เดือน ๑๑ จึงลากพระกลับวัด
ประเพณีลากพระ(ชักพระ) ถือเป็นประเพณีทำบุญในวันออกพรรษา ปฏิบัติตามความเชื่อว่า เมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเสด็จไปจำพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อโปรดพระมารดา เมื่อครบพรรษาจึงเสด็จกลับมายังโลกมนุษย์ พุทธศาสนิกชนไปรับเสด็จ แล้วอัญเชิญพระพุทธเจ้าประทับบนบุษบกแล้วแห่แหน  
       พิธีกรรม
๑. การแต่งนมพระ
นมพระ หมายถึงพนมพระเป็นพาหนะที่ใช้บรรทุกพระลาก นิยมทำ ๒ แบบ คือ ลากพระทางบก เรียกว่า นมพระ ลากพระทางน้ำ เรียกว่า "เรือพระ" นมพระสร้างเป็นร้านม้า มีไม้สองท่อนรองรับข้างล่าง ทำเป็นรูปพญานาค มีล้อ ๔ ล้ออยู่ใต้ตัวพญานาค ร้านม้าใช้ไม้ไผ่สานทำฝาผนัง ตกแต่งลวดลายระบายสีสวย รอบ ๆ ประดับด้วยผ้าแพรสี ธงริ้ว ธงสามชาย ธงราว ธงยืนห้อยระยาง ประดับต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้สดทำอุบะห้อยระย้า มีต้มห่อด้วยใบพ้อแขวนหน้านมพระ ตัวพญานาคประดับกระจกแวววาวสีสวย ข้าง ๆ นมพระแขวนโพน กลอง ระฆัง ฆ้อง ด้านหลังนมพระวางเก้าอี้ เป็นที่นั่งของพระสงฆ์ ยอดนมอยู่บนสุดของนมพระ ได้รับการแต่งอย่างบรรจงดูแลเป็นพิเศษ เพราะความสง่าได้สัดส่วนของนมพระขึ้นอยู่กับยอดนม
๒. การอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ
พระลาก คือพระพุทธรูปยืน แต่ที่นิยมคือ พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร เมื่อถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ พุทธบริษัทจะสรงน้ำพระลากเปลี่ยนจีวร แล้วอัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนนมพระ แล้วพระสงฆ์จะเทศนาเรื่องการเสด็จไปดาวดึงส์ของพระพุทธเจ้า ตอนเช้ามืดในวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๑๑ ชาวบ้านจะมาตักบาตรหน้านมพระ เรียกว่า ตักบาตรหน้าล้อ เสร็จแล้วจึงอัญเชิญพระลากขึ้นประดิษฐานบนนมพระ ในตอนนี้บางวัดจะทำพิธีทางไสยศาสตร์เพื่อให้การลากพระราบรื่น ปลอดภัย
๓. การลากพระ
ใช้เชือกแบ่งผูกเป็น ๒ สาย เป็นสายผู้หญิงและสายผู้ชาย โดยใช้โพน (ปืด) ฆ้อง ระฆัง เป็นเครื่องตีให้จังหวะเร้าใจในการลากพระ คนลากจะเบียดเสียดกันสนุกสนานและประสานเสียงร้องบทลากพระเพื่อผ่อนแรง

ขอบคุณข้อมูลจาก : http://www.prapayneethai.com/th/tradition/south/view.asp?id=0675 

                       : http://personal.swu.ac.th/students/hm471010130/web/page19.htm   

ขอบคุณรูปภาพจาก : http://songkhlatoday.com/upload/pics/551000013228903.jpg

สร้างโดย: 
คุณครูรัตนา สถิตานนท์และนางสาวนัฐพร ชุณหเจริญเวช

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 243 คน กำลังออนไลน์