• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2b84da701b1799500ce0a9e8050fd341' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ประเภทของความผิด</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ1.</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">            <span lang=\"TH\"> ความผิดในตัวเอง (ละติน: </span></span><span lang=\"LA\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">mala in se</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">) คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน2.</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">            <span lang=\"TH\"> ความผิดเพราะกฎหมายห้าม (ละติน: </span></span><span lang=\"LA\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">mala prohibita</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">) คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎี<u>กฎหมายสามยุค</u> ความผิดเพราะกฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค <o:p></o:p></span></span><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">ลักษณะของการเกิดความผิด</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">กฎหมายอาญาแบ่งลักษณะของการกระทำความผิดไว้ 3 ประเภทคือ1.</span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">            <span lang=\"TH\"> ความผิดโดยการกระทำ2.</span>            <span lang=\"TH\"> ความผิดโดยการงดเว้นการกระทำ3.</span>            <span lang=\"TH\"> ความผิดโดยการละเว้นการกระทำ <o:p></o:p></span></span></span><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; background: #999999; color: black; font-size: 16pt\">สภาพบังคับของกฎหมายอาญา</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">โทษทางอาญา เป็นสภาพบังคับหลักทางอาญาที่สามารถใช้ได้กับการกระทำที่เป็นความผิดทางอาญาตามกฎหมายอื่นด้วย ดุลยพินิจในการลงโทษ ที่ศาลจะลงโทษผู้กระทำความผิดหนักเบาเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับทฤษฏีซึ่งเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการลงโทษ ซึ่งแยกได้ 2 ทฤษฏี คือ ทฤษฏีเด็ดขาด การลงโทษ คือ การตอบแทนแก้แค้นการกระทำผิด การลงโทษหนักเบาย่อมเป็นไปตามความร้ายแรงของความผิด และทฤษฏีสัมพันธ์ การลงโทษมีประโยชน์คือ เพื่อให้สังคมปลอดภัย โทษจึงทำหน้าที่ห้ามไม่ให้คนกระทำความผิด และในกรณีกระทำความผิดไปแล้ว โทษมีความจำเป็นเพื่อปรับปรุงให้ผู้กระทำความผิดนั้นกลับตัวกลับใจแก้ไขการกระทำผิดที่เคยเกิดขึ้นและสามารถกลับเค้าสู่สังคมอย่างเดิม</span><span style=\"color: #2b3220\"> <o:p></o:p></span></span><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">โครงสร้างความรับผิดทางอาญา</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">โครงสร้างความรับผิดทางอาญาเป็นโครงสร้างที่ใช้พิจารณาความรับผิดทางอาญาของผู้กระทำว่ามีความผิดมีโทษหรือไม่ประการใด แบ่งออกเป็น 3 ขั้นในการพิจารณาได้แก่1.</span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">            <span lang=\"TH\"> การกระทำครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติ2.</span>            <span lang=\"TH\"> อำนาจกระทำ (กฎหมายยกเว้นความผิด)3.</span>            </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\"> กฎหมายยกเว้นโทษ (เป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ)สรุปสาระสำคัญ</span><span style=\"color: #2b3220\"><br />\n</span></span><span style=\"color: #000000\">                   </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> 1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิด<br />\n</span>                   </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> 2. ความผิดทางอาญา คือ การกระทำที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ<br />\n</span>                   <span lang=\"TH\"> 3. การกระทำความผิดอาญาออกเป็น 2 ลักษณะ คือ</span> </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> ความผิดต่อแผ่นดิน และความผิดอันยอมความกันได้ <br />\n</span>                    </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">4. ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่กำหนดเป็นความผิดชัดแจ้ง หรือเป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง<br />\n</span>                    </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">5. โทษทางอาญา มี 5 ชนิด<br />\n</span>                                </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">1. ประหารชีวิต 2. จำคุก<br />\n</span>                                </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">3. กักขัง 4. ปรับ<br />\n</span>                                </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">5. ริบทรัพย์สิน<br />\n</span>                    </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">6. กระทำโดยเจตนา คือ การกระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น<br />\n</span>                   </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\"> 7. กระทำโดยไม่เจตนา คือ ผู้กระทำไม่ได้ประสงค์ต่อผล หรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้<br />\n</span>                    </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">8. การกระทำโดยประมาท คือ การกระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านี้ได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่<br />\n</span>                    </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">9. กฎหมายได้แบ่งการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนออกเป็น 4 ช่วงอายุ คือ<br />\n</span>                            </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">1) เด็กอายุไม่เกิน 7 ปี<br />\n</span>                            </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">2) เด็กอายุกว่า 7 ปี แต่ยังไม่เกิน 14 ปี<br />\n</span>                            </span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\">3) เยาวชนอายุเกินกว่า 14 ปีแต่ไม่เกิน 17 ปี<br />\n</span>                            </span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #000000\">4) เยาวชนอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี</span><span style=\"color: #2b3220\"> </span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #2b3220\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #2b3220\"><o:p></o:p></span></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81848\"><img height=\"500\" width=\"500\" src=\"/files/u40580/scale01.gif\" border=\"0\" style=\"width: 156px; height: 117px\" /></a>  <a href=\"/node/91209\"><img height=\"209\" width=\"589\" src=\"/files/u40580/border003yt9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 211px; height: 87px\" /></a>\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1720078867, expire = 1720165267, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2b84da701b1799500ce0a9e8050fd341' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ความผิด

ประเภทของความผิดความผิดทางอาญามี 2 ประเภทคือ1.             ความผิดในตัวเอง (ละติน: mala in se) คือความผิดที่คนทั่วไปเห็นชัดเจนว่าเป็นความผิดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน2.             ความผิดเพราะกฎหมายห้าม (ละติน: mala prohibita) คือความผิดที่เกิดจากการที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นความผิด โดยอาจมิได้เกี่ยวกับศีลธรรมเลย ซึ่งหากกล่าวถึงทฤษฎีกฎหมายสามยุค ความผิดเพราะกฎหมายห้ามอยู่ในยุคกฎหมายเทคนิค ลักษณะของการเกิดความผิดกฎหมายอาญาแบ่งลักษณะของการกระทำความผิดไว้ 3 ประเภทคือ1.             ความผิดโดยการกระทำ2.             ความผิดโดยการงดเว้นการกระทำ3.             ความผิดโดยการละเว้นการกระทำ สภาพบังคับของกฎหมายอาญาโทษทางอาญา เป็นสภาพบังคับหลักทางอาญาที่สามารถใช้ได้กับการกระทำที่เป็นความผิดทางอาญาตามกฎหมายอื่นด้วย ดุลยพินิจในการลงโทษ ที่ศาลจะลงโทษผู้กระทำความผิดหนักเบาเพียงใดย่อมขึ้นอยู่กับทฤษฏีซึ่งเกี่ยวกับจุดประสงค์ในการลงโทษ ซึ่งแยกได้ 2 ทฤษฏี คือ ทฤษฏีเด็ดขาด การลงโทษ คือ การตอบแทนแก้แค้นการกระทำผิด การลงโทษหนักเบาย่อมเป็นไปตามความร้ายแรงของความผิด และทฤษฏีสัมพันธ์ การลงโทษมีประโยชน์คือ เพื่อให้สังคมปลอดภัย โทษจึงทำหน้าที่ห้ามไม่ให้คนกระทำความผิด และในกรณีกระทำความผิดไปแล้ว โทษมีความจำเป็นเพื่อปรับปรุงให้ผู้กระทำความผิดนั้นกลับตัวกลับใจแก้ไขการกระทำผิดที่เคยเกิดขึ้นและสามารถกลับเค้าสู่สังคมอย่างเดิม โครงสร้างความรับผิดทางอาญาโครงสร้างความรับผิดทางอาญาเป็นโครงสร้างที่ใช้พิจารณาความรับผิดทางอาญาของผู้กระทำว่ามีความผิดมีโทษหรือไม่ประการใด แบ่งออกเป็น 3 ขั้นในการพิจารณาได้แก่1.             การกระทำครบองค์ประกอบที่กฎหมายบัญญัติ2.             อำนาจกระทำ (กฎหมายยกเว้นความผิด)3.             กฎหมายยกเว้นโทษ (เป็นความผิดแต่ไม่ต้องรับโทษ)สรุปสาระสำคัญ
                    1. กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความผิดและโทษที่กำหนดไว้สำหรับความผิด
                   
2. ความผิดทางอาญา คือ การกระทำที่มีผลกระทบกระเทือนต่อสังคมหรือคนส่วนใหญ่ของประเทศ
                    3. การกระทำความผิดอาญาออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 
ความผิดต่อแผ่นดิน และความผิดอันยอมความกันได้
                   
4. ลักษณะสำคัญของกฎหมายอาญาเป็นกฎหมายที่กำหนดเป็นความผิดชัดแจ้ง หรือเป็นกฎหมายที่ไม่มีผลย้อนหลัง
                   
5. โทษทางอาญา มี 5 ชนิด
                               
1. ประหารชีวิต 2. จำคุก
                               
3. กักขัง 4. ปรับ
                               
5. ริบทรัพย์สิน
                   
6. กระทำโดยเจตนา คือ การกระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกันผู้กระทำประสงค์ต่อผลหรือย่อมเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น
                   
7. กระทำโดยไม่เจตนา คือ ผู้กระทำไม่ได้ประสงค์ต่อผล หรือไม่อาจเล็งเห็นผลของการกระทำนั้นได้
                   
8. การกระทำโดยประมาท คือ การกระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้น จะต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านี้ได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่
                   
9. กฎหมายได้แบ่งการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนออกเป็น 4 ช่วงอายุ คือ
                           
1) เด็กอายุไม่เกิน 7 ปี
                           
2) เด็กอายุกว่า 7 ปี แต่ยังไม่เกิน 14 ปี
                           
3) เยาวชนอายุเกินกว่า 14 ปีแต่ไม่เกิน 17 ปี
                           
4) เยาวชนอายุกว่า 17 ปี แต่ไม่เกิน 20 ปี

 

 

สร้างโดย: 
อ.ธานินทร์ พร้อมสุข และน.ส. อมรรัตน์ สมุทรประภูติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 613 คน กำลังออนไลน์