• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:e7d98f074248561e1ea9cc8c0982b264' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><h3 style=\"margin: auto 0cm\"><strong><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">โครงสร้างที่ 1 การกระทำครบองค์ประกอบ</span></span><span><o:p></o:p></span></strong></h3>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">1.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">มีการกระทำ (ม.59) คือ เคลื่อนไหว หรือ ไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สำนึก2.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ครบองค์ประกอบภายนอกของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น3.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ครบองค์ประกอบภายในของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น4.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ผลของการกระทำสัมพันธ์กับการกระทำตามหลักเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างการกระทำและผล 1.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ถ้าผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง</span><span style=\"color: black; font-size: 16pt\">” (<span lang=\"TH\">ทฤษฎีเงื่อนไข) มาจากการกระทำของผู้กระทำ คือ ถ้าไม่ทำ ผลไม่เกิด ผลที่เกิดนั้นถือว่าเป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ แต่ถ้าไม่ทำผลก็เกิด ผลที่เกิดไม่ใช่เป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ2.</span></span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ถ้าผลแห่งการกระทำทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลายก็ต่อเมื่อ ผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง” และเป็น “ผลธรรมดา</span><span style=\"color: black; font-size: 16pt\">” (<span lang=\"TH\">ม.63) ”ผลธรรมดา” คือ ผลที่ผู้กระทำคาดเห็นความเป็นไปได้ของผลนั้น ไม่จำต้องถึงขนาดเล็งเห็นผล ระดับการวินิจฉัยคือ “วิญญูชน” หากวิญญูชนไม่สามารถคาดเห็นได้ แม้ผู้กระทำจะคาดเห็นได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลายนั้น3.</span></span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">ถ้าผลแห่งการกระทำเกิดขึ้นโดยมีเหตุแทรกแซง (คือ:เหตุที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการกระทำของผู้กระทำในตอนแรก และเป็นเหตุที่ก่อให้เกิดผลในบั้นปลายขึ้น) ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ก็ต่อเมื่อเหตุแทรกแซงนั้นเป็นสิ่งที่ “วิญญูชน” คาดหมายได้ แต่ถ้าวิญญูชนคาดหมายไม่ได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลาย แต่ต้องรับผิดเพียงเท่าที่ตนได้กระทำไปแล้วก่อนมีเหตุแทรกแซง</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"> <o:p></o:p></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm\"><strong><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">โครงสร้างที่ 2 อำนาจกระทำ</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></strong></h3>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">1.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">    </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การกระทำความผิดโดยจำเป็น (ม.67)</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"> <o:p></o:p></span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">2.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">    </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การกระทำความผิดของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และไม่เกิน 15 ปี (ม.73 และ ม.74)3.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">    </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การกระทำความผิดของคนวิกลจริต (ม.65 ว.1)4.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">   </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">การกระทำความผิดของผู้มึนเมาที่เข้าข้อยกเว้น (ม.66)5.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">   </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การกระทำความผิดตามคำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน (ม.70)6.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">   </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบาง ความผิดระหว่างสามีและภรรยา (ม.71 ว.แรก)</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'; color: #2b3220; font-size: 9pt\"> <o:p></o:p></span></p>\n<h3 style=\"margin: auto 0cm\"><strong><span class=\"mw-headline\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">โครงสร้างที่ 3 กฎหมายยกเว้นโทษ</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Tahoma\',\'sans-serif\'\"><o:p></o:p></span></strong></h3>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Angsana New\">กฎหมายยกเว้นโทษ มีที่มาจากการคุ้มครองผู้ได้รับความเสียหาย ซึ่งเกิดจากการการกระทำ อันละเมิดต่อกฎหมายของบุคคลอื่น ตามหลักทั่วไปในเรื่อง สิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดยได้บัญญัติหลักของการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ไว้ 2 หลักด้วยกัน คือ1.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">หลักกฎหมายยกเว้นโทษ2.</span></span><span style=\"font-family: \'Times New Roman\',\'serif\'; color: black; font-size: 16pt\">            </span><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\"> </span><span lang=\"TH\" style=\"color: black; font-size: 16pt\">หลักกฎหมายยกเว้นความผิดหลักกฎหมายยกเว้นโทษนั้น เป็นกรณีที่มีการกระทำอันเป็นความผิดเกิดขึ้นแล้วแต่กฎหมายไม่ประสงค์ที่จะลงโทษผู้กระทำความผิดนั้น เช่น กรณีตาม ป.อ.มาตรา 67 เป็นเรื่องของ การกระทำความผิดด้วยความจำเป็น หากการกระทำนั้นไม่เกินสมควรแก่เหตุผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ ผู้กระทำความผิดด้วยความจำเป็นนั้นถือว่าได้กระทำความผิดแล้ว แต่กฎหมายไม่ประสงค์จะลงโทษ เนื่องจากเป็นการกระทำเพราะความจำเป็นเพื่อให้ตนหรือบุคคลอื่นพ้นจากภยันตรายอันใกล้จะถึงและไม่อาจหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้หลักกฎหมายยกเว้นความผิด เป็นกรณีที่มีการกระทำความผิดเกิดขึ้นแล้วเหมือนกันแต่ กฎหมายให้ถือว่าไม่มีการกระทำความผิด ตัวอย่าง เช่นป.อ.มาตรา 68 การกระทำเพื่อป้องกัน เป็นกรณีที่มีการกระทำผิดขึ้นแต่กฎหมายถือว่าไม่เป็น</span></span><span style=\"color: black; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/81848\"><img height=\"500\" width=\"500\" src=\"/files/u40580/scale01.gif\" border=\"0\" style=\"width: 164px; height: 96px\" /></a>    <a href=\"/node/91209\"><img height=\"209\" width=\"589\" src=\"/files/u40580/border003yt9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 209px; height: 78px\" /></a>\n</div>\n', created = 1720078328, expire = 1720164728, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:e7d98f074248561e1ea9cc8c0982b264' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

โครงสร้าง

โครงสร้างที่ 1 การกระทำครบองค์ประกอบ

1.             มีการกระทำ (ม.59) คือ เคลื่อนไหว หรือ ไม่เคลื่อนไหวร่างกายโดยรู้สำนึก2.             ครบองค์ประกอบภายนอกของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น3.             ครบองค์ประกอบภายในของการกระทำความผิดในเรื่องนั้น4.             ผลของการกระทำสัมพันธ์กับการกระทำตามหลักเรื่องความสัมพันธ์ ระหว่างการกระทำและผล 1.             ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ถ้าผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง” (ทฤษฎีเงื่อนไข) มาจากการกระทำของผู้กระทำ คือ ถ้าไม่ทำ ผลไม่เกิด ผลที่เกิดนั้นถือว่าเป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ แต่ถ้าไม่ทำผลก็เกิด ผลที่เกิดไม่ใช่เป็นผลโดยตรงมาจากการกระทำของผู้กระทำ2.             ถ้าผลแห่งการกระทำทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลายก็ต่อเมื่อ ผลนั้นเป็น “ผลโดยตรง” และเป็น “ผลธรรมดา” (ม.63) ”ผลธรรมดา” คือ ผลที่ผู้กระทำคาดเห็นความเป็นไปได้ของผลนั้น ไม่จำต้องถึงขนาดเล็งเห็นผล ระดับการวินิจฉัยคือ “วิญญูชน” หากวิญญูชนไม่สามารถคาดเห็นได้ แม้ผู้กระทำจะคาดเห็นได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลายนั้น3.             ถ้าผลแห่งการกระทำเกิดขึ้นโดยมีเหตุแทรกแซง (คือ:เหตุที่เกิดขึ้นใหม่ภายหลังการกระทำของผู้กระทำในตอนแรก และเป็นเหตุที่ก่อให้เกิดผลในบั้นปลายขึ้น) ผู้กระทำจะต้องรับผิดในผลบั้นปลาย ก็ต่อเมื่อเหตุแทรกแซงนั้นเป็นสิ่งที่ “วิญญูชน” คาดหมายได้ แต่ถ้าวิญญูชนคาดหมายไม่ได้ ผู้กระทำก็ไม่ต้องรับผิดในผลบั้นปลาย แต่ต้องรับผิดเพียงเท่าที่ตนได้กระทำไปแล้วก่อนมีเหตุแทรกแซง

โครงสร้างที่ 2 อำนาจกระทำ

1.    การกระทำความผิดโดยจำเป็น (ม.67) 2.    การกระทำความผิดของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี และไม่เกิน 15 ปี (ม.73 และ ม.74)3.    การกระทำความผิดของคนวิกลจริต (ม.65 ว.1)4.    การกระทำความผิดของผู้มึนเมาที่เข้าข้อยกเว้น (ม.66)5.   การกระทำความผิดตามคำสั่งที่มิชอบด้วยกฎหมายของเจ้าพนักงาน (ม.70)6.   การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ในบาง ความผิดระหว่างสามีและภรรยา (ม.71 ว.แรก)

โครงสร้างที่ 3 กฎหมายยกเว้นโทษ

กฎหมายยกเว้นโทษ มีที่มาจากการคุ้มครองผู้ได้รับความเสียหาย ซึ่งเกิดจากการการกระทำ อันละเมิดต่อกฎหมายของบุคคลอื่น ตามหลักทั่วไปในเรื่อง สิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ โดยได้บัญญัติหลักของการคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของมนุษย์ไว้ 2 หลักด้วยกัน คือ1.             หลักกฎหมายยกเว้นโทษ2.             หลักกฎหมายยกเว้นความผิดหลักกฎหมายยกเว้นโทษนั้น เป็นกรณีที่มีการกระทำอันเป็นความผิดเกิดขึ้นแล้วแต่กฎหมายไม่ประสงค์ที่จะลงโทษผู้กระทำความผิดนั้น เช่น กรณีตาม ป.อ.มาตรา 67 เป็นเรื่องของ การกระทำความผิดด้วยความจำเป็น หากการกระทำนั้นไม่เกินสมควรแก่เหตุผู้นั้นไม่ต้องรับโทษ ผู้กระทำความผิดด้วยความจำเป็นนั้นถือว่าได้กระทำความผิดแล้ว แต่กฎหมายไม่ประสงค์จะลงโทษ เนื่องจากเป็นการกระทำเพราะความจำเป็นเพื่อให้ตนหรือบุคคลอื่นพ้นจากภยันตรายอันใกล้จะถึงและไม่อาจหลีกเลี่ยงให้พ้นโดยวิธีอื่นใดได้หลักกฎหมายยกเว้นความผิด เป็นกรณีที่มีการกระทำความผิดเกิดขึ้นแล้วเหมือนกันแต่ กฎหมายให้ถือว่าไม่มีการกระทำความผิด ตัวอย่าง เช่นป.อ.มาตรา 68 การกระทำเพื่อป้องกัน เป็นกรณีที่มีการกระทำผิดขึ้นแต่กฎหมายถือว่าไม่เป็น

   
สร้างโดย: 
อ.ธานินทร์ พร้อมสุข และน.ส. อมรรัตน์ สมุทรประภูติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 581 คน กำลังออนไลน์