• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:89e3131006b5746b6c5a42ddcf6d4d11' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หลายฉบับกำหนดให้มีวุฒิสภา หรือสภาสูงควบ</span><span style=\"font-family: Times New Roman\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 16pt\"> </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">คู่กับสภาผู้แทนราษฎร คือ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2489 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2490 <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2492 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2511 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2517 <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2521 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2534 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">และ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2540 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">อนึ่ง สำหรับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2489 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เรียกสภาสูงว่าพฤฒิสภา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">ส่วนฉบับอื่น ๆ เรียกวุฒิสภา</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">การกำหนดให้มีสภาสูงหรือวุฒิสภานั้นโดยหลักการก็เพื่อให้มีการ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> “</span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">กลั่นกรอง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">” <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">งานของสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นไปด้วยความประณีตและรอบคออบ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวสภาสูงจึงต้องประกอบด้วยสมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิสูง</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">มีประสบการณ์มาก (ธานินทร์ </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2519 : 11) </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">อย่างไรก็ตามในอดีตวุฒิสภา</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">มักถูกมองว่าเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารหรือพลังของรัฐบาลที่จะถ่างดุล</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">กับพลังของสภาผู้แทนราษฎร ทั้งนี้เพราะรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้มีวุฒิสภา </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">มักจะกำหนดให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอชื่อผู้ที่</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">สมควรได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจึงเป็นผู้ที่นายกรัฐมนตรีไว้วางใจ และสมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับการเสนอชื่อแต่งตั้งก็ย่อมกริ่งเกรง และ</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เอื้ออำนวยประโยชน์แก่นายกรัฐมนตรีผู้เสนอแต่งตั้งตนในกิจการอันควร </span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">จะมีเพียงรัฐธรรมนูญฯ </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2489 </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">เท่านั้นที่กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลให้สมาชิก</span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">สภาผู้แทนในขณะนั้นเป็นผู้เลือกตั้งวุฒิสภาสมาชิก และรัฐธรรมนูญฯ </span><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\">2492 <o:p></o:p></span></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Times New Roman\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\">กำหนดให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><br />\n</span><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\',\'serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ประธานวุฒิสภาและรองประธานรัฐสภาคนปัจจุบัน คือ นายประสพสุข บุญเดช</span></span><span style=\"font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/81848\"><img height=\"500\" width=\"500\" src=\"/files/u40580/scale01.gif\" border=\"0\" style=\"width: 129px; height: 96px\" /></a>  <a href=\"/node/86216\"><img height=\"209\" width=\"589\" src=\"/files/u40580/border003yt9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 157px; height: 73px\" /></a>\n</p>\n', created = 1720306540, expire = 1720392940, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:89e3131006b5746b6c5a42ddcf6d4d11' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วุฒิสภา

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย หลายฉบับกำหนดให้มีวุฒิสภา หรือสภาสูงควบ คู่กับสภาผู้แทนราษฎร คือ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.2489 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2490 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2492 รัฐธรรมนูญฯ 2511 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2517  รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2521 รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2534 และ รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2540 อนึ่ง สำหรับรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ. 2489 เรียกสภาสูงว่าพฤฒิสภา  ส่วนฉบับอื่น ๆ เรียกวุฒิสภา
การกำหนดให้มีสภาสูงหรือวุฒิสภานั้นโดยหลักการก็เพื่อให้มีการกลั่นกรอง งานของสภาล่างหรือสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นไปด้วยความประณีตและรอบคออบ  เพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าวสภาสูงจึงต้องประกอบด้วยสมาชิกผู้ทรงคุณวุฒิสูง  มีประสบการณ์มาก (ธานินทร์ 2519 : 11) อย่างไรก็ตามในอดีตวุฒิสภา มักถูกมองว่าเป็นเครื่องมือของฝ่ายบริหารหรือพลังของรัฐบาลที่จะถ่างดุล กับพลังของสภาผู้แทนราษฎร ทั้งนี้เพราะรัฐธรรมนูญที่กำหนดให้มีวุฒิสภา มักจะกำหนดให้นายกรัฐมนตรีเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการเสนอชื่อผู้ที่ สมควรได้รับการแต่งตั้งให้เป็นสมาชิกวุฒิสภาผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจึงเป็นผู้ที่นายกรัฐมนตรีไว้วางใจ และสมาชิกวุฒิสภาที่ได้รับการเสนอชื่อแต่งตั้งก็ย่อมกริ่งเกรง และ เอื้ออำนวยประโยชน์แก่นายกรัฐมนตรีผู้เสนอแต่งตั้งตนในกิจการอันควร จะมีเพียงรัฐธรรมนูญฯ 2489 เท่านั้นที่กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลให้สมาชิก สภาผู้แทนในขณะนั้นเป็นผู้เลือกตั้งวุฒิสภาสมาชิก และรัฐธรรมนูญฯ 2492  กำหนดให้ประธานองคมนตรีเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
ประธานวุฒิสภาและรองประธานรัฐสภาคนปัจจุบัน คือ นายประสพสุข บุญเดช

 

 

สร้างโดย: 
อาจารย์ ธานินทร์ พร้อมสุข และ นางสาวอมรรัตน์ สมุทรประภูติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 537 คน กำลังออนไลน์