• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a570b02b9c697b3e751fc1dbae279f65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\">ประวัติการปกครองของไทย </span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><br />\n</span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\">ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขของประเทศ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">มีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> ประเทศไทย มีการจัดระเบียบการปกครอง ภายในประเทศอย่างเป็นระบบ มาช้านานแล้ว ซึ่งยัง <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ผลให้ประเทศไทยมีความเป็นปึกแผ่น และสามารถรักษาเอกราช มาได้จนถึงทุกวันนี้<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> การปกครองของไทย ได้ปรับและเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม กับกาลสมัย และ เป็นไปตามความ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ต้องการ ของประเทศชาติเสมอมา ทำให้วิธีดำเนินการปกครอง แต่ละสมัยแตกต่างกันไป<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-1981) การปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลูก ผู้ปกครองคือพระมหา <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">กษัตริย์ คำนำหน้าของพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยนั้นจึงใช้ว่า &quot;พ่อขุน&quot;<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2310) เริ่มต้นเมื่อพระเจ้าอู่ทองทรงตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานีเมื่อ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ราวปี พ.ศ.1893 คำที่ใช้เรียกพระเจ้าอู่ทองมิได้เรียก &quot;พ่อขุน&quot; อย่างที่เรียกกันมาครั้งสุโขทัย แต่ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">เรียกว่า&quot;สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว&quot; พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเทวราช หรือสมมติเทพ เป็น <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">องค์รัฐาธิปัตย์ปกครองแผ่นดิน<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2325-2475) ได้นำเอาแบบอย่าง การปกครองในสมัยสุโขทัย <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">และอยุธยามาผสมกัน ฐานะของพระมหากษัตริย์เปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้อยู่ในฐานะเทวราช หรือ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">สมมติเทพดังแต่ก่อน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์ กับราษฎร มีความใกล้ชิดกัน <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ยิ่งขึ้น ถึงแม้จะปกครอง ตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่มีลักษณะประชาธิปไตยแฝงอยู่ <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">ในหลายรูปแบบ เช่น แทรกอยู่ในการปกครอง พระมหากษัตริย์ทรงให้สิทธิเสรีภาพแก่ <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\">ประชาชนในการดำรงชีวิต<o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\">การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สิ้นสุดลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ </span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">24 มิถุนายน 2475 โดยคณะราษฎร์ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ นับเป็นจุดเริ่มต้น ของการปกครอง <o:p></o:p></span></span><span style=\"color: #000000\"><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\">ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย็เป็นประมุข มีศูนย์อำนาจการปกครองอยู่ที่ 3 </span><span style=\"line-height: 115%; font-size: 16pt\"><span style=\"font-family: Calibri\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"> <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">สถาบันสำคัญคือ สถาบันนิติบัญญัติ ซึ่งมีรัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจในการออกกฎหมาย สถาบัน <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">บริหารซึ่งมี คณะรัฐมนตรี เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร และสถาบันตุลาการ ซึ่งมีศาลสถิตยุติธรรม <o:p></o:p></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\">เป็นผู้ใช้อำนาจหน้าที่พิพากษาอรรถคดีในพระปรมาภิไธย </span></span> </p>\n<p>\n<span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"></span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"> </span></span><span lang=\"TH\" style=\"line-height: 115%; font-family: \'Cordia New\',\'sans-serif\'; font-size: 16pt\"><span style=\"color: #000000\"><o:p><a href=\"/node/87573\"> </a></o:p></span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"500\" width=\"500\" src=\"/files/u40580/scale01.gif\" border=\"0\" style=\"width: 198px; height: 119px\" /><img height=\"209\" width=\"589\" src=\"/files/u40580/border003yt9.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 229px; height: 96px\" />\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1719401437, expire = 1719487837, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a570b02b9c697b3e751fc1dbae279f65' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ประวัติ

ประวัติการปกครองของไทย
 ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริย์ เป็นประมุขของประเทศ มีนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะรัฐบาล  ประเทศไทย มีการจัดระเบียบการปกครอง ภายในประเทศอย่างเป็นระบบ มาช้านานแล้ว ซึ่งยัง ผลให้ประเทศไทยมีความเป็นปึกแผ่น และสามารถรักษาเอกราช มาได้จนถึงทุกวันนี้  การปกครองของไทย ได้ปรับและเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสม กับกาลสมัย และ เป็นไปตามความ ต้องการ ของประเทศชาติเสมอมา ทำให้วิธีดำเนินการปกครอง แต่ละสมัยแตกต่างกันไป  สมัยสุโขทัย (พ.ศ.1781-1981) การปกครองเป็นแบบพ่อปกครองลูก ผู้ปกครองคือพระมหา กษัตริย์ คำนำหน้าของพระมหากษัตริย์ไทยในสมัยนั้นจึงใช้ว่า "พ่อขุน"  สมัยอยุธยา (พ.ศ.1893-2310) เริ่มต้นเมื่อพระเจ้าอู่ทองทรงตั้งกรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานีเมื่อ ราวปี พ.ศ.1893 คำที่ใช้เรียกพระเจ้าอู่ทองมิได้เรียก "พ่อขุน" อย่างที่เรียกกันมาครั้งสุโขทัย แต่ เรียกว่า"สมเด็จพระพุทธเจ้าอยู่หัว" พระมหากษัตริย์ทรงอยู่ในฐานะเทวราช หรือสมมติเทพ เป็น องค์รัฐาธิปัตย์ปกครองแผ่นดิน  สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ.2325-2475) ได้นำเอาแบบอย่าง การปกครองในสมัยสุโขทัย และอยุธยามาผสมกัน ฐานะของพระมหากษัตริย์เปลี่ยนแปลงไป ไม่ได้อยู่ในฐานะเทวราช หรือ สมมติเทพดังแต่ก่อน ทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์ กับราษฎร มีความใกล้ชิดกัน ยิ่งขึ้น ถึงแม้จะปกครอง ตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่มีลักษณะประชาธิปไตยแฝงอยู่ ในหลายรูปแบบ เช่น แทรกอยู่ในการปกครอง พระมหากษัตริย์ทรงให้สิทธิเสรีภาพแก่  ประชาชนในการดำรงชีวิตการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สิ้นสุดลงเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่   24 มิถุนายน 2475 โดยคณะราษฎร์ การเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ นับเป็นจุดเริ่มต้น ของการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย็เป็นประมุข มีศูนย์อำนาจการปกครองอยู่ที่ 3   สถาบันสำคัญคือ สถาบันนิติบัญญัติ ซึ่งมีรัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจในการออกกฎหมาย สถาบัน บริหารซึ่งมี คณะรัฐมนตรี เป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร และสถาบันตุลาการ ซึ่งมีศาลสถิตยุติธรรม เป็นผู้ใช้อำนาจหน้าที่พิพากษาอรรถคดีในพระปรมาภิไธย 

 

 

สร้างโดย: 
อ.ธานินทร์ พร้อมสุข และน.ส. อมรรัตน์ สมุทรประภูติ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 589 คน กำลังออนไลน์